ท่านลองอ่านสิ่งที่ฉันกล่าวต่อไปนี้วิธีการพิจารณาขันธ์ ๕ ตามความเป็นจริ การแปล - ท่านลองอ่านสิ่งที่ฉันกล่าวต่อไปนี้วิธีการพิจารณาขันธ์ ๕ ตามความเป็นจริ อังกฤษ วิธีการพูด

ท่านลองอ่านสิ่งที่ฉันกล่าวต่อไปนี้ว

ท่านลองอ่านสิ่งที่ฉันกล่าวต่อไปนี้
วิธีการพิจารณาขันธ์ ๕ ตามความเป็นจริง

วิธีพิจารณาลักษณะของความไม่ใช่ตัวตนที่แท้จริง ความไม่เที่ยง และสภาวะที่ต้องทนของขันธ์ทั้ง ๕ ตามความเป็นจริงนั้น มีวิธีการพิจารณาดังนี้ คือร่างกายนั้นมีพ่อและแม่เป็นเหตุ และมีอาหาร น้ำ ความร้อน และอากาศเป็นปัจจัย ร่วมกันปรุงแต่งให้เกิดขึ้นและตั้งอยู่ ถ้าขาดอาหารหรือน้ำหรือความร้อนที่พอเหมาะหรืออากาศบริสุทธิ์ ร่างกายก็จะต้องแตกหรือตายไป ซึ่งนี่แสดงถึงว่าตัวตนจริงๆ (ที่เป็นอมตะ) ของร่างกายไม่มี มีแต่ร่างกายชั่วคราวเท่านั้น ซึ่งร่างกายชั่วคราวนี้ก็กำลังเปลี่ยนแปลงหรือไหลไปสู่ความแตกสลายหรือตายอยู่ตลอดเวลา คือเริ่มไหลตั้งแต่เริ่มเกิดออกมาจากท้องแม่ไปสู่ความเป็นหนุ่มเป็นสาว แล้วก็ไหลไปสู่ความแก่เฒ่า สุดท้ายก็ต้องแตกสลายหรือตายไป ไม่มีร่างกายใดจะดำรงหรือตั้งอยู่ไปเป็นอมตะได้ และแม้ขณะที่ยังไม่ตาย ร่างกายก็ยังต้องทนต่อความหนาวบ้าง ความร้อนบ้าง ความหิวบ้าง ความกระหายบ้าง ความเหนื่อยบ้าง ความเจ็บบ้าง ความปวดบ้าง ความป่วยไข้บ้าง ความอึดอัดบ้าง เป็นต้น ที่ทำให้ร่างกายรู้สึกเป็นทุกข์มากบ้างน้อยบ้างอยู่ตลอดชีวิต

ส่วนวิญญาณก็ต้องอาศัยร่างกายเพื่อเกิดขึ้น ถ้าไม่มีร่างกายที่ยังมีชีวิตอยู่ก็จะไม่มีวิญญาณ จึงเท่ากับว่าไม่มีตัวตนจริงๆของวิญญาณที่จะดำรงหรือตั้งอยู่ไปอย่างถาวรหรือเป็นอมตะ แม้เมื่อวิญญาณเกิดขึ้นมาแล้วมันก็ไม่อยู่นิ่ง คือเมื่อเกิดขึ้นที่ระบบประสาทจุดนี้แล้วก็ดับหายไปอย่างรวดเร็ว แล้วก็เกิดขึ้นมาที่ระบบประสาทจุดใหม่ติดต่อกันอย่างรวดเร็วอยู่ตลอดเวลา ซึ่งขณะที่เกิดอยู่ก็จะรู้สึกหนักเหนื่อยมากบ้างน้อยบ้างอยู่ตลอดเวลา อย่างเช่น เมื่อเราเพ่งมองสิ่งใดนานๆก็จะรู้สึกหนักสายตา ถ้าไม่เพ่งก็จะเบาลง และถ้าหลับตาก็จะรู้สึกสบาย

ส่วนการจำสิ่งที่รับรู้ได้นั้น ก็ต้องมีการรับรู้ก่อนจึงจะจำได้ ถ้าไม่มีการรับรู้ก็จะไม่มีการจำได้ และการที่จะจำได้ก็ต้องอาศัยข้อมูลจากสมองที่จำเอาไว้มาเปรียบเทียบกับสิ่งที่รับรู้ ถ้าเปรียบเทียบแล้วตรงกันก็จะจำได้ แต่ถ้าไม่ตรงกันก็จะจำไม่ได้หรือไม่รู้จัก แต่ถ้าสมองเสียหายแม้ร่างกายจะยังไม่ตาย ก็จะทำให้ความทรงจำหายไปหมด ก็จะทำให้จำอะไรไม่ได้ ซึ่งขณะที่กำลังพยายามดึงเอาความจำออกมานั้นก็จะทำให้รู้สึกหนักสมองอยู่ตลอดเวลา ถ้าหยุดก็จะรู้สึกสบาย

ส่วนความรู้สึกนั้น ก็ต้องมีการจำได้ก่อน จึงจะเกิดความรู้สึกขึ้นมาได้ ถ้าไม่มีการจำได้ ก็จะไม่มีความรู้สึก และความรู้สึกก็จะเกิด-ดับไปตามการรับรู้ เราไม่สามารถเลือกเอาเฉพาะความรู้สึกสุขโดยไม่เอาความรู้สึกไม่สุขได้ เพราะความรู้สึกมันก็เป็นไปตามการรับรู้และการจำได้ ที่ปรุงแต่งให้มันเกิดขึ้นมา ซึ่งเมื่อเกิดความรู้สึกใดขึ้นมา ก็จะเกิดความรู้สึกหนัก-เหนื่อยอยู่ด้วยเสมอ ถ้าเป็นความรู้สึกสุข หรือไม่สุข ก็จะมีความรู้สึกหนัก-เหนื่อยมาก แต่ถ้าเป็นความรู้สึกจืดๆ ก็จะรู้สึกหนัก-เหนื่อยน้อย

ส่วนการปรุงแต่งของจิตนั้น ก็ต้องมีความรู้สึกก่อน จึงจะมีการปรุงแต่งได้ ถ้าไม่มีความรู้สึกก็จะไม่มีการปรุงแต่ง ดังนั้นการปรุงแต่งของจิตจึงเปลี่ยนแปลงไปตามความรู้สึก คือจิตที่ขาดสตินั้น เมื่อเกิดความรู้สึกสุขขึ้นมา จิตก็จะปรุงแต่งให้เกิดเกิดความอยากได้ขึ้นมาทันที เมื่อเกิดความรู้สึกที่ไม่สุขขึ้นมา จิตก็จะปรุงแต่งให้เกิดความไม่อยากได้ขึ้นมาทันที ซึ่งเมื่อจิตเกิดความอยากได้และไม่อยากได้ (หรือความยึดถือว่ามีตัวเรา) ขึ้นมาเมื่อใด จิตก็จะเกิดความรู้สึกทรมาน หรือหนัก-เหนื่อยมาก ที่เรียกว่า ความทุกข์ ขึ้นมาด้วยทันที แต่ถ้าจิตไม่เกิดความอยากใดๆขึ้นมา จิตก็จะมีความรู้สึกทรมานหรือหนักเหนื่อยน้อยมาก ที่เรียกว่า ความไม่มีทุกข์ หรือ นิพพาน

การพิจารณาขันธ์ ๕ (หรือร่างกายกับจิตใจ) ตามความเป็นจริง ถึงความไม่ใช่ตัวตนที่แท้จริง ไม่เที่ยง และต้องทนอยู่นี้ เมื่อเราตั้งใจพิจารณาอยู่ด้วยสมาธิ จิตก็จะเข้าใจในเหตุผลอย่างแจ่มชัด และเกิดความเห็นแจ้งความจริงว่า “มันไม่มีขันธ์ใดที่จะเป็นตัวเราได้จริง มีแต่ความรู้สึกว่ามีตัวเราเพียงชั่วคราวเท่านั้น และขันธ์ทั้ง ๕ นี้ก็ไม่เที่ยง มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เราไม่สามารถบังคับบัญชาให้เป็นไปตามที่เราอยากจะให้เป็นได้ อีกทั้งแต่ละขันธ์ก็ยังมีความรู้สึกที่ต้องทนอยู่ด้วย ถ้าจิตโง่ไปยึดถือเอาสิ่งที่ไม่เที่ยงและต้องทนอยู่นี้ ว่าเป็นตัวเรา-ของเราเข้า จิตโง่นี้ก็ย่อมจะเป็นทุกข์ไปเองอย่างช่วยไม่ได้”

เมื่อเกิดความเห็นแจ้งขึ้นมาเช่นนี้แล้ว จิตก็จะเกิดความเบื่อหน่าย (คือคลายความติดใจแม้เพียงเล็กน้อยในความสุขทั้งหลาย) เมื่อเบื่อหน่าย จิตก็จะหลุดพ้นจากความยึดถือในร่างกายและจิตใจว่าเป็นตัวเรา-ของเรา (แม้เพียงชั่วคราว) เมื่อไม่มีความยึดถือ จิตก็ไม่เป็นทุกข์ เมื่อจิตไม่มีความทุกข์ มันก็จะสงบเย็นหรือนิพพาน (แม้เพียงชั่วคราว) ซึ่งนี่ก็คือ การเห็นธรรม (คือเห็นแจ้งอริยสัจ ๔) หรือ การมีดวงตาเห็นธรรม (มีปัญญาเห็นแจ้งอริยสัจ ๔)

เราคืออะไร?

เด็กที่เพิ่งเกิดมาใหม่ๆทุกคนนั้น จะยังมีจิตที่สะอาดหรือบริสุทธิ์เหมือนกันหมด คือจะยังไม่มีความทรงจำใดๆ จิตจึงยังว่าง คือยังไม่มีความคิดหรือกิเลสหรือความยึดถือว่ามีตนเอง จะมีก็เพียงสัญชาติญาณ (ความรู้ที่เกิดขึ้นมาพร้อมกับจิตตามธรรมชาติ) ว่ามีตนเองเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ซึ่งสัญชาติญาณว่ามีตนเองเพียงเล็กน้อยนี้ ก็จะปรุงแต่งให้จิตของเด็กเกิดความรู้สึกว่ามีตนเองเพียงเล็กน้อยเท่านั้น แต่เมื่อเด็กนี้ได้รับรู้โลกผ่าน ตา หู จมูก ลิ้น และกาย ก็จะทำให้จิตของเด็กเกิดความรู้สึกต่อสิ่งที่ได้รับรู้นั้น และจิตของเด็กก็จะปรุงแต่งให้เกิดความพอใจและไม่พอใจ (ซึ่งก็คือกิเลส) ต่อความรู้สึกนั้นขึ้นมาทันทีตามสัญชาติญาณ (คือถ้าเป็นความสุขก็จะพอใจ แต่ถ้าเป็นความไม่สุขก็จะไม่พอใจ)

ความพอใจและไม่พอใจนี้เอง จะกระตุ้นความรู้สึกว่ามีตัวเองของเด็กนั้น ให้มีความเข้มข้นขึ้น จนเกิดเป็นความยึดถือว่ามีตัวเองที่เป็นผู้พอใจและไม่พอใจขึ้นมา ซึ่งทุกครั้งที่จิตของเด็กนั้นเกิดกิเลสและความยึดถือว่ามีตัวเองขึ้นมา สมองของเด็กก็จะบันทึกอาการของกิเลส และความยึดถือว่ามีตนเองนี้เอาไว้เป็นความทรงจำ ซึ่งเมื่อมีความจำมากๆก็จะกลายเป็นนิสัยของ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
You try to read what I said the following:How to consider Khan 5 according to reality.วิธีพิจารณาลักษณะของความไม่ใช่ตัวตนที่แท้จริง ความไม่เที่ยง และสภาวะที่ต้องทนของขันธ์ทั้ง ๕ ตามความเป็นจริงนั้น มีวิธีการพิจารณาดังนี้ คือร่างกายนั้นมีพ่อและแม่เป็นเหตุ และมีอาหาร น้ำ ความร้อน และอากาศเป็นปัจจัย ร่วมกันปรุงแต่งให้เกิดขึ้นและตั้งอยู่ ถ้าขาดอาหารหรือน้ำหรือความร้อนที่พอเหมาะหรืออากาศบริสุทธิ์ ร่างกายก็จะต้องแตกหรือตายไป ซึ่งนี่แสดงถึงว่าตัวตนจริงๆ (ที่เป็นอมตะ) ของร่างกายไม่มี มีแต่ร่างกายชั่วคราวเท่านั้น ซึ่งร่างกายชั่วคราวนี้ก็กำลังเปลี่ยนแปลงหรือไหลไปสู่ความแตกสลายหรือตายอยู่ตลอดเวลา คือเริ่มไหลตั้งแต่เริ่มเกิดออกมาจากท้องแม่ไปสู่ความเป็นหนุ่มเป็นสาว แล้วก็ไหลไปสู่ความแก่เฒ่า สุดท้ายก็ต้องแตกสลายหรือตายไป ไม่มีร่างกายใดจะดำรงหรือตั้งอยู่ไปเป็นอมตะได้ และแม้ขณะที่ยังไม่ตาย ร่างกายก็ยังต้องทนต่อความหนาวบ้าง ความร้อนบ้าง ความหิวบ้าง ความกระหายบ้าง ความเหนื่อยบ้าง ความเจ็บบ้าง ความปวดบ้าง ความป่วยไข้บ้าง ความอึดอัดบ้าง เป็นต้น ที่ทำให้ร่างกายรู้สึกเป็นทุกข์มากบ้างน้อยบ้างอยู่ตลอดชีวิตส่วนวิญญาณก็ต้องอาศัยร่างกายเพื่อเกิดขึ้น ถ้าไม่มีร่างกายที่ยังมีชีวิตอยู่ก็จะไม่มีวิญญาณ จึงเท่ากับว่าไม่มีตัวตนจริงๆของวิญญาณที่จะดำรงหรือตั้งอยู่ไปอย่างถาวรหรือเป็นอมตะ แม้เมื่อวิญญาณเกิดขึ้นมาแล้วมันก็ไม่อยู่นิ่ง คือเมื่อเกิดขึ้นที่ระบบประสาทจุดนี้แล้วก็ดับหายไปอย่างรวดเร็ว แล้วก็เกิดขึ้นมาที่ระบบประสาทจุดใหม่ติดต่อกันอย่างรวดเร็วอยู่ตลอดเวลา ซึ่งขณะที่เกิดอยู่ก็จะรู้สึกหนักเหนื่อยมากบ้างน้อยบ้างอยู่ตลอดเวลา อย่างเช่น เมื่อเราเพ่งมองสิ่งใดนานๆก็จะรู้สึกหนักสายตา ถ้าไม่เพ่งก็จะเบาลง และถ้าหลับตาก็จะรู้สึกสบายส่วนการจำสิ่งที่รับรู้ได้นั้น ก็ต้องมีการรับรู้ก่อนจึงจะจำได้ ถ้าไม่มีการรับรู้ก็จะไม่มีการจำได้ และการที่จะจำได้ก็ต้องอาศัยข้อมูลจากสมองที่จำเอาไว้มาเปรียบเทียบกับสิ่งที่รับรู้ ถ้าเปรียบเทียบแล้วตรงกันก็จะจำได้ แต่ถ้าไม่ตรงกันก็จะจำไม่ได้หรือไม่รู้จัก แต่ถ้าสมองเสียหายแม้ร่างกายจะยังไม่ตาย ก็จะทำให้ความทรงจำหายไปหมด ก็จะทำให้จำอะไรไม่ได้ ซึ่งขณะที่กำลังพยายามดึงเอาความจำออกมานั้นก็จะทำให้รู้สึกหนักสมองอยู่ตลอดเวลา ถ้าหยุดก็จะรู้สึกสบายส่วนความรู้สึกนั้น ก็ต้องมีการจำได้ก่อน จึงจะเกิดความรู้สึกขึ้นมาได้ ถ้าไม่มีการจำได้ ก็จะไม่มีความรู้สึก และความรู้สึกก็จะเกิด-ดับไปตามการรับรู้ เราไม่สามารถเลือกเอาเฉพาะความรู้สึกสุขโดยไม่เอาความรู้สึกไม่สุขได้ เพราะความรู้สึกมันก็เป็นไปตามการรับรู้และการจำได้ ที่ปรุงแต่งให้มันเกิดขึ้นมา ซึ่งเมื่อเกิดความรู้สึกใดขึ้นมา ก็จะเกิดความรู้สึกหนัก-เหนื่อยอยู่ด้วยเสมอ ถ้าเป็นความรู้สึกสุข หรือไม่สุข ก็จะมีความรู้สึกหนัก-เหนื่อยมาก แต่ถ้าเป็นความรู้สึกจืดๆ ก็จะรู้สึกหนัก-เหนื่อยน้อยส่วนการปรุงแต่งของจิตนั้น ก็ต้องมีความรู้สึกก่อน จึงจะมีการปรุงแต่งได้ ถ้าไม่มีความรู้สึกก็จะไม่มีการปรุงแต่ง ดังนั้นการปรุงแต่งของจิตจึงเปลี่ยนแปลงไปตามความรู้สึก คือจิตที่ขาดสตินั้น เมื่อเกิดความรู้สึกสุขขึ้นมา จิตก็จะปรุงแต่งให้เกิดเกิดความอยากได้ขึ้นมาทันที เมื่อเกิดความรู้สึกที่ไม่สุขขึ้นมา จิตก็จะปรุงแต่งให้เกิดความไม่อยากได้ขึ้นมาทันที ซึ่งเมื่อจิตเกิดความอยากได้และไม่อยากได้ (หรือความยึดถือว่ามีตัวเรา) ขึ้นมาเมื่อใด จิตก็จะเกิดความรู้สึกทรมาน หรือหนัก-เหนื่อยมาก ที่เรียกว่า ความทุกข์ ขึ้นมาด้วยทันที แต่ถ้าจิตไม่เกิดความอยากใดๆขึ้นมา จิตก็จะมีความรู้สึกทรมานหรือหนักเหนื่อยน้อยมาก ที่เรียกว่า ความไม่มีทุกข์ หรือ นิพพาน การพิจารณาขันธ์ ๕ (หรือร่างกายกับจิตใจ) ตามความเป็นจริง ถึงความไม่ใช่ตัวตนที่แท้จริง ไม่เที่ยง และต้องทนอยู่นี้ เมื่อเราตั้งใจพิจารณาอยู่ด้วยสมาธิ จิตก็จะเข้าใจในเหตุผลอย่างแจ่มชัด และเกิดความเห็นแจ้งความจริงว่า “มันไม่มีขันธ์ใดที่จะเป็นตัวเราได้จริง มีแต่ความรู้สึกว่ามีตัวเราเพียงชั่วคราวเท่านั้น และขันธ์ทั้ง ๕ นี้ก็ไม่เที่ยง มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เราไม่สามารถบังคับบัญชาให้เป็นไปตามที่เราอยากจะให้เป็นได้ อีกทั้งแต่ละขันธ์ก็ยังมีความรู้สึกที่ต้องทนอยู่ด้วย ถ้าจิตโง่ไปยึดถือเอาสิ่งที่ไม่เที่ยงและต้องทนอยู่นี้ ว่าเป็นตัวเรา-ของเราเข้า จิตโง่นี้ก็ย่อมจะเป็นทุกข์ไปเองอย่างช่วยไม่ได้” เมื่อเกิดความเห็นแจ้งขึ้นมาเช่นนี้แล้ว จิตก็จะเกิดความเบื่อหน่าย (คือคลายความติดใจแม้เพียงเล็กน้อยในความสุขทั้งหลาย) เมื่อเบื่อหน่าย จิตก็จะหลุดพ้นจากความยึดถือในร่างกายและจิตใจว่าเป็นตัวเรา-ของเรา (แม้เพียงชั่วคราว) เมื่อไม่มีความยึดถือ จิตก็ไม่เป็นทุกข์ เมื่อจิตไม่มีความทุกข์ มันก็จะสงบเย็นหรือนิพพาน (แม้เพียงชั่วคราว) ซึ่งนี่ก็คือ การเห็นธรรม (คือเห็นแจ้งอริยสัจ ๔) หรือ การมีดวงตาเห็นธรรม (มีปัญญาเห็นแจ้งอริยสัจ ๔) เราคืออะไร?เด็กที่เพิ่งเกิดมาใหม่ๆทุกคนนั้น จะยังมีจิตที่สะอาดหรือบริสุทธิ์เหมือนกันหมด คือจะยังไม่มีความทรงจำใดๆ จิตจึงยังว่าง คือยังไม่มีความคิดหรือกิเลสหรือความยึดถือว่ามีตนเอง จะมีก็เพียงสัญชาติญาณ (ความรู้ที่เกิดขึ้นมาพร้อมกับจิตตามธรรมชาติ) ว่ามีตนเองเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ซึ่งสัญชาติญาณว่ามีตนเองเพียงเล็กน้อยนี้ ก็จะปรุงแต่งให้จิตของเด็กเกิดความรู้สึกว่ามีตนเองเพียงเล็กน้อยเท่านั้น แต่เมื่อเด็กนี้ได้รับรู้โลกผ่าน ตา หู จมูก ลิ้น และกาย ก็จะทำให้จิตของเด็กเกิดความรู้สึกต่อสิ่งที่ได้รับรู้นั้น และจิตของเด็กก็จะปรุงแต่งให้เกิดความพอใจและไม่พอใจ (ซึ่งก็คือกิเลส) ต่อความรู้สึกนั้นขึ้นมาทันทีตามสัญชาติญาณ (คือถ้าเป็นความสุขก็จะพอใจ แต่ถ้าเป็นความไม่สุขก็จะไม่พอใจ) ความพอใจและไม่พอใจนี้เอง จะกระตุ้นความรู้สึกว่ามีตัวเองของเด็กนั้น ให้มีความเข้มข้นขึ้น จนเกิดเป็นความยึดถือว่ามีตัวเองที่เป็นผู้พอใจและไม่พอใจขึ้นมา ซึ่งทุกครั้งที่จิตของเด็กนั้นเกิดกิเลสและความยึดถือว่ามีตัวเองขึ้นมา สมองของเด็กก็จะบันทึกอาการของกิเลส และความยึดถือว่ามีตนเองนี้เอาไว้เป็นความทรงจำ ซึ่งเมื่อมีความจำมากๆก็จะกลายเป็นนิสัยของ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
You try to read what I said the following
method considering Khan 5 actually

.Considering the characteristic of the method is not the real, the impermanence and conditions to be tolerant of Khan and 5. Actually, there is a way to consider the following. The body has a father and mother, cause and food, water and heat.Common additives occurring and is located. Without food or water or heat moderation or air. The body will be broken or died. This implies that the real (immortal) of the body.The body of this temporary was changed or flows to the broken or die all the time. Is start flowing from the beginning from the womb to be a young girl. And then flows to the old.There is no any body to maintain or located to the immortal, and even while still alive, the body must also withstand the cold, heat, hunger. Hunger, fatigue, pain, pain, pain.Etc., that makes the body feel miserable too less in life!
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: