พระพุทธศาสนา : กระบวนทัศน์ในแก้ปัญหาวิกฤติการเมือง เศรษฐกิจ สังคม สิ่ง การแปล - พระพุทธศาสนา : กระบวนทัศน์ในแก้ปัญหาวิกฤติการเมือง เศรษฐกิจ สังคม สิ่ง อังกฤษ วิธีการพูด

พระพุทธศาสนา : กระบวนทัศน์ในแก้ปัญห

พระพุทธศาสนา : กระบวนทัศน์ในแก้ปัญหาวิกฤติการเมือง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม



ประเทศไทยนั้นเป็นสังคมหนึ่งซึ่งยอมรับพระพุทธศาสนา และได้รับการหล่อหลอมจากหลักธรรม คำสอนในพระพุทธศาสนามายาวนาน วิถีชีวิตของคนไทยส่วนใหญ่ตั้งแต่กำเนิดจนถึงตาย จึงเกี่ยวโยงสัมพันธ์เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับพระพุทธศาสนา แต่เมื่อสังคมโลกเปิดกว้างขึ้นทั้งในด้านสื่อสารมวลชน เศรษฐกิจ การเมืองและวัฒนธรรม จึงเป็นเหตุผลสำคัญที่นำพาให้สังคมไทยก้าวเข้าไปสู่กระแสแห่งยุคโลกาภิวัฒน์ ส่งผลให้สังคมไทยต้องเผชิญกับภาวะวิกฤติในหลายๆ ด้าน กล่าวคือ

1. วิกฤติการเมือง

2. วิกฤติด้านเศรษฐกิจ

3. วิกฤติด้านสังคม

4. วิกฤติด้านสิ่งแวดล้อม

พระพุทธศาสนา จึงเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ที่จะสามารถนำหลักการสำคัญที่มีอยู่ในพระไตรปิฏกมาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาในแบบองค์รวม เพื่อจะทำให้การแก้ปัญหาเป็นไปอย่างครบวงจร อันจะส่งผลดีกับการแก้ไขปัญหาวิกฤติต่างๆ ของสังคมไทยต่อไป

วิกฤติต่างๆที่เกิดขึ้นล้วนโยงใยถึงกันเป็นลูกโซ่ เป็นปัจจัยเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน เมื่อเกิดวิกฤติขึ้นในด้านใดด้านหนึ่งของสังคมนั้นหมายถึงว่า ผลพวงจากวิกฤตินั้นย่อมกระทบต่อระบบในสังคมนั้นด้วย เช่น บ้านเมืองปัจจุบันเกิดภาวะวิกฤติ เพราะเป็นผลกระทบจากภาวะทางเศรษฐกิจทรุดตัว นักการเมือง บุคคลในสังคมหวังเพื่อจะกอบโกยผลประโยชน์เป็นส่วนตัวมากขึ้น ประชาชนอดอยากมากขึ้น จึงเป็นภาวะวิกฤติทางสังคมเมื่อบุคคลในสังคมมีมากขึ้นความเห็นแก่ตัวมากขึ้น สภาพสิ่งแวดล้อมรอบตัวจึงไม่มีคนเอาใจใส่ดูแลจนเกิดเป็นภาวะวิกฤติทางสิ่งแวดล้อม ถึงเวลาแล้วที่สังคมไทยจะต้องนำกระบวนทัศน์ทางพระพุทธศาสนามาปรับใช้ตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ ในขณะนี้



1. วิกฤติทางการเมือง

1.1 ปัญหาทางการเมือง นักการเมืองมักมองเป็นเกมส์ทางการเมือง เล่นพรรคเล่นพวก มือใครยาวสาวได้สาวเอา แต่มักเป็นไปแบบเช้าชามเย็นชาม นักการเมืองส่วนมากมัดทุจริตและกอบโกยผลประโยชน์ ความไม่สามัคคีของนักการเมือง แม้จะหน่วยงานคอยตรวจสอบก็ตามที ก็เป็นไปอย่างไม่เต็มที่นักด้วยเกรงกลัวอำนาจและอิทธิพล ปัญหาอีกอย่างของการเมืองคือด้านการดำเนินนโยบายผิดพลาด อันเกิดผลเสียกับสังคมและประเทศชาติ ผู้บริหารประเทศยังไม่ได้มีการบริหารอย่างเต็มความรับผิดชอบ ยังมีการเล่นการเมืองมากเกินความจำเป็นซึ่งมีผลทำให้การดำเนินนโยบายต่างๆยังไม่ได้แก้ปัญหาที่แท้จริงของประเทศ บางครั้งนโยบายหลายๆ นโยบายก็ดูน่าจะดี แต่กลับไม่ได้ผลเต็มที่ซึ่งก็มีสาเหตุมาจากการไม่สามารถนำ นโยบายไปปฏิบัติกันอย่าง มีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล บ่อย ครั้งเป็น การดำเนินนโยบายเพื่อสร้างภาพให้แก่ ส่วนตน แต่ให้ความสำคัญของประสิทธิผลน้อยมาก หรือ แทบจะไม่ให้ความสำคัญเลย

ระบบราชการ ก็เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่มีผลกระทบต่อการส่งออก และ อีก หลายๆ ธุรกิจหน่วยงานต่างๆ มีการทำงานซ้ำซ้อนกัน ซึ่งอันที่จริงแล้ว โครงสร้างของระบบราชการก็ได้มีการ กำหนดไว้ดีแล้ว แต่ก็ไปผิดพลาดที่การปฏิบัติอีก เพราะต่างคนต่างพยายามสร้างผลงานให้โดดเด่น ในสายตา ของผู้บังคับบัญชา หรือแม้กระทั่งนักการเมือง จนลืมนึกถึงประชาชน แต่ ก็มีข้าราชการระดับกลาง และ ระดับล่างที่มีแนวความคิดที่ดี ๆ แต่ก็ไม่มีโอกาสที่จะได้แสดงฝีมือเนื่องจากติดที่ระบบราชการที่ยังเป็นระบบศักดินา ผสมกับระบบอุปถัมภ์อยู่ตราบใดที่ผู้ใหญ่ในภาครัฐยังไม่ยอมรับความจริงเหล่านี้ ปัญหาของชาติไทยคงมีแต่การสูญเสียไปอย่างต่อเนื่อง

1.2 ผลกระทบต่อสังคมไทย

1) ในแง่ของปัจเจกบุคคล คนไทยย่อมประสบกับความไม่เชื่อมั่นในสถานะของประเทศ ไม่ไว้ใจในข้าราชการและนักการเมือง ในการบริหารของคณะรัฐบาลและความมั่นคงของประเทศ

2) ในแง่ของสังคม มุมมองโดยรวมของสังคมไทยย่อมไม่เป็นที่ไว้วางใจของชาวต่างชาติเท่าที่ควร ความเชื่อมั่นในรัฐบาลโดยรวมก็ลดลงตามลำดับ

3) ในแง่ของเศรษฐกิจ การบริหารด้านนโยบายของรัฐบาลเป็นผลโดยตรงด้านเศรษฐกิจของประเทศ หากรัฐบาลวางแนวนโยบายผิดพลาด ต่างชาติขาดความเชื่อมั่นในรัฐบาล ย่อมเกิดเป็นวิกฤติเศรษฐกิจตามมาอย่างแน่นอน

4) ในแง่ของศาสนา ปัจจุบันกำลังเป็นปัจจัยหนึ่งที่จะก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างศาสนา อันเกิดจากการพยายามแทรกแซงกิจการพระพุทธศาสนา และพยายามลบล้างความเป็นพุทธศาสนาในหน่วยงานนั้นๆ ที่นักการเมืองบางคนเป็นรัฐมนตรี ดังที่เป็นข่าวในปัจจุบัน

1.3 พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาทางการเมือง

1) พระพุทธศาสนา ได้กล่าวถึงอธิปไตย ไว้ถึง 3 แบบ คือ อัตตาธิปไตย โลกาธิปไตย ธรรมาธิปไตย โดยประการหลัง ธรรมาธิปไตยปกครองโดยเน้นธรรมะเป็นใหญ่ ให้ผู้นำมีธรรมะ (มุขบุรุษที่ดี) และประชาชนมีธรรมะ (สัมมาชน) พระสุตตันตปิฎก เล่ม 20 หน้า 186 , เล่ม 11 หน้า 231

2) พระพุทธศาสนา เน้นเสรีภาพทางจิต เป็นศาสนาแรกที่ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน มีสิทธิพิจารณาคัดเลือกผู้นำ มีสิทธิในด้านต่างอันไม่ก่อความเดือดร้อนสู่ตนเองและผู้อื่น

3) พระพุทธศาสนา สอนให้รู้จักความพอดีในการปฏิบัติตน และการแก้ไขปัญหาต่างๆ ด้วยปัญญา ในการดำเนินตามอริยสัจ 4 นักการเมืองควรนำไปปรับใช้ตามเหตุสถานการณ์นั้นๆ

4) พระพุทธศาสนา สอนให้รู้จักความสุจริต ในการปฏิบัติตนสมควรแก่หน้าที่ รู้กาล รู้เวลา รู้หน้าที่ของตน

ปัญหาความยัดแย้งทางการเมือง ความยัดแย้งทางการเมืองที่เป็นปัญหาสังคมอย่างหนึ่งนั้นอาจจะมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น ผลประโยชน์ขัดกัน ความคิดเห็นไม่ตรงกัน การขาดอุดมคติทางการเมืองที่แน่นอน เป็นต้น ในการแก้ปัญหานี้ ตามทัศนะของพุทธศาสนาแล้ว นักการเมืองจะต้องมีธรรมะสำหรับนักบริหาร นักปกครองซึ่งพระพุทธองค์ได้แสดงว่า เป็นคุณสมบัติของนักปกครองหรือผู้บริหารปรากฏในพระคัมภีร์ศาสนาหลายแห่งด้วยกัน แต่ในที่นี้จะขอนำมากล่าวเฉพาะที่ท่านได้แสดงไว้ใน อรรถกถาอัฏฐกนิบาตอังคุตตรนิกาย มีใจความว่าผู้ปกครองหรือนักบริหารนั้นจะต้องทำนุบำรุงประชาราษฏร์ด้วยหลักธรรมที่เรียกว่าราชสังคหวัตถุ 5 ประการ คือ

1. สัสสเมธะ ฉลาดสามารถในการบำรุงเกษตรกรรมและกสิกรรมเป็นต้น อันเป็นธัญญาหารให้เกิดผลผลิตที่ดี มีการส่งเสริมการเกษตรและกสิกรรมให้อุดมสมบูรณ์ อัน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Buddhism: a paradigm in economic, social, political crisis, problem solving environment. Thailand is a country where the social acceptance of Buddhism and has been casting ingots from the principle. The teachings in Buddhism, long The way of life of people, the majority of Thailand since birth until death, thus associated relationship is consistent with the Buddhist society, but when the world opened up in both mass communication. Economy, politics and culture, it is a major reason that brings social stream into Thailand era globalization. As a result, Thailand crisis faced by society in many ways, that is,1. the political crisis.2. the economic crisis.3. the social crisis.4. the environmental crisis. Buddhism, it is a new paradigm that can bring the existing Tripitaka applied to solve problems in a holistic approach to problem solving is to make a comprehensive. To fix the problem with a good variety of social crisis following Thailand. วิกฤติต่างๆที่เกิดขึ้นล้วนโยงใยถึงกันเป็นลูกโซ่ เป็นปัจจัยเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน เมื่อเกิดวิกฤติขึ้นในด้านใดด้านหนึ่งของสังคมนั้นหมายถึงว่า ผลพวงจากวิกฤตินั้นย่อมกระทบต่อระบบในสังคมนั้นด้วย เช่น บ้านเมืองปัจจุบันเกิดภาวะวิกฤติ เพราะเป็นผลกระทบจากภาวะทางเศรษฐกิจทรุดตัว นักการเมือง บุคคลในสังคมหวังเพื่อจะกอบโกยผลประโยชน์เป็นส่วนตัวมากขึ้น ประชาชนอดอยากมากขึ้น จึงเป็นภาวะวิกฤติทางสังคมเมื่อบุคคลในสังคมมีมากขึ้นความเห็นแก่ตัวมากขึ้น สภาพสิ่งแวดล้อมรอบตัวจึงไม่มีคนเอาใจใส่ดูแลจนเกิดเป็นภาวะวิกฤติทางสิ่งแวดล้อม ถึงเวลาแล้วที่สังคมไทยจะต้องนำกระบวนทัศน์ทางพระพุทธศาสนามาปรับใช้ตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ต่างๆ ในขณะนี้ 1. the political crisis.1.1 ปัญหาทางการเมือง นักการเมืองมักมองเป็นเกมส์ทางการเมือง เล่นพรรคเล่นพวก มือใครยาวสาวได้สาวเอา แต่มักเป็นไปแบบเช้าชามเย็นชาม นักการเมืองส่วนมากมัดทุจริตและกอบโกยผลประโยชน์ ความไม่สามัคคีของนักการเมือง แม้จะหน่วยงานคอยตรวจสอบก็ตามที ก็เป็นไปอย่างไม่เต็มที่นักด้วยเกรงกลัวอำนาจและอิทธิพล ปัญหาอีกอย่างของการเมืองคือด้านการดำเนินนโยบายผิดพลาด อันเกิดผลเสียกับสังคมและประเทศชาติ ผู้บริหารประเทศยังไม่ได้มีการบริหารอย่างเต็มความรับผิดชอบ ยังมีการเล่นการเมืองมากเกินความจำเป็นซึ่งมีผลทำให้การดำเนินนโยบายต่างๆยังไม่ได้แก้ปัญหาที่แท้จริงของประเทศ บางครั้งนโยบายหลายๆ นโยบายก็ดูน่าจะดี แต่กลับไม่ได้ผลเต็มที่ซึ่งก็มีสาเหตุมาจากการไม่สามารถนำ นโยบายไปปฏิบัติกันอย่าง มีประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล บ่อย ครั้งเป็น การดำเนินนโยบายเพื่อสร้างภาพให้แก่ ส่วนตน แต่ให้ความสำคัญของประสิทธิผลน้อยมาก หรือ แทบจะไม่ให้ความสำคัญเลยระบบราชการ ก็เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่มีผลกระทบต่อการส่งออก และ อีก หลายๆ ธุรกิจหน่วยงานต่างๆ มีการทำงานซ้ำซ้อนกัน ซึ่งอันที่จริงแล้ว โครงสร้างของระบบราชการก็ได้มีการ กำหนดไว้ดีแล้ว แต่ก็ไปผิดพลาดที่การปฏิบัติอีก เพราะต่างคนต่างพยายามสร้างผลงานให้โดดเด่น ในสายตา ของผู้บังคับบัญชา หรือแม้กระทั่งนักการเมือง จนลืมนึกถึงประชาชน แต่ ก็มีข้าราชการระดับกลาง และ ระดับล่างที่มีแนวความคิดที่ดี ๆ แต่ก็ไม่มีโอกาสที่จะได้แสดงฝีมือเนื่องจากติดที่ระบบราชการที่ยังเป็นระบบศักดินา ผสมกับระบบอุปถัมภ์อยู่ตราบใดที่ผู้ใหญ่ในภาครัฐยังไม่ยอมรับความจริงเหล่านี้ ปัญหาของชาติไทยคงมีแต่การสูญเสียไปอย่างต่อเนื่อง1.2 ผลกระทบต่อสังคมไทย 1) ในแง่ของปัจเจกบุคคล คนไทยย่อมประสบกับความไม่เชื่อมั่นในสถานะของประเทศ ไม่ไว้ใจในข้าราชการและนักการเมือง ในการบริหารของคณะรัฐบาลและความมั่นคงของประเทศ2) ในแง่ของสังคม มุมมองโดยรวมของสังคมไทยย่อมไม่เป็นที่ไว้วางใจของชาวต่างชาติเท่าที่ควร ความเชื่อมั่นในรัฐบาลโดยรวมก็ลดลงตามลำดับ3) ในแง่ของเศรษฐกิจ การบริหารด้านนโยบายของรัฐบาลเป็นผลโดยตรงด้านเศรษฐกิจของประเทศ หากรัฐบาลวางแนวนโยบายผิดพลาด ต่างชาติขาดความเชื่อมั่นในรัฐบาล ย่อมเกิดเป็นวิกฤติเศรษฐกิจตามมาอย่างแน่นอน4) ในแง่ของศาสนา ปัจจุบันกำลังเป็นปัจจัยหนึ่งที่จะก่อให้เกิดความขัดแย้งระหว่างศาสนา อันเกิดจากการพยายามแทรกแซงกิจการพระพุทธศาสนา และพยายามลบล้างความเป็นพุทธศาสนาในหน่วยงานนั้นๆ ที่นักการเมืองบางคนเป็นรัฐมนตรี ดังที่เป็นข่าวในปัจจุบัน1.3 พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาทางการเมือง1) พระพุทธศาสนา ได้กล่าวถึงอธิปไตย ไว้ถึง 3 แบบ คือ อัตตาธิปไตย โลกาธิปไตย ธรรมาธิปไตย โดยประการหลัง ธรรมาธิปไตยปกครองโดยเน้นธรรมะเป็นใหญ่ ให้ผู้นำมีธรรมะ (มุขบุรุษที่ดี) และประชาชนมีธรรมะ (สัมมาชน) พระสุตตันตปิฎก เล่ม 20 หน้า 186 , เล่ม 11 หน้า 2312) พระพุทธศาสนา เน้นเสรีภาพทางจิต เป็นศาสนาแรกที่ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน มีสิทธิพิจารณาคัดเลือกผู้นำ มีสิทธิในด้านต่างอันไม่ก่อความเดือดร้อนสู่ตนเองและผู้อื่น3) พระพุทธศาสนา สอนให้รู้จักความพอดีในการปฏิบัติตน และการแก้ไขปัญหาต่างๆ ด้วยปัญญา ในการดำเนินตามอริยสัจ 4 นักการเมืองควรนำไปปรับใช้ตามเหตุสถานการณ์นั้นๆ4) พระพุทธศาสนา สอนให้รู้จักความสุจริต ในการปฏิบัติตนสมควรแก่หน้าที่ รู้กาล รู้เวลา รู้หน้าที่ของตน ปัญหาความยัดแย้งทางการเมือง ความยัดแย้งทางการเมืองที่เป็นปัญหาสังคมอย่างหนึ่งนั้นอาจจะมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น ผลประโยชน์ขัดกัน ความคิดเห็นไม่ตรงกัน การขาดอุดมคติทางการเมืองที่แน่นอน เป็นต้น ในการแก้ปัญหานี้ ตามทัศนะของพุทธศาสนาแล้ว นักการเมืองจะต้องมีธรรมะสำหรับนักบริหาร นักปกครองซึ่งพระพุทธองค์ได้แสดงว่า เป็นคุณสมบัติของนักปกครองหรือผู้บริหารปรากฏในพระคัมภีร์ศาสนาหลายแห่งด้วยกัน แต่ในที่นี้จะขอนำมากล่าวเฉพาะที่ท่านได้แสดงไว้ใน อรรถกถาอัฏฐกนิบาตอังคุตตรนิกาย มีใจความว่าผู้ปกครองหรือนักบริหารนั้นจะต้องทำนุบำรุงประชาราษฏร์ด้วยหลักธรรมที่เรียกว่าราชสังคหวัตถุ 5 ประการ คือ 1. สัสสเมธะ ฉลาดสามารถในการบำรุงเกษตรกรรมและกสิกรรมเป็นต้น อันเป็นธัญญาหารให้เกิดผลผลิตที่ดี มีการส่งเสริมการเกษตรและกสิกรรมให้อุดมสมบูรณ์ อัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Buddhism: A Paradigm Shift in solving the political crisis, economic and social environment in which it is socially acceptable principles. And has been shaped by the principles. Buddhist teachings in a long time. Way of life from birth until death, mainly Thailand. The relationship between unity with Buddhists. But when the world more open in terms of economy, politics, media and culture. Why is it important to take a step into the social Thailand tide of globalization. As a result, Thailand has faced social crisis in many areas, namely : 1. The political crisis two. Economic crisis 3. Community Crisis 4. Environmental crisis Buddhism It is a new paradigm that will be the key principles contained in the Tripitaka applied to solve problems holistically. In order to make a solution possible solutions. This will contribute to the solution of the crisis. Society of Thailand next crisis that happens all to unite in a chain. The factors supporting each other When the crisis on either side of the mean. The aftermath of the crisis that would affect the system in the country, such as the current crisis. Because the effects of the economic collapse in political parties hope to have profited more privacy. More hungry people The social crisis in society when people are more selfish, more. Environmental conditions around it without care until a crisis environment. It is time for Thailand to bring social paradigm Buddhism adapted as appropriate to the situation at this time of political crisis 1. 1.1. Political issues Politicians often viewed as a political game. Clannish I long for the young girl. It is usually a morning bowl of cold dish. Most politicians tied corruption and reaping the benefits. The unity of politicians Despite the agency monitor somehow. It is not to be feared by the powerful and influential. Another problem is the politics of policy mistakes. The effect on society and the nation. The country has not had a full management responsibility. Politics also played more than necessary, which resulted in the implementation of various policies are not solving the real problems of the country. Sometimes several policy Policy, it seems to be good But not fully effective, which is caused by the inability to lead. Policy implementation as well Often it is more efficient and effective policy actions to create the most effective, but given the importance of little or no importance at all bureaucracy. It is an issue which affects exports, and many other business organizations. Working with redundant This fact, The structure of the bureaucracy has been. Well defined But it is wrong to practice again. Because people are trying to create a dominant position in the eyes of their superiors. Or even politicians, People forget that it has a mid-level civil servants and lower level with a good idea, but there was no chance to show skills due to the bureaucracy is still feudal. Mixed with the host system as long as the adults in the government did not accept these truths. Thailand remains a national problem but continued to lose 1.2. Social Impact Thailand 1) in terms of the individual. Thailand will face a confidence in the state of the country. Distrust of politicians and bureaucrats In the administration of government and national security 2) in terms of society. Overall view of Thailand will not be as trusting of foreigners as they should. Confidence in the government as a whole were down by three) in terms of the economy. Management policy of the government is a direct result of the economy. If government policy orientation error. Foreign confidence in the government. It is caused by the economic crisis certainly 4) in terms of religion. Currently it is one factor that will cause conflict between religions. Arising from the attempt to interfere with religious affairs. And try to neutralize the religious authorities in the other. That some politicians as ministers As was reported in the current 1.3. Buddhism and the political solution 1) Buddhism is the sovereignty of the three types of autocracy Olkatipati Trrmatipati by the latter. Trrmatipati ruled by a big emphasis on ethics. Leaders with Ethics (Bay good men) and public morals (Samma crash) Sutta Pitaka volume 20 page 186, volume 11 page 231 2) Buddhism emphasizes mental freedom. The first is a religion that promotes human rights. Have the right to elect leaders The right side is not causing trouble to themselves and others 3) Buddhism taught to recognize it in their practice. And solving problems with intelligence on the implementation of four Noble Truths politicians should be adapted to the situation by other 4) Buddhism taught the faith. In performing their duty to know it's the right time to time to their duties stuffed controversial political issues. The stuffed controversial political issues are one society may be from several causes, such as conflict of interest. The mismatch Ideally, of course, the lack of a political solution to this problem. In the opinion of Buddhism Politicians must have ethics for managers. The region, which has shown that the Buddha. A feature of the rulers or leaders in biblical religion appeared several together. But this would only like to say that you were shown. A commentary octo Nibat Andre Kut sq sect. Meaning that a parent or administrator must maintain civil Rat with principles known as the Royal Sangahavatthu five reasons : 1. McCluskey's wise to Methodism in the maintenance of agricultural machinery and so on. The cereal a good yield. The promotion of agriculture and the agricultural abundance.















































การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: