พระยาอนุมานราชธนได้กล่าวไว้ในหนังสือฟื้นความหลังไว้ว่า “การเล่นของเด็ก การแปล - พระยาอนุมานราชธนได้กล่าวไว้ในหนังสือฟื้นความหลังไว้ว่า “การเล่นของเด็ก อังกฤษ วิธีการพูด

พระยาอนุมานราชธนได้กล่าวไว้ในหนังสื

พระยาอนุมานราชธนได้กล่าวไว้ในหนังสือฟื้นความหลังไว้ว่า “การเล่นของเด็กปูนนี้ไม่มี ปืน ไม่มีรถยนต์เล็กๆอย่างที่เด็กเล่นกันเกริกในเวลานี้ลูกหนังสาหรับเด็กเล่น แม้มีแล้วก็ราคาแพง และยังไม่แพร่หลาย ตุ๊กตาที่มีดินคือตุ๊กตาล้มลุกและตุ๊กตาพราหมณ์นั่งเท้าแขนสาหรับเด็กหญิงเหล่านี้ เด็กๆชาวบ้านไม่มีเล่นเพราะต้องซื้อ จะมีแต่ผู้ใหญ่ทำให้หรือไม่ก็เด็กทำกันเองตามแบบที่สืบต่อกัน มา ตั้งแต่ไหนก็ไม่ทราบ เช่น ม้าก้านกล้วย ตะกร้อสานด้วยทางมะพร้าวสาหรับเตะเล่น หรือตุ๊กตาวัว
ควาย ปั้นด้วยดินเหนียว”ของเด็กเล่นที่สมัยนั้นนิยมเล่นกันคือ กลองหม้อตาล ในสมัยนั้นขายน้าตาล
เมื่อขายหมดแล้ว เด็กๆก็นามาทาเป็นกลอง มีวิธีทำคือ ใช้ผ้าขี้ริ้วหุ้มปากหม้ อ เอาเชือกผูกรัดคอหม้อ ให้แน่นแล้วเอาดินเหนียวเหลวๆละเลงทาให้ทั่ว หาไม้เล็กๆ มาตีผ้าที่ขึงข้างๆหม้อโดยรอบเพื่อขันเร่ง ให้ผ้าตึงเป็นอันสำเร็จ ตีได้มีเสียงดัง กลองหม้อตาลของใครตีดังกว่ากันเป็นเก่ง ถ้าตีกระหน่าจนผ้าหุ้ม ขาดก็ทำใหม่
ส่วนเด็กหญิงส่วนใหญ่ชอบเล่น หม้อข้าวหม้อแกง หรือเล่นขายของ หุงต้มแกงไปตามเรื่อง เอาเปลือกส้มโอ เปลือกมังคุด หรือใบบิดผสมด้วยปูนแดงเล็กน้อยคั้นเอาน้าข้นๆ รองภาชนะอะไรไว้ ในไม่ช้าจะแข็งตัวเอามาทำเป็นวุ้น คนไทยในอดีตมองการละเล่นของเด็กไปในแง่จิตวิทยาโดย ตีความหมายของการแสดงออกของเด็กไปในเชิงทานายอนาคต หรือแสดงบุพนิมิตต่างๆความเชื่อ เช่นนี้ปรากฏในวรรณคดีไทยหลายเรื่อง เช่น ขุนช้างขุนแผน สาหรับการละเล่นของไทย พระยา อนุมานราชธน ได้กล่าวไว้ว่า การละเล่นพื้นบ้านของไทยมีมาแต่สมัยดึกดาบรรพ์ก่อนประวัติศาสตร์ น่าจะได้แก่ “แตกโพละ” โดยเอาดินเหนียวปั้นเป็นรูปกระทงเล็กๆแต่ให้ส่วนที่เป็นก้นมีลักษณะบาง
ที่สุดที่จะบางได้ และขว้างลงไปบนพื้นให้แรงก็จะมีเสียงแตกดังโพละ และเป็นช่องโหว่ที่ก้นแล้วเอา ดินแผ่นบางๆ มาทาให้เท่ารูโหว่ การละเล่นนี้จะเกิดขึ้นเพราะมนุษย์รู้จักเอาดินมาปั้นเป็นภาชนะและ เด็กเห็นผู้ใหญ่ทาจึงนามามาปั้นเล่นบ้าง
การละเล่นของไทยเท่าที่ปรากฏเป็นหลักฐานก็ว่ามีมาแต่กรุงสุโขทัย แต่ที่ปรากฏในบท ละครเรื่องมโนห์ราครั้งกรุงศรีอยุธยา คือ การเล่นว่า ลิงชิงเสา ปลาลงอวน บทละครเรื่องนี้นี้สมเด็จ กรมพระยาดารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่าแต่งก่อนสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ การละเล่น ของไทยแต่เดิมมาและบางอย่างยังคงปรากฏอยู่จนทุกวันนี้หากมีการสืบทอดวิธีเล่นบางอย่างที่ดีงาม นามาปรับให้เข้ากับยุคสมัยก็จะเป็นประโยชน์แก่สังคมไทย ไม่เฉพาะแต่การพัฒนาบุคคลเท่านั้น ยัง ช่วยพัฒนาสังคมอีกด้วย

3.ประเภทของการละเล่นพื้นบ้านของไทย
นักวิชาการด้านคติชนวิทยาให้ความสนใจการละเล่นเพียงเล็กน้อย และไม่ค่อยคำนึงถึง
ธรรมชาติของการเล่นจะมุ่งแต่สนใจในด้านประวัติและการถ่ายทอดวิธีเล่น ไม่มีการจัดแบ่งประเภท
ของการละเล่น ในปี 1995Grain Sutton-Smith ได้นาเสนอผลงานชื่อ The Game of New Zealand

Children โดยเขาได้จัดประเภทของการละเล่นออกเป็น 4 แบบ แต่ละแบบมีพื้นฐานจากพฤติกรรม ดังนี้


1.นันทนาการ (recreation) เป็นการละเล่นที่เลียนแบบการแสดง หรือละคร เป็น การละเล่นตามบทบาทและการเลียนแบบ
2.เกม (game) เป็นการเล่นแข่งขัน ซึ่งจะมีผู้แพ้และผู้ชนะ
3.การแข่งขันระหว่างบุคคลกับกลุ่มคน เป็นการละเล่นที่เน้นหนักไปในการวางแผน
4.การละเล่นที่อาศัยโชค เช่น การทาย
ในประเทศไทย การรวบรวมเรื่องการละเล่นกระทากันแพร่หลายแต่การวิจัยการละเล่นนั้นๆตาม วิธีการทางคติชนวิทยา (Folklore)และชนชีพิตศึกษา (Folklore) ยังไม่ปรากฏแพร่หลาย มีงานวิจัยและ รวบรวมที่ปรากฏ ดังนี้
ปี พ.ศ. 2463 สมเด็จกรมพระยาดารงราชานนุภาพ ทรงโปรดให้รวบรวมบทกล่อมเด็ก บท ปลอบเด็ก และบทเด็กเล่น ซึ่งได้จากมณฑลพายัพ มณฑลอุดร ร้อยเอ็ด มณฑลนครศรีธรรมราช ปัตตานี ภูเก็ต และมณฑลกรุงเทพ
ปี พ.ศ.2509 กุหลาบ มัลลิกะมาศ ได้ศึกษารวบรวมคติชาวบ้าน ได้เพลงประกอบการละเล่น ของเด็ก 36 บท จุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมคติชาวบ้าน ไม่ได้ทาการวิเคราะห์
ปี พ.ศ. 2515 ฉวีวรรณ คูหาภินันท์ ได้รวบรวมและจัดประเภทการละเล่นของไทยตามแบบ ของวอร์เรนอ โรเบอร์ตส์ (Warren E. Roderts) โดยแบ่งการละเล่นออกเป็น 16 ประเภท คือ
1.ประเภทการเล่นทาย 9.ประเภทกระโดดข้าม
2.ประเภทการนับ 10.ประเภทตลก
3.ประเภทการกระโดดเชือก 11.ประเภทกระดาษดินสอ
4.ประเภทซ่อนหา 12.ประเภทความแม่นยา
5.ประเภทการปรับ 13.ประเภทเกี้ยว
6.ประเภทการไล-ไล่จับ 14.ประเภทไม้
7.ประเภทคัดออก 15.ประเภทสาหรับเด็กเล็ก
8.ประเภทลูกบอล 16.ประเภทร้องเพลงระบา
ปี พ.ศ. 2520 สุรสิงห์สารวม ฉิมพะเนาว์ ได้ศึกษาเรื่องการละเล่นของเด็กล้านนาไทยใน อดีต ได้จัดประเภทของการละเล่นของเด็กตามที่ปรากฏในคาสู่ขวัญได้ 7 ประเภท คือ
1. การละเล่นโดยการเลียนแบบการทางานของผู้ใหญ่
2. การละเล่นโดยการเลียนแบบการประกอบอาชีพของผู้ใหญ่
3. การละเล่นโดยการเลียนแบบวิธีหาอาหารของผู้ใหญ่
4. การละเล่นเพื่อความเพลิดเพลินของตนเองตามลำพัง
5. การละเล่นโดยมีกติกา
6. การละเล่นกับเพื่อนๆ โดยไม่มีกติกา
7. การละเล่นแข่งขันโดยมีการพนัน

ในปี พ.ศ. 2522 พันตร ผอบ โปษะกฤษณะ และคณะ ได้วิจัยเรื่องการละเล่นของเด็กภาค
กลางโดยจัดประเภทการละเล่นตามสถานที่ ดังนี้
1. การละเล่นกลางแจ้ง ได้การละเล่นประเภทมีบทร้อยกรองประกอบ 8 ชนิด ประเภทมีคาโต้ตอบ 4 ชนิด และประเภทไม่มีบทร้องประกอบ 32 ชนิด
2. การละเล่นกลางแจ้งหรือในร่มก็ได้ ได้การละเล่นประเภทไม่มีบทร้อง 8 ชนิด
3. การละเล่นในร่ม ได้ประเภทที่มีบทร้องประกอบ 8 ชนิด และประเภทที่ไม่มี บทร้องประกอบ 24 ชนิด
4. การเล่นเลียนแบบผู้ใหญ่
5. การเล่นบทล้อเลียน
6. การเล่นประเภทเบ็ดเตล็ด
7. การเล่นปริศนาคาทาย
สุขพัชรา ชิ้มเจริญ (2546 : 13 อ้างอิงมาจาก อรชร อาจันทร์.) ได้จัดประเภทและวิเคราะห์
ลักษณะของการเล่นพื้นเมืองไทยโดยแบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ คือ
1. การเล่นประเภทมีกติกาที่มีบทร้องประกอบและไม่มีบทร้องประกอบ
2. การเล่นไม่มีกติกา ได้แก่ การเล่นของเล่น การเล่นปริศนาคาทาย การเล่น ล้อเลียน
ผ่องพันธ์ มณีรัตน์แบ่งการละเล่นของเด็กไทยออกตามกติกาการเล่นได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. การละเล่นที่เน้นการแพ้ชนะ ได้แก่ การเล่นที่มีผู้แพ้ชนะที่แน่นอน ซึ่งผู้เล่น ทั้ง 2
ฝ่ายยอมรับการเอาชนะกันในการเล่นที่ผู้เล่นเกิดความรู้สึกว่ามีคว
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
พระยาอนุมานราชธนได้กล่าวไว้ในหนังสือฟื้นความหลังไว้ว่า “การเล่นของเด็กปูนนี้ไม่มี ปืน ไม่มีรถยนต์เล็กๆอย่างที่เด็กเล่นกันเกริกในเวลานี้ลูกหนังสาหรับเด็กเล่น แม้มีแล้วก็ราคาแพง และยังไม่แพร่หลาย ตุ๊กตาที่มีดินคือตุ๊กตาล้มลุกและตุ๊กตาพราหมณ์นั่งเท้าแขนสาหรับเด็กหญิงเหล่านี้ เด็กๆชาวบ้านไม่มีเล่นเพราะต้องซื้อ จะมีแต่ผู้ใหญ่ทำให้หรือไม่ก็เด็กทำกันเองตามแบบที่สืบต่อกัน มา ตั้งแต่ไหนก็ไม่ทราบ เช่น ม้าก้านกล้วย ตะกร้อสานด้วยทางมะพร้าวสาหรับเตะเล่น หรือตุ๊กตาวัวควาย ปั้นด้วยดินเหนียว”ของเด็กเล่นที่สมัยนั้นนิยมเล่นกันคือ กลองหม้อตาล ในสมัยนั้นขายน้าตาลเมื่อขายหมดแล้ว เด็กๆก็นามาทาเป็นกลอง มีวิธีทำคือ ใช้ผ้าขี้ริ้วหุ้มปากหม้ อ เอาเชือกผูกรัดคอหม้อ ให้แน่นแล้วเอาดินเหนียวเหลวๆละเลงทาให้ทั่ว หาไม้เล็กๆ มาตีผ้าที่ขึงข้างๆหม้อโดยรอบเพื่อขันเร่ง ให้ผ้าตึงเป็นอันสำเร็จ ตีได้มีเสียงดัง กลองหม้อตาลของใครตีดังกว่ากันเป็นเก่ง ถ้าตีกระหน่าจนผ้าหุ้ม ขาดก็ทำใหม่ส่วนเด็กหญิงส่วนใหญ่ชอบเล่น หม้อข้าวหม้อแกง หรือเล่นขายของ หุงต้มแกงไปตามเรื่อง เอาเปลือกส้มโอ เปลือกมังคุด หรือใบบิดผสมด้วยปูนแดงเล็กน้อยคั้นเอาน้าข้นๆ รองภาชนะอะไรไว้ ในไม่ช้าจะแข็งตัวเอามาทำเป็นวุ้น คนไทยในอดีตมองการละเล่นของเด็กไปในแง่จิตวิทยาโดย ตีความหมายของการแสดงออกของเด็กไปในเชิงทานายอนาคต หรือแสดงบุพนิมิตต่างๆความเชื่อ เช่นนี้ปรากฏในวรรณคดีไทยหลายเรื่อง เช่น ขุนช้างขุนแผน สาหรับการละเล่นของไทย พระยา อนุมานราชธน ได้กล่าวไว้ว่า การละเล่นพื้นบ้านของไทยมีมาแต่สมัยดึกดาบรรพ์ก่อนประวัติศาสตร์ น่าจะได้แก่ “แตกโพละ” โดยเอาดินเหนียวปั้นเป็นรูปกระทงเล็กๆแต่ให้ส่วนที่เป็นก้นมีลักษณะบางที่สุดที่จะบางได้ และขว้างลงไปบนพื้นให้แรงก็จะมีเสียงแตกดังโพละ และเป็นช่องโหว่ที่ก้นแล้วเอา ดินแผ่นบางๆ มาทาให้เท่ารูโหว่ การละเล่นนี้จะเกิดขึ้นเพราะมนุษย์รู้จักเอาดินมาปั้นเป็นภาชนะและ เด็กเห็นผู้ใหญ่ทาจึงนามามาปั้นเล่นบ้างการละเล่นของไทยเท่าที่ปรากฏเป็นหลักฐานก็ว่ามีมาแต่กรุงสุโขทัย แต่ที่ปรากฏในบท ละครเรื่องมโนห์ราครั้งกรุงศรีอยุธยา คือ การเล่นว่า ลิงชิงเสา ปลาลงอวน บทละครเรื่องนี้นี้สมเด็จ กรมพระยาดารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่าแต่งก่อนสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ การละเล่น ของไทยแต่เดิมมาและบางอย่างยังคงปรากฏอยู่จนทุกวันนี้หากมีการสืบทอดวิธีเล่นบางอย่างที่ดีงาม นามาปรับให้เข้ากับยุคสมัยก็จะเป็นประโยชน์แก่สังคมไทย ไม่เฉพาะแต่การพัฒนาบุคคลเท่านั้น ยัง ช่วยพัฒนาสังคมอีกด้วย
3.ประเภทของการละเล่นพื้นบ้านของไทย
นักวิชาการด้านคติชนวิทยาให้ความสนใจการละเล่นเพียงเล็กน้อย และไม่ค่อยคำนึงถึง
ธรรมชาติของการเล่นจะมุ่งแต่สนใจในด้านประวัติและการถ่ายทอดวิธีเล่น ไม่มีการจัดแบ่งประเภท
ของการละเล่น ในปี 1995Grain Sutton-Smith ได้นาเสนอผลงานชื่อ The Game of New Zealand

Children โดยเขาได้จัดประเภทของการละเล่นออกเป็น 4 แบบ แต่ละแบบมีพื้นฐานจากพฤติกรรม ดังนี้


1.นันทนาการ (recreation) เป็นการละเล่นที่เลียนแบบการแสดง หรือละคร เป็น การละเล่นตามบทบาทและการเลียนแบบ
2.เกม (game) เป็นการเล่นแข่งขัน ซึ่งจะมีผู้แพ้และผู้ชนะ
3.การแข่งขันระหว่างบุคคลกับกลุ่มคน เป็นการละเล่นที่เน้นหนักไปในการวางแผน
4.การละเล่นที่อาศัยโชค เช่น การทาย
ในประเทศไทย การรวบรวมเรื่องการละเล่นกระทากันแพร่หลายแต่การวิจัยการละเล่นนั้นๆตาม วิธีการทางคติชนวิทยา (Folklore)และชนชีพิตศึกษา (Folklore) ยังไม่ปรากฏแพร่หลาย มีงานวิจัยและ รวบรวมที่ปรากฏ ดังนี้
ปี พ.ศ. 2463 สมเด็จกรมพระยาดารงราชานนุภาพ ทรงโปรดให้รวบรวมบทกล่อมเด็ก บท ปลอบเด็ก และบทเด็กเล่น ซึ่งได้จากมณฑลพายัพ มณฑลอุดร ร้อยเอ็ด มณฑลนครศรีธรรมราช ปัตตานี ภูเก็ต และมณฑลกรุงเทพ
ปี พ.ศ.2509 กุหลาบ มัลลิกะมาศ ได้ศึกษารวบรวมคติชาวบ้าน ได้เพลงประกอบการละเล่น ของเด็ก 36 บท จุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมคติชาวบ้าน ไม่ได้ทาการวิเคราะห์
ปี พ.ศ. 2515 ฉวีวรรณ คูหาภินันท์ ได้รวบรวมและจัดประเภทการละเล่นของไทยตามแบบ ของวอร์เรนอ โรเบอร์ตส์ (Warren E. Roderts) โดยแบ่งการละเล่นออกเป็น 16 ประเภท คือ
1.ประเภทการเล่นทาย 9.ประเภทกระโดดข้าม
2.ประเภทการนับ 10.ประเภทตลก
3.ประเภทการกระโดดเชือก 11.ประเภทกระดาษดินสอ
4.ประเภทซ่อนหา 12.ประเภทความแม่นยา
5.ประเภทการปรับ 13.ประเภทเกี้ยว
6.ประเภทการไล-ไล่จับ 14.ประเภทไม้
7.ประเภทคัดออก 15.ประเภทสาหรับเด็กเล็ก
8.ประเภทลูกบอล 16.ประเภทร้องเพลงระบา
ปี พ.ศ. 2520 สุรสิงห์สารวม ฉิมพะเนาว์ ได้ศึกษาเรื่องการละเล่นของเด็กล้านนาไทยใน อดีต ได้จัดประเภทของการละเล่นของเด็กตามที่ปรากฏในคาสู่ขวัญได้ 7 ประเภท คือ
1. การละเล่นโดยการเลียนแบบการทางานของผู้ใหญ่
2. การละเล่นโดยการเลียนแบบการประกอบอาชีพของผู้ใหญ่
3. การละเล่นโดยการเลียนแบบวิธีหาอาหารของผู้ใหญ่
4. การละเล่นเพื่อความเพลิดเพลินของตนเองตามลำพัง
5. การละเล่นโดยมีกติกา
6. การละเล่นกับเพื่อนๆ โดยไม่มีกติกา
7. การละเล่นแข่งขันโดยมีการพนัน

ในปี พ.ศ. 2522 พันตร ผอบ โปษะกฤษณะ และคณะ ได้วิจัยเรื่องการละเล่นของเด็กภาค
กลางโดยจัดประเภทการละเล่นตามสถานที่ ดังนี้
1. การละเล่นกลางแจ้ง ได้การละเล่นประเภทมีบทร้อยกรองประกอบ 8 ชนิด ประเภทมีคาโต้ตอบ 4 ชนิด และประเภทไม่มีบทร้องประกอบ 32 ชนิด
2. การละเล่นกลางแจ้งหรือในร่มก็ได้ ได้การละเล่นประเภทไม่มีบทร้อง 8 ชนิด
3. การละเล่นในร่ม ได้ประเภทที่มีบทร้องประกอบ 8 ชนิด และประเภทที่ไม่มี บทร้องประกอบ 24 ชนิด
4. การเล่นเลียนแบบผู้ใหญ่
5. การเล่นบทล้อเลียน
6. การเล่นประเภทเบ็ดเตล็ด
7. การเล่นปริศนาคาทาย
สุขพัชรา ชิ้มเจริญ (2546 : 13 อ้างอิงมาจาก อรชร อาจันทร์.) ได้จัดประเภทและวิเคราะห์
ลักษณะของการเล่นพื้นเมืองไทยโดยแบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ คือ
1. การเล่นประเภทมีกติกาที่มีบทร้องประกอบและไม่มีบทร้องประกอบ
2. การเล่นไม่มีกติกา ได้แก่ การเล่นของเล่น การเล่นปริศนาคาทาย การเล่น ล้อเลียน
ผ่องพันธ์ มณีรัตน์แบ่งการละเล่นของเด็กไทยออกตามกติกาการเล่นได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. การละเล่นที่เน้นการแพ้ชนะ ได้แก่ การเล่นที่มีผู้แพ้ชนะที่แน่นอน ซึ่งผู้เล่น ทั้ง 2
ฝ่ายยอมรับการเอาชนะกันในการเล่นที่ผู้เล่นเกิดความรู้สึกว่ามีคว
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Thai folk culture is one unique to each of the local.Thai folk culture is one unique to each of the local.Thai folk culture is one unique to each of the local.Thai folk culture is one unique to each of the local.Thai folk culture is one unique to each of the local.Thai folk culture is one unique to each of the local.Thai folk culture is one unique to each of the local.Thai folk culture is one unique to each of the local.Thai folk culture is one unique to each of the local.Thai folk culture is one unique to each of the local.Thai folk culture is one unique to each of the local.Thai folk culture is one unique to each of the local.Thai folk culture is one unique to each of the local.Thai folk culture is one unique to each of the local.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: