พิธีมิสซาพิธีมิสซา (บูชาขอบพระคุณ)  พิธีมิสซาฯ คือ พิธีบูชาขอบพระคุณ ใ การแปล - พิธีมิสซาพิธีมิสซา (บูชาขอบพระคุณ)  พิธีมิสซาฯ คือ พิธีบูชาขอบพระคุณ ใ อังกฤษ วิธีการพูด

พิธีมิสซาพิธีมิสซา (บูชาขอบพระคุณ)

พิธีมิสซา
พิธีมิสซา (บูชาขอบพระคุณ)
พิธีมิสซาฯ คือ พิธีบูชาขอบพระคุณ ในความเป็นหนึ่งเดียวกันของคริสตชน โดยมีองค์พระเยซูเจ้าเอง เป็นเครื่องบูชาเพื่อไถ่บาปแทนเรามนุษย์ อาศัยพระกายและพระโลหิตที่ยอมสละและพลีชีวิตเพื่อเรา ดังนั้น พิธีมิสซาฯ จึงควรเป็นพิธีของส่วนรวมในความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ที่คริสตชนจะขอบพระคุณพระเจ้าที่ได้ทรงประทานพระบุตรของพระองค์ลงมาไถ่บาปแทนเรามนุษย์ทุกคน
ในความเป็นจริง คำว่า "มิสซา" หมายถึง "การถูกส่งไป" เพื่อประกาศข่าวดีและเป็นแบบอย่าง รวมทั้งมอบตนเองและชีวิตให้มีคุณค่าต่อคนอื่น ๆ เช่นเดียวกันกับที่เราได้รับจากพระเจ้า
ความหมายที่แท้จริงของคำว่ามิสซา จึงไม่ถูกต้องตรงกับที่เป็นอยู่ในเวลานี้ เราจึงควรเรียกพิธีกรรมในปัจจุบันว่า "พิธีบูชาขอบพระคุณ (Eucharistic Celebration) โดยเน้นที่ความหมายของพิธีกรรมว่า เป็นการขอบพระคุณอย่างแท้จริง คือ พระเยซูเจ้าเป็นทั้งผู้ถวายและเป็นเครื่องบูชาเอง โดยผ่านทางพิธีการหักปังบนพระแท่นเพื่อขอบพระคุณพระบิดา สำหรับการส่งพระบุตรให้มาไถ่กู้มนุษยชาติ จะเห็นได้ว่าคำว่ามิสซา จึงไม่ตรงกับคำศัพท์ และความหมายทางพิธีกรรม เพียงแต่มีความเข้าใจ และถือกันมาจากธรรมเนียมประเพณีเดิมมากกว่า
ในพิธีมิสซาฯ คริสตชนเชื่อว่า องค์พระเยซูเจ้าประทับอยู่อย่างแท้จริงใน 3 วิธีการ คือ
1. จากพระวาจาของพระองค์ในบทอ่านจากพระคัมภีร์
2. ระหว่างการเสกปัง และเหล้าองุ่น
เป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดในการที่พระเยซูเจ้าจะสถิตอยู่ในพิธีมิสซาฯ เพราะเป็นการรื้อฟื้นการเลี้ยงอาหารค่ำมื้อสุดท้ายของพระเยซูเจ้า
3. การรับศีลมหาสนิท ซึ่งเป็น "ปังทรงชีวิต"
เมื่อพิธีมิสซาฯ สิ้นสุดแล้ว พระเยซูเจ้ายังคงประทับอยู่ในศีลมหาสนิท ธรรมเนียมการเก็บรักษาศีลมหาสนิทไว้หลังมิสซาจึงเกิดขึ้น เพราะความต้องการที่จะใช้เป็นศีลเสบียงสำหรับคนเจ็บป่วย และแจกศีลแก่ผู้ที่ไม่สามารถมาร่วมพิธีมิสซาฯ ได้ จึงเกิดธรรมเนียม "การเฝ้าศีล" เกิดขึ้นในภายหลังด้วย จะเห็นได้ว่ามิสซาเกี่ยวข้องโดยตรงกับชีวิตคริสตชน ไม่ใช่เฉพาะเพียงแต่พิธีกรรมภายนอกเท่านั้น หรือการบริจาคทาน คริสตชนทุกคนควรมีส่วนร่วมในพิธีกรรมต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นทุกขั้นตอน
องค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ
พิธีการต่าง ๆ ของพิธีมิสซาฯ นั้น ประกอบด้วยภาคต่าง ๆ ดังนี้
1. ภาคเริ่มพิธี ตั้งแต่เริ่มพิธี ไปจนถึงบทภาวนาของประธาน (Collecta)
เริ่มจากเพลงแห่เข้า (ในความเป็นจริงจะไม่มีเพลงก็ได้ แต่การที่มีเพลง เพื่อให้สัตบุรุษรวมเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน เพื่อสรรเสริญพระเจ้า และถือเป็นการภาวนาอย่างหนึ่ง เพลงในพิธีกรรมที่ดี ควรเป็นเพลงที่สื่อความหมายให้เข้าใจในพิธีกรรม และร่วมจิตใจได้)
- คำทักทาย - การสารภาพความผิด - บทกีรีเอ - (พัฒนามาจากบทลีตานีอาในยุคแรกเริ่ม) - บทกลอรีอา และจบที่บทภาวนาของประธานซึ่งเป็นช่วงเชื่อมต่อไปสู่ช่วงที่สอง ในภาควจนพิธีกรรม
สาระโดยรวมของภาคเริ่มพิธีนี้ มีจุดประสงค์เพื่อเริ่มต้นนำ และเตรียมให้บรรดาสัตบุรุษที่ชุมนุมอยู่ด้วยกัน มีความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกัน และเป็นการโน้มน้าวจิตใจให้พร้อมที่จะฟังพระวาจาของพระเจ้าอย่างถูกต้อง และให้เฉลิมฉลองศีลมหาสนิทอย่างสมควร
2. ภาควจนพิธีกรรม เริ่มจากบทอ่านแรกจากพันธสัญญาเดิม บทอ่านที่สองซึ่งเป็นบทจดหมายหรือหนังสืออื่น ๆ ในพันธสัญญาใหม่ และพระวรสารซึ่งถือเป็นพระวาจาของพระเจ้าที่ตรัสผ่านทางองค์พระบุตร คือ พระเยซูเจ้า การเทศน์เตือนใจของพระสงฆ์ การประกาศยืนยันความเชื่อ และบทภาวนาของมวลชน
ภาควจนพิธีกรรมนี้ เป็นส่วนหนึ่งของพิธีที่ชาวยิวปฏิบัติกันมาแต่เดิมก่อนยุคของพระเยซูคริสตเจ้า โดยในพิธีมิสซาฯ จะจัดให้มี "โต๊ะพระวาจา" หรือธรรมาสน์ เพื่อใช้อ่านพระวาจาของพระเป็นเจ้า แยกออกจาก "โต๊ะศีลมหาสนิท" หรือพระแท่นอันเป็นจุดสำคัญที่สุดของพิธีกรรม
การอ่านบทอ่าน ไม่ใช่หน้าที่ของประธาน แต่เป็นหน้าที่ของศาสนบริกร เช่น สังฆานุกร หรือผู้อ่านพระคัมภีร์ สำหรับการอ่านพระวรสารนั้น เป็นหน้าที่ของสังฆานุกร หรือประธานในพิธี จะต้องแสดงออกถึงการคารวะอย่างยิ่งต่อพระวรสารที่อ่าน โดยให้เกียรติอย่างพิเศษกว่าบทอ่านอื่น ๆ ไม่ว่าในการเลือกผู้อ่านระดับศาสนบริกร หรือพระสงฆ์เอง สัตบุรุษเอง ก็ต้องแสดงความคารวะอย่างพิเศษโดยการยืนฟัง และพนมมืออย่างสำรวม
ในระหว่างการอ่านบทอ่าน จะมีการร้องเพลงคั่น ในช่วงแรกจะเป็นเพลงสดุดี (Psalms) และส่วนที่สองจะเป็นเพลงสรรเสริญ (Acclamation) หรือเพลง Hymn บทอัลเลลูยา ซึ่งจะร้องก่อนการอ่านพระวรสาร
การเทศนาเตือนใจ (Homily) เป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรม เป็นส่วนที่จำเป็นในการหล่อเลี้ยงชีวิตคริสตชน และจะต้องอธิบายตามคำสอนในบทอ่านจากพระคัมภีร์ของมิสซาประจำวันนั้น ๆ การเทศนาเตือนใจ มีลักษณะพิเศษแตกต่างกว่าการเทศน์ในรูปอื่น เพราะการเทศน์แบบนี้ เป็นการเทศน์เพื่ออธิบาย หรือโน้มน้าวจิตใจผู้ฟังให้ปฏิบัติตามพระวาจาของพระเจ้า ที่ตรัสกับเราผ่านทางพระคัมภีร์มากกว่าจะมุ่งเน้นแบบการสอนศาสนาให้คนกลับใจ (Evangelization) หรือการเทศน์แบบสอนคำสอน (Catechesis)
เมื่อพระสงฆ์เตือนใจแล้ว จะเป็นการประกาศยืนยันความเชื่อ (Credo) เพื่อให้ประชากรเห็นพ้อง และสนองตอบพระวาจาของพระเจ้า ที่ได้ฟังในบทอ่าน และการเทศน์ และให้รื้อฟื้นข้อความเชื่อก่อนที่จะเริ่มพิธีศีลมหาสนิท และยังนับว่าเป็นบทสรุป "ประวัติศาสตร์แห่งความรอด" ซึ่งสัตบุรุษประกาศยืนยันความเชื่อของพระศาสนจักรที่มีมาแต่เดิม รวมทั้งแสดงความหวังที่จะมีส่วนร่วมในชีวิตนิรันดร กับพระเจ้าในบั้นปลายด้วย บทภาวนาเพื่อมวลชน มีขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นถึงหน้าที่ของคริสตชนที่จะต้องภาวนาเพื่อมนุษยโลกในสังคม ในเรื่องต่าง ๆ ที่พระศาสนจักรได้กำหนดไว้
3. ภาคศีลมหาสนิท เริ่มจากภาคถวายเครื่องบูชา จนถึงบทภาว
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
MidnightMidnight (thank you, worship). The ceremony is a ceremony to worship the mitsa thank you. In the unity of the Christians, with Lord Jesus sacrifice himself for our sins, instead relying on the human body and blood and sacrificing to sacrifice life to us, so. The ceremony, therefore, should be part of the ceremony, mitsa total unanimity in that Christians will thank God that God the son has his sins in our place every human being. In fact, the word "mass" means "to be sent" to announce the good news and a good role model, including grants, life, myself and other people, is the same that we have received from God. ความหมายที่แท้จริงของคำว่ามิสซา จึงไม่ถูกต้องตรงกับที่เป็นอยู่ในเวลานี้ เราจึงควรเรียกพิธีกรรมในปัจจุบันว่า "พิธีบูชาขอบพระคุณ (Eucharistic Celebration) โดยเน้นที่ความหมายของพิธีกรรมว่า เป็นการขอบพระคุณอย่างแท้จริง คือ พระเยซูเจ้าเป็นทั้งผู้ถวายและเป็นเครื่องบูชาเอง โดยผ่านทางพิธีการหักปังบนพระแท่นเพื่อขอบพระคุณพระบิดา สำหรับการส่งพระบุตรให้มาไถ่กู้มนุษยชาติ จะเห็นได้ว่าคำว่ามิสซา จึงไม่ตรงกับคำศัพท์ และความหมายทางพิธีกรรม เพียงแต่มีความเข้าใจ และถือกันมาจากธรรมเนียมประเพณีเดิมมากกว่า In the ceremony, mitsa Christians believe that the Lord Jesus is truly present in 3 ways:1. in his speech from the chapter read from the Bible.2. bringing the bread and wine during the As one of the most important moments in which Jesus dwells in the ceremony will be to revive farming because mitsa dinner the last meal of Jesus.3. to receive the Eucharist, which is the "bread of life sphere." เมื่อพิธีมิสซาฯ สิ้นสุดแล้ว พระเยซูเจ้ายังคงประทับอยู่ในศีลมหาสนิท ธรรมเนียมการเก็บรักษาศีลมหาสนิทไว้หลังมิสซาจึงเกิดขึ้น เพราะความต้องการที่จะใช้เป็นศีลเสบียงสำหรับคนเจ็บป่วย และแจกศีลแก่ผู้ที่ไม่สามารถมาร่วมพิธีมิสซาฯ ได้ จึงเกิดธรรมเนียม "การเฝ้าศีล" เกิดขึ้นในภายหลังด้วย จะเห็นได้ว่ามิสซาเกี่ยวข้องโดยตรงกับชีวิตคริสตชน ไม่ใช่เฉพาะเพียงแต่พิธีกรรมภายนอกเท่านั้น หรือการบริจาคทาน คริสตชนทุกคนควรมีส่วนร่วมในพิธีกรรมต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นทุกขั้นตอนองค์ประกอบของพิธีมิสซาฯ พิธีการต่าง ๆ ของพิธีมิสซาฯ นั้น ประกอบด้วยภาคต่าง ๆ ดังนี้1. ภาคเริ่มพิธี ตั้งแต่เริ่มพิธี ไปจนถึงบทภาวนาของประธาน (Collecta) เริ่มจากเพลงแห่เข้า (ในความเป็นจริงจะไม่มีเพลงก็ได้ แต่การที่มีเพลง เพื่อให้สัตบุรุษรวมเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน เพื่อสรรเสริญพระเจ้า และถือเป็นการภาวนาอย่างหนึ่ง เพลงในพิธีกรรมที่ดี ควรเป็นเพลงที่สื่อความหมายให้เข้าใจในพิธีกรรม และร่วมจิตใจได้) - คำทักทาย - การสารภาพความผิด - บทกีรีเอ - (พัฒนามาจากบทลีตานีอาในยุคแรกเริ่ม) - บทกลอรีอา และจบที่บทภาวนาของประธานซึ่งเป็นช่วงเชื่อมต่อไปสู่ช่วงที่สอง ในภาควจนพิธีกรรม สาระโดยรวมของภาคเริ่มพิธีนี้ มีจุดประสงค์เพื่อเริ่มต้นนำ และเตรียมให้บรรดาสัตบุรุษที่ชุมนุมอยู่ด้วยกัน มีความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกัน และเป็นการโน้มน้าวจิตใจให้พร้อมที่จะฟังพระวาจาของพระเจ้าอย่างถูกต้อง และให้เฉลิมฉลองศีลมหาสนิทอย่างสมควร 2. ภาควจนพิธีกรรม เริ่มจากบทอ่านแรกจากพันธสัญญาเดิม บทอ่านที่สองซึ่งเป็นบทจดหมายหรือหนังสืออื่น ๆ ในพันธสัญญาใหม่ และพระวรสารซึ่งถือเป็นพระวาจาของพระเจ้าที่ตรัสผ่านทางองค์พระบุตร คือ พระเยซูเจ้า การเทศน์เตือนใจของพระสงฆ์ การประกาศยืนยันความเชื่อ และบทภาวนาของมวลชน ภาควจนพิธีกรรมนี้ เป็นส่วนหนึ่งของพิธีที่ชาวยิวปฏิบัติกันมาแต่เดิมก่อนยุคของพระเยซูคริสตเจ้า โดยในพิธีมิสซาฯ จะจัดให้มี "โต๊ะพระวาจา" หรือธรรมาสน์ เพื่อใช้อ่านพระวาจาของพระเป็นเจ้า แยกออกจาก "โต๊ะศีลมหาสนิท" หรือพระแท่นอันเป็นจุดสำคัญที่สุดของพิธีกรรม
การอ่านบทอ่าน ไม่ใช่หน้าที่ของประธาน แต่เป็นหน้าที่ของศาสนบริกร เช่น สังฆานุกร หรือผู้อ่านพระคัมภีร์ สำหรับการอ่านพระวรสารนั้น เป็นหน้าที่ของสังฆานุกร หรือประธานในพิธี จะต้องแสดงออกถึงการคารวะอย่างยิ่งต่อพระวรสารที่อ่าน โดยให้เกียรติอย่างพิเศษกว่าบทอ่านอื่น ๆ ไม่ว่าในการเลือกผู้อ่านระดับศาสนบริกร หรือพระสงฆ์เอง สัตบุรุษเอง ก็ต้องแสดงความคารวะอย่างพิเศษโดยการยืนฟัง และพนมมืออย่างสำรวม
ในระหว่างการอ่านบทอ่าน จะมีการร้องเพลงคั่น ในช่วงแรกจะเป็นเพลงสดุดี (Psalms) และส่วนที่สองจะเป็นเพลงสรรเสริญ (Acclamation) หรือเพลง Hymn บทอัลเลลูยา ซึ่งจะร้องก่อนการอ่านพระวรสาร
การเทศนาเตือนใจ (Homily) เป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรม เป็นส่วนที่จำเป็นในการหล่อเลี้ยงชีวิตคริสตชน และจะต้องอธิบายตามคำสอนในบทอ่านจากพระคัมภีร์ของมิสซาประจำวันนั้น ๆ การเทศนาเตือนใจ มีลักษณะพิเศษแตกต่างกว่าการเทศน์ในรูปอื่น เพราะการเทศน์แบบนี้ เป็นการเทศน์เพื่ออธิบาย หรือโน้มน้าวจิตใจผู้ฟังให้ปฏิบัติตามพระวาจาของพระเจ้า ที่ตรัสกับเราผ่านทางพระคัมภีร์มากกว่าจะมุ่งเน้นแบบการสอนศาสนาให้คนกลับใจ (Evangelization) หรือการเทศน์แบบสอนคำสอน (Catechesis)
เมื่อพระสงฆ์เตือนใจแล้ว จะเป็นการประกาศยืนยันความเชื่อ (Credo) เพื่อให้ประชากรเห็นพ้อง และสนองตอบพระวาจาของพระเจ้า ที่ได้ฟังในบทอ่าน และการเทศน์ และให้รื้อฟื้นข้อความเชื่อก่อนที่จะเริ่มพิธีศีลมหาสนิท และยังนับว่าเป็นบทสรุป "ประวัติศาสตร์แห่งความรอด" ซึ่งสัตบุรุษประกาศยืนยันความเชื่อของพระศาสนจักรที่มีมาแต่เดิม รวมทั้งแสดงความหวังที่จะมีส่วนร่วมในชีวิตนิรันดร กับพระเจ้าในบั้นปลายด้วย บทภาวนาเพื่อมวลชน มีขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นถึงหน้าที่ของคริสตชนที่จะต้องภาวนาเพื่อมนุษยโลกในสังคม ในเรื่องต่าง ๆ ที่พระศาสนจักรได้กำหนดไว้
3. ภาคศีลมหาสนิท เริ่มจากภาคถวายเครื่องบูชา จนถึงบทภาว
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: