พระมหาเจดีย์ชเวดากอง (SHWEDAGON PAGODA) หรือ เจดีย์ทองแห่งเมืองดากอง ห การแปล - พระมหาเจดีย์ชเวดากอง (SHWEDAGON PAGODA) หรือ เจดีย์ทองแห่งเมืองดากอง ห อังกฤษ วิธีการพูด

พระมหาเจดีย์ชเวดากอง (SHWEDAGON PAG

พระมหาเจดีย์ชเวดากอง (SHWEDAGON PAGODA) หรือ เจดีย์ทองแห่งเมืองดากอง หรือ ตะเกิง (ชื่อเดิมของเมืองย่างกุ้ง) ไม่เคยเลือนหายจากจิตใจชาวมอญ
และพม่าแห่งลุ่มน้ำอิระวดี เป็นเวลานับพันปีมาแล้ว แต่โบราณนานมา ชาวมอญเรียกมหาเจดีย์แห่งนี้ว่า “ธาตุศก” คนไทยเรียก “ พระเกศธาตุ” เนื่องจากภายในพระมหาเจดีย์บรรจุพระเกศาแห่งองค์พระศาสดามหาเจดีย์ที่ใหญ่ที่สุดของพม่า ซึ่งมีความสูงถึง 326 ฟุตแห่งนี้ เมื่อแรกสร้างนั้นมีความสูงเพียง 27 ฟุตเท่านั้น
ขนาดและความสูงขององค์เจดีย์ที่เพิ่มขึ้นกว่าสิบเท่า จึงสะท้อนแรงศรัทธา อันสืบเนื่องยาว นานของกษัตริย์และประชาชนชาวมอญและพม่าได้เป็นอย่างดี

ตามประวัตินั้น ไม่มีหลักฐานระบุว่ารูปร่างของเจดีย์ชเวดากองเมื่อแรกสร้างเป็นอย่างไร แต่เมื่อมีการ บูรณะและก่อเสริมในระยะหลัง มีหลักฐานว่าได้รับอิทธิพลมาจากมหาเจดีย์ชเวสิกอง เมืองพุกาม ซึ่งนับเป็นพุทธ ศิลป์สกุลช่างพุกามยุคต้น ชเวดากองจึงมีลักษณะเป็นเจดีย์ทรงระฆังกลม มียอดฉัตรเป็นกลีบบัวถลา
ก่อเป็นรูปกรวย แหลมกลมสูงไปจนถึงยอด ซึ่งเมื่อสืบค้นลึกลงไปก็พบว่าศิลปะการก่อสร้างเจดีย์เช่นนี้ พุกามก็รับเอามาจากมอญ อีกทอดหนึ่งนั่นเอง

สำหรับคนไทย แสงสีทองที่ส่องสะท้อนจากองค์พระมหาเจดีย์ชเวดากอง คือความขัดข้องใจ อันเนื่องมาจากเรื่องเล่าที่ฝังใจมานานว่า พม่าลอกทองจากวัดวาอารามในกรุงศรีอยุธยา เมื่อครั้งกรุงแตกครั้งที่ 2 ในปี 2310 มาประดับองค์เจดีย์ชเวดากอง ทว่าก็ยังไม่มีใครสามารถค้นหา หลักฐานมายืนยันได้อย่างแน่ชัด
ด้วยกาล เวลาที่ล่วงเลยมานานกว่า 200 ปี มหาเจดีย์ก็ผ่าน การบูรณะ ปฏิสังขรณ์มานับครั้งไม่ถ้วน แต่สิ่งที่ปรากฏในหลักฐานเอกสารคือ นับตั้งแต่เจดีย์ชเวดากอง หรือ พระเกศธาตุ เริ่มสร้างขึ้นเมื่อกว่า 1,200 ปีก่อนนั้น พระมหากษัตริย์มอญ และ พม่าในสมัยต่อ ๆ มา แทบทุกพระองค์ ได้ถือเป็นพระราชภารกิจ ในการก่อเสริมองค์พระเจดีย์ให้สูงใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ ดังที่สมเด็จกรม พระยาดำรง ราชานุภาพ เล่าไว้ว่า จากแรก เริ่มที่สูงเพียง 27 ฟุต จนสูงถึง 326 ฟุต กว้าง 1,355 ฟุต ในปัจจุบัน
และยังมีตำนานเล่ากันว่า ในสมัยพระนางชิน สอว์บู หรือ นางพระยาตะละแม่ท้าวเจ้ากษัตรีชาวมอญ ผู้ครอบครองเมืองหงสาวดี ได้ทรงบริจาคทองคำเท่าน้ำหนัก พระองค์เองในการบูรณะพระมหาเจดีย์ จนกลายเป็นราชประเพณีที่พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ทรงต้องปฏิบัติสืบ ต่อกันมา

นอกจากนั้น ยังมีหลักฐานการบูรณะชเวดากองครั้งใหญ่อีกครั้ง ในสมัยพระเจ้ามังระ หรือ อลองพญามหาราช ผู้กรีฑาทัพไปตีกรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่สอง เมื่อ ปี 2310 อันอาจเป็นเหต ุให้เกิดข้อสันนิษฐานที่ยากจะพิสูจน์ได้แน่ชัดว่า พม่าลอกทองจากกรุงศรีอยุธยา มาบูรณะชเวดากอง อย่างไรก็ตาม จนถึงปัจจุบัน มหาเจดีย์ ชเวดากองมีทองคำโอบหุ้ม อยู่เป็นน้ำหนักถึง 1,100 กิโลกรัม โดยช่างชาวพม่าจะใช้ทองคำแท้ตีเป็นแผ่น เรียงปิดองค์เจดีย์ไว้
รอบองค์ (สังเกตจาก รอยต่อของแผ่นทองคำ ซึ่งมิได้ผสานเป็นเนื้อเดียว แต่จะเป็นแผ่น ๆ มาเรียงต่อกัน) ครั้นเมื่อแผ่นทองหมองคล้ำก็จะแกะถอดออกมาขัดล้างปีละครั้ง เป็นประเพณีสืบเนื่องกันตลอด จนทำให้ชเวดากองเป็นมหาเจดีย์ทองคำที่สุกปลั่งวาวงามอยู่เป็นนิรันดร์

ฉัตรทององค์ใหญ่บนยอดเจดีย์ชเวดากอง เคยหักตกลงมาหลายครั้งเพราะเกิดแผ่นดินไหว ครั้งที่มีการบูรณะ ฉัตรครั้งสำคัญ คือในสมัยพระเจ้ามินดงปกครองเขตพม่าเหนือใน ขณะที่ย่างกุ้งและพม่าใต้ตกเป็นของอังกฤษแล้ว (ตรงกับปลายรัชกาลที่ 4ต่อต้นรัชกาลที่ 5 ของไทย) พระเจ้ามินดงจึงทรงพยายามรวมจิตใจชาวพม่าเป็นหนึ่งเดียว กันด้วยการเรี่ยไรกันปฏิสังขร์ชเวดากอง โดยทรงบริจาคพระราชทรัพย์เพื่อสร้างฉัตรขึ้นใหม่ จนล่ำลื่อกันว่ายอดฉัตร แห่งชเวดากองนั้น ประดับด้วย
เพชรพลอยอัญมณีล้ำค่า คิดเป็นราคาถึงกว่า 62,000 ปอนด์ ในสมัยนั้น โดยเฉพาะที่ยอดเจดีย์ ประดับเพชรเม็ดใหญ่ที่มีน้ำหนักถึง 76.6 กะรัต และที่ขอบฉัตร ประดับระฆังใบเล็กไว้ถึง 50,000ใบทีเดียว ทว่าพระองค์ก็ทรงถูกอังกฤษดูแคลน ด้วยการไม่อนุญาตให้พระองค์จัดขบวนแห่แหนฉัตรทอง จากราชธานีของพระองค์ที่กรุงมัณฑะเลย์มายังกรุงย่างกุ้ง ดังกล่าวมาแล้ว รอบ ๆ องค์พระเจดีย์ชเวดากอง เป็นลานกว้างที่รองรับแรงศรัทธาของ พุทธศาสนิกชนได้จำนวนมากบริเวณทางขึ้นทั้งสี่ทิศ จะมีวิหารโถงสร้างด้วยเครื่องไม้หลังคาทรงปราสาท ปิดทองล่องชาดประดับกระจกทั้งหลัง ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปเป็นประธาน สำหรับให้ประชาชนมากราบไหว้บูชามหาเจดีย์ ชเวดากอง ซึ่งสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพมีพระนิพนธ์ว่าเป็นฝีมือจำหลักลวดลายลงบนไม้ของช่างพม่าที่วิจิตรพิส ดารมาก แม้ว่าจะเคยเกิดไฟไหม้ แล้วมีการสร้างขึ้นใหม่ได้ไม่สวยเท่าเดิมทว่าก็ยังคงความงดงามอลังการปรากฏอยู่ไม่น้อย ขั้นตอนการกราบไหว้บูชามหาเจดีย์ชเวดากอง ตามแบบที่ชาวพุทธนิยมกันก็จะดำเนินไปตามนี้คือชาวพม่าถือการกราบไหว้บูชา เจดีย์ชเวดากองเป็นนิตย์ จะนำมาซึ่งบุญกุศล อันเป็นหนทางสู่การหลุดพ้นจากทุกข์โศกโรคภัยทั้งมวล บ้างมานั่งทำสมาธิเจริญ
สติภาวนานับลูกประคำ และบ้างก็มาเดิน ประทักษิณารอบองค์เจดีย์ ทว่า ชาวพม่าบางคนเชื่อว่าสุดยอดของการบูชาคารวะมหาเจดีย์ชเวดากอง คือการนั่งเจริญสมาธิเพ่งมองดวงตะวันเป็นเวลานานอันเป็นความเชื่อตามพุทธตำนานที่ว่า พระพุทธเจ้าเคยเสวยชาติเป็นนกยูง ทุก ๆ วันก่อนจะออกจากรัง ก็จะเพ่งมองดวงตะวัน พร้อมกับสวดมนต์คาถาให้แคล้วคลาดจากบ่วงนายพรานด้วยเหตุนี้ชาวพม่าจึงเชื่อสืบต่อ กันมาว่า การนั่งทำสมาธิเพ่งมองแสงพระอาทิตย์ตลอดวัน จะทำให้จิตใจ
หลุดพ้นจากบ่วงทุกข์อันหนักอึ้งได้ โดยเฉพาะในยาม ที่รัฐบาลทหารพม่าปกครองประเทศโดยจำกัดสิทธิเสรีภาพ ทางการเมือง การนั่งทำสมาธิเบื้องหน้าชเวดากอง จึงเป็นหนทาง ผ่อนคลายของจิตใจได้ทางหนึ่ง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Shwedagon stupa (SHWEDAGON PAGODA), or the city of Kong or gold pagoda Ta koeng (formerly of Yangon). Never fade from mind Mon peopleAnd the Burmese Ayeyarwady basin property over a period of millennia ago, ancient but long. This property is called Maha Chedi in the Mon people "that year". People in Thailand called "Phra ketthatu" because within the stupa contains the Phra Buddha Maha Chedi kesa Lord property, the largest of which is up to 326 feet, this property. When first created, it has a height of only 27 feet only.The size and height of the pagoda increased more than ten times, so a strong faith an echo because of the King and the people of Burma and Mon.According to the history. There is no evidence to indicate that the shape of a pagoda, Shwedagon, when first created, but when they are restored and reinforced in the period after the. There is evidence that the influence coming from the University City of Bagan, pagoda chawesi stack is a collection of Buddhist art, last pagan era, the early photographer. Shwedagon Pagoda bells are circular in nature. Chat with Lotus petals is to stumble. Construction is a high circular conical headland to the amount which, when searched, it was found that the arts into the construction of this pagoda Bagan, they took another one coming from the Mon themselves.สำหรับคนไทย แสงสีทองที่ส่องสะท้อนจากองค์พระมหาเจดีย์ชเวดากอง คือความขัดข้องใจ อันเนื่องมาจากเรื่องเล่าที่ฝังใจมานานว่า พม่าลอกทองจากวัดวาอารามในกรุงศรีอยุธยา เมื่อครั้งกรุงแตกครั้งที่ 2 ในปี 2310 มาประดับองค์เจดีย์ชเวดากอง ทว่าก็ยังไม่มีใครสามารถค้นหา หลักฐานมายืนยันได้อย่างแน่ชัดด้วยกาล เวลาที่ล่วงเลยมานานกว่า 200 ปี มหาเจดีย์ก็ผ่าน การบูรณะ ปฏิสังขรณ์มานับครั้งไม่ถ้วน แต่สิ่งที่ปรากฏในหลักฐานเอกสารคือ นับตั้งแต่เจดีย์ชเวดากอง หรือ พระเกศธาตุ เริ่มสร้างขึ้นเมื่อกว่า 1,200 ปีก่อนนั้น พระมหากษัตริย์มอญ และ พม่าในสมัยต่อ ๆ มา แทบทุกพระองค์ ได้ถือเป็นพระราชภารกิจ ในการก่อเสริมองค์พระเจดีย์ให้สูงใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ ดังที่สมเด็จกรม พระยาดำรง ราชานุภาพ เล่าไว้ว่า จากแรก เริ่มที่สูงเพียง 27 ฟุต จนสูงถึง 326 ฟุต กว้าง 1,355 ฟุต ในปัจจุบันและยังมีตำนานเล่ากันว่า ในสมัยพระนางชิน สอว์บู หรือ นางพระยาตะละแม่ท้าวเจ้ากษัตรีชาวมอญ ผู้ครอบครองเมืองหงสาวดี ได้ทรงบริจาคทองคำเท่าน้ำหนัก พระองค์เองในการบูรณะพระมหาเจดีย์ จนกลายเป็นราชประเพณีที่พระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ทรงต้องปฏิบัติสืบ ต่อกันมานอกจากนั้น ยังมีหลักฐานการบูรณะชเวดากองครั้งใหญ่อีกครั้ง ในสมัยพระเจ้ามังระ หรือ อลองพญามหาราช ผู้กรีฑาทัพไปตีกรุงศรีอยุธยาแตกครั้งที่สอง เมื่อ ปี 2310 อันอาจเป็นเหต ุให้เกิดข้อสันนิษฐานที่ยากจะพิสูจน์ได้แน่ชัดว่า พม่าลอกทองจากกรุงศรีอยุธยา มาบูรณะชเวดากอง อย่างไรก็ตาม จนถึงปัจจุบัน มหาเจดีย์ ชเวดากองมีทองคำโอบหุ้ม อยู่เป็นน้ำหนักถึง 1,100 กิโลกรัม โดยช่างชาวพม่าจะใช้ทองคำแท้ตีเป็นแผ่น เรียงปิดองค์เจดีย์ไว้รอบองค์ (สังเกตจาก รอยต่อของแผ่นทองคำ ซึ่งมิได้ผสานเป็นเนื้อเดียว แต่จะเป็นแผ่น ๆ มาเรียงต่อกัน) ครั้นเมื่อแผ่นทองหมองคล้ำก็จะแกะถอดออกมาขัดล้างปีละครั้ง เป็นประเพณีสืบเนื่องกันตลอด จนทำให้ชเวดากองเป็นมหาเจดีย์ทองคำที่สุกปลั่งวาวงามอยู่เป็นนิรันดร์ฉัตรทององค์ใหญ่บนยอดเจดีย์ชเวดากอง เคยหักตกลงมาหลายครั้งเพราะเกิดแผ่นดินไหว ครั้งที่มีการบูรณะ ฉัตรครั้งสำคัญ คือในสมัยพระเจ้ามินดงปกครองเขตพม่าเหนือใน ขณะที่ย่างกุ้งและพม่าใต้ตกเป็นของอังกฤษแล้ว (ตรงกับปลายรัชกาลที่ 4ต่อต้นรัชกาลที่ 5 ของไทย) พระเจ้ามินดงจึงทรงพยายามรวมจิตใจชาวพม่าเป็นหนึ่งเดียว กันด้วยการเรี่ยไรกันปฏิสังขร์ชเวดากอง โดยทรงบริจาคพระราชทรัพย์เพื่อสร้างฉัตรขึ้นใหม่ จนล่ำลื่อกันว่ายอดฉัตร แห่งชเวดากองนั้น ประดับด้วยเพชรพลอยอัญมณีล้ำค่า คิดเป็นราคาถึงกว่า 62,000 ปอนด์ ในสมัยนั้น โดยเฉพาะที่ยอดเจดีย์ ประดับเพชรเม็ดใหญ่ที่มีน้ำหนักถึง 76.6 กะรัต และที่ขอบฉัตร ประดับระฆังใบเล็กไว้ถึง 50,000ใบทีเดียว ทว่าพระองค์ก็ทรงถูกอังกฤษดูแคลน ด้วยการไม่อนุญาตให้พระองค์จัดขบวนแห่แหนฉัตรทอง จากราชธานีของพระองค์ที่กรุงมัณฑะเลย์มายังกรุงย่างกุ้ง ดังกล่าวมาแล้ว รอบ ๆ องค์พระเจดีย์ชเวดากอง เป็นลานกว้างที่รองรับแรงศรัทธาของ พุทธศาสนิกชนได้จำนวนมากบริเวณทางขึ้นทั้งสี่ทิศ จะมีวิหารโถงสร้างด้วยเครื่องไม้หลังคาทรงปราสาท ปิดทองล่องชาดประดับกระจกทั้งหลัง ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปเป็นประธาน สำหรับให้ประชาชนมากราบไหว้บูชามหาเจดีย์ ชเวดากอง ซึ่งสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพมีพระนิพนธ์ว่าเป็นฝีมือจำหลักลวดลายลงบนไม้ของช่างพม่าที่วิจิตรพิส ดารมาก แม้ว่าจะเคยเกิดไฟไหม้ แล้วมีการสร้างขึ้นใหม่ได้ไม่สวยเท่าเดิมทว่าก็ยังคงความงดงามอลังการปรากฏอยู่ไม่น้อย ขั้นตอนการกราบไหว้บูชามหาเจดีย์ชเวดากอง ตามแบบที่ชาวพุทธนิยมกันก็จะดำเนินไปตามนี้คือชาวพม่าถือการกราบไหว้บูชา เจดีย์ชเวดากองเป็นนิตย์ จะนำมาซึ่งบุญกุศล อันเป็นหนทางสู่การหลุดพ้นจากทุกข์โศกโรคภัยทั้งมวล บ้างมานั่งทำสมาธิเจริญสติภาวนานับลูกประคำ และบ้างก็มาเดิน ประทักษิณารอบองค์เจดีย์ ทว่า ชาวพม่าบางคนเชื่อว่าสุดยอดของการบูชาคารวะมหาเจดีย์ชเวดากอง คือการนั่งเจริญสมาธิเพ่งมองดวงตะวันเป็นเวลานานอันเป็นความเชื่อตามพุทธตำนานที่ว่า พระพุทธเจ้าเคยเสวยชาติเป็นนกยูง ทุก ๆ วันก่อนจะออกจากรัง ก็จะเพ่งมองดวงตะวัน พร้อมกับสวดมนต์คาถาให้แคล้วคลาดจากบ่วงนายพรานด้วยเหตุนี้ชาวพม่าจึงเชื่อสืบต่อ กันมาว่า การนั่งทำสมาธิเพ่งมองแสงพระอาทิตย์ตลอดวัน จะทำให้จิตใจ
หลุดพ้นจากบ่วงทุกข์อันหนักอึ้งได้ โดยเฉพาะในยาม ที่รัฐบาลทหารพม่าปกครองประเทศโดยจำกัดสิทธิเสรีภาพ ทางการเมือง การนั่งทำสมาธิเบื้องหน้าชเวดากอง จึงเป็นหนทาง ผ่อนคลายของจิตใจได้ทางหนึ่ง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The Shwedagon Pagoda (SHWEDAGON PAGODA) or the city of gold Dagong or TA Geng (the original name of the เมืองย่าง prawns). Never fade from the mind mon
.And Myanmar of the Great Basin อิระวดี for thousands of years ago, but the ancient long, mon called great เจดีย์แห่งนี้. "Element era." people call "the เกศธาตุ."The height of 326 feet property. When first built, it has a height only 27 feet
.The size and height of the pagoda at more than ten times, the faith. Arising long. For a long time of the king and the people, the mon and Burmese as well

.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: