โครงการพัฒนาเบ็ดเสร็จลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำปิงอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ
จังหวัดลำพูน
ผลการดำเนินงาน :
1. แผนการอนุรักษ์และพัฒนาป่าไม้ โดย สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 , สำนักงานป่าไม้จังหวัดเชียงใหม่ และสำนักงานป่าไม้จังหวัดลำพูนป้องกันรักษาป่าที่มีสภาพสมบูรณ์อยู่แล้วให้คงสภาพเดิม ปรับปรุงและพัฒนาป่าเสื่อมโทรมให้กลับมาเป็นป่าที่สมบูรณ์ โดยการจัดเจ้าหน้าที่ออกลาดตระเวน พื้นที่ป่าในเขต พื้นที่โครงการฯ เพื่อป้องกันการบุกรุกแผ้วถางป่าตลอดจนปลูกเสริมป่าดูแลบำรุงรักษาสวนป่าเดิม และออกประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่เกี่ยวกับไฟป่า พร้อมทั้งติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ แจกเอกสาร เผยแพร่การควบคุมไฟป่า ให้การศึกษาแก่เด็กนักเรียนตามสถานศึกษาต่าง ๆ เพื่อให้ราษฎร ในพื้นที่โครงการฯ ได้มีความรู้ ได้เกิดความรักและหวงแหนในทรัพยากรป่าไม้ ซึ่งเป็นป่าต้นน้ำลำธาร
2. แผนงานพัฒนาที่ดิน โดย สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 6สร้างหมุดหลักฐานแผนที่โดยการสำรวจตำแหน่งด้วยดาวเทียม (GPS) ระบบ U.T.M. จำนวน 12 คู่ ครบคลุมพื้นที่ 171,710 ไร่ จัดทำแผนที่วงรอบแปลงจัดรูปที่ดิน สำรวจจำแนกดิน สภาพการให้ที่ดินและวางแผนการใช้ที่ดิน เพื่อกำหนดขอบเขตพื้นที่อยู่อาศัย พื้นที่เกษตรกรรม ของราษฎรและพื้นที่ป่าไม้ให้ถูกต้องชัดเจน
3. แผนงานการจัดสรรที่ดิน โดย หน่วยจัดที่ดินที่ 1,2,3 กรมที่ดินสำรวจรังวัดทำแผนที่ วงรอบแปลงจัดรูปที่ดิน แปลงปลูกสวนป่า และพื้นที่สาธารณประโยชน์อื่น ๆ โดยปรับแก้ไขเป็นระบบสากล (U.T.M.) รังวัดสอบสวนสิทธิการถือครองที่รังวัดปูผังการจัดที่ดินให้เป็นระบบสากล (U.T.M.) ขุดสระน้ำในพื้นที่เกษตรกรรมของเกษตรกร บุกเบิกพื้นที่เกษตรกรรมสร้างถนนสายหลักและสายซอยในพื้นที่เกษตรกรรม และวางท่อระบายน้ำตามถนนเข้าพื้นที่เกษตรกรรมของราษฎรในพื้นที่โครงการฯ เพื่อให้ราษฎรได้รับความสะดวกสบายในการขนผลผลิตทางการเกษตร
4. แผนงานพัฒนาการเกษตร โดย สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 ทดสอบและพัฒนาพืชเศรษฐกิจและระบบการปลูกพืชระบบการทำฟาร์ม ได้แก่
- ทดสอบพัฒนาข้าว พันธุ์ข้าวที่เหมาะสมสำหรับนาในที่ลุ่ม ได้แก่ ข้าวเหนียวสันป่าตอง ข้าวพันธุ์ กข. 6 ข้วพันธุ์ กข. 8 และข้าวไร่ใช้พันธุ์ ซิวแม่จัน ได้ผลผลิตเฉลี่ย 300 กก. / ไร่
- ทดสอบและพัฒนาพืชไร่ พืชที่เหมาะสม และเป็นที่ยอมรับของเกษตรกร ได้แก่ ถั่วเหลืองพันธุ์ สจ. 4 ได้ค่าผลผลิตเฉลี่ย 230 กิโลกรัม / ไร่
- ทดสอบและพัฒนาพืชสวน พืชสวนที่เกษตรสนใจมากที่สุดคือ สำไยพันธุ์ อีดอ มะม่วงแก้ว มะขามเปรี้ยว
- ทดสอบและพัฒนาพืชอุตสาหกรรม พืชที่มีศักยภาพปลูกในพื้นที่ ได้แก่ พริก มะเขือ กระทกรก หน่อไม้ฝรั่ง และยางพารา
- อบรมถ่ายทอดเทคโนโยลีการเกษตร ถ่ายทอดวิธีการปลูกถั่วพันธุ์ สจ. 4 ให้เกษตรกรจำนวน 10 ราย รวม 10ไร่ขยายผลการปลูกข้าวไร่ซิวแม่จันให้แก่เกษตรกรในพื้นที่ จำนวน 14 หมู่บ้าน รวม 50 ราย จำนวน 100 ไร่ ขยายผลการปลูกพืชสวน ในพื้นที่ 10 หมู่บ้าน 3 อำเภอ รวม 100 ไร่
5. แผนงานส่งเสริมการเกษตร โดย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่
- ดูแลปรับปรุงผลผลิตลำไยของเกษตร 3,000 ไร่
6. แผนงานด้านปศุสัตว์
- ดูแลสุขภาพสัตว์
1. ฉีดวัคซีนสัตว์
2. ถ่ายพยาธิสัตว์ เช่น สุกร วัว กระบือ
3. รักษาพยาบาลสัตว์ป่วย
7. แผนงานพัฒนาด้านการประมง ผลิตพันธุ์น้ำปล่อยตามแหล่งน้ำธรรมชาติ , แหล่งน้ำสาธารณะ จำนวน 1,600,000 ตัว และแจกจ่ายให้ราษฎรในพื้นที่โครงการฯ จำนวน 202 ราย จำนวน 404,350 ตัว เพิ่มผลผลิตการประมงในแหล่งน้ำดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารแหล่งน้ำ จำนวน 2 แห่ง ฝึกอบรมคณะกรรมการบริหารแหล่งน้ำพร้อมสนับสนุนพันธุ์ปลา ส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์น้ำ จำนวน 50 ราย บ่อพลาสติก 30 ราย บ่อดิน 20 ราย พร้อมสนับสนุนพันธุ์ปลาและอาหารปลา
8. แผนงานพัฒนาแหล่งน้ำดำเนินการจัดหาน้ำเพื่ออุปโภค – บริโภค เพื่อการเกษตรให้แก่ราษฎรในเขตพื้นที่โครงการตลอดจนการจัดหาน้ำเพื่อสนับสนุนการพัฒนาป่าบริเวณพื้นที่ต้นน้ำลำธาร ประกอบด้วย โครงการก่อสร้างแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร โครงการก่อสร้างแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค – บริโภค โครงการก่อสร้างแหล่งน้ำเพื่อการพัฒนาป่าไม้ และโครงการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า
9. แผนงานอำนวยการและบริหาร โดย กองพลพัฒนาที่ 3 ร่วมวางแผนและประสานงาน เพื่อให้ผลการดำเนินงานเป็นไปตาม วัตถุประสงค์ และเป้าหมายของแต่ละแผนงาน โดย จัดชุดปฏิบัติการร่วมดำเนินงานกับหน่วย จัดที่ดินโครงการฯ หน่วยที่1,2 และ 3 ในการรังวัดสอบสวนสิทะการถือครองที่ดินของเกษตรกรในพื้นที่โครงการฯ และจัดชุดปฏิบัติการร่วมดำเนินงานกับป่าไม้โครงการฯ ในการออกลาดตระเวนพื้นที่ป่าในโครงการฯ เพื่อลดปัญหาการตัดไม้ทำลายป่า
Total development branch River basin due to Royal damri Lamphun province.Performance: 1. แผนการอนุรักษ์และพัฒนาป่าไม้ โดย สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 , สำนักงานป่าไม้จังหวัดเชียงใหม่ และสำนักงานป่าไม้จังหวัดลำพูนป้องกันรักษาป่าที่มีสภาพสมบูรณ์อยู่แล้วให้คงสภาพเดิม ปรับปรุงและพัฒนาป่าเสื่อมโทรมให้กลับมาเป็นป่าที่สมบูรณ์ โดยการจัดเจ้าหน้าที่ออกลาดตระเวน พื้นที่ป่าในเขต พื้นที่โครงการฯ เพื่อป้องกันการบุกรุกแผ้วถางป่าตลอดจนปลูกเสริมป่าดูแลบำรุงรักษาสวนป่าเดิม และออกประชาสัมพันธ์เคลื่อนที่เกี่ยวกับไฟป่า พร้อมทั้งติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ แจกเอกสาร เผยแพร่การควบคุมไฟป่า ให้การศึกษาแก่เด็กนักเรียนตามสถานศึกษาต่าง ๆ เพื่อให้ราษฎร ในพื้นที่โครงการฯ ได้มีความรู้ ได้เกิดความรักและหวงแหนในทรัพยากรป่าไม้ ซึ่งเป็นป่าต้นน้ำลำธาร 2. แผนงานพัฒนาที่ดิน โดย สำนักงานพัฒนาที่ดินเขต 6สร้างหมุดหลักฐานแผนที่โดยการสำรวจตำแหน่งด้วยดาวเทียม (GPS) ระบบ U.T.M. จำนวน 12 คู่ ครบคลุมพื้นที่ 171,710 ไร่ จัดทำแผนที่วงรอบแปลงจัดรูปที่ดิน สำรวจจำแนกดิน สภาพการให้ที่ดินและวางแผนการใช้ที่ดิน เพื่อกำหนดขอบเขตพื้นที่อยู่อาศัย พื้นที่เกษตรกรรม ของราษฎรและพื้นที่ป่าไม้ให้ถูกต้องชัดเจน 3. แผนงานการจัดสรรที่ดิน โดย หน่วยจัดที่ดินที่ 1,2,3 กรมที่ดินสำรวจรังวัดทำแผนที่ วงรอบแปลงจัดรูปที่ดิน แปลงปลูกสวนป่า และพื้นที่สาธารณประโยชน์อื่น ๆ โดยปรับแก้ไขเป็นระบบสากล (U.T.M.) รังวัดสอบสวนสิทธิการถือครองที่รังวัดปูผังการจัดที่ดินให้เป็นระบบสากล (U.T.M.) ขุดสระน้ำในพื้นที่เกษตรกรรมของเกษตรกร บุกเบิกพื้นที่เกษตรกรรมสร้างถนนสายหลักและสายซอยในพื้นที่เกษตรกรรม และวางท่อระบายน้ำตามถนนเข้าพื้นที่เกษตรกรรมของราษฎรในพื้นที่โครงการฯ เพื่อให้ราษฎรได้รับความสะดวกสบายในการขนผลผลิตทางการเกษตร 4. แผนงานพัฒนาการเกษตร โดย สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 1 ทดสอบและพัฒนาพืชเศรษฐกิจและระบบการปลูกพืชระบบการทำฟาร์ม ได้แก่ - ทดสอบพัฒนาข้าว พันธุ์ข้าวที่เหมาะสมสำหรับนาในที่ลุ่ม ได้แก่ ข้าวเหนียวสันป่าตอง ข้าวพันธุ์ กข. 6 ข้วพันธุ์ กข. 8 และข้าวไร่ใช้พันธุ์ ซิวแม่จัน ได้ผลผลิตเฉลี่ย 300 กก. / ไร่
- ทดสอบและพัฒนาพืชไร่ พืชที่เหมาะสม และเป็นที่ยอมรับของเกษตรกร ได้แก่ ถั่วเหลืองพันธุ์ สจ. 4 ได้ค่าผลผลิตเฉลี่ย 230 กิโลกรัม / ไร่
- ทดสอบและพัฒนาพืชสวน พืชสวนที่เกษตรสนใจมากที่สุดคือ สำไยพันธุ์ อีดอ มะม่วงแก้ว มะขามเปรี้ยว
- ทดสอบและพัฒนาพืชอุตสาหกรรม พืชที่มีศักยภาพปลูกในพื้นที่ ได้แก่ พริก มะเขือ กระทกรก หน่อไม้ฝรั่ง และยางพารา
- อบรมถ่ายทอดเทคโนโยลีการเกษตร ถ่ายทอดวิธีการปลูกถั่วพันธุ์ สจ. 4 ให้เกษตรกรจำนวน 10 ราย รวม 10ไร่ขยายผลการปลูกข้าวไร่ซิวแม่จันให้แก่เกษตรกรในพื้นที่ จำนวน 14 หมู่บ้าน รวม 50 ราย จำนวน 100 ไร่ ขยายผลการปลูกพืชสวน ในพื้นที่ 10 หมู่บ้าน 3 อำเภอ รวม 100 ไร่
5. แผนงานส่งเสริมการเกษตร โดย สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่
- ดูแลปรับปรุงผลผลิตลำไยของเกษตร 3,000 ไร่
6. แผนงานด้านปศุสัตว์
- ดูแลสุขภาพสัตว์
1. ฉีดวัคซีนสัตว์
2. ถ่ายพยาธิสัตว์ เช่น สุกร วัว กระบือ
3. รักษาพยาบาลสัตว์ป่วย
7. แผนงานพัฒนาด้านการประมง ผลิตพันธุ์น้ำปล่อยตามแหล่งน้ำธรรมชาติ , แหล่งน้ำสาธารณะ จำนวน 1,600,000 ตัว และแจกจ่ายให้ราษฎรในพื้นที่โครงการฯ จำนวน 202 ราย จำนวน 404,350 ตัว เพิ่มผลผลิตการประมงในแหล่งน้ำดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารแหล่งน้ำ จำนวน 2 แห่ง ฝึกอบรมคณะกรรมการบริหารแหล่งน้ำพร้อมสนับสนุนพันธุ์ปลา ส่งเสริมการเลี้ยงสัตว์น้ำ จำนวน 50 ราย บ่อพลาสติก 30 ราย บ่อดิน 20 ราย พร้อมสนับสนุนพันธุ์ปลาและอาหารปลา
8. แผนงานพัฒนาแหล่งน้ำดำเนินการจัดหาน้ำเพื่ออุปโภค – บริโภค เพื่อการเกษตรให้แก่ราษฎรในเขตพื้นที่โครงการตลอดจนการจัดหาน้ำเพื่อสนับสนุนการพัฒนาป่าบริเวณพื้นที่ต้นน้ำลำธาร ประกอบด้วย โครงการก่อสร้างแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร โครงการก่อสร้างแหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค – บริโภค โครงการก่อสร้างแหล่งน้ำเพื่อการพัฒนาป่าไม้ และโครงการสูบน้ำด้วยไฟฟ้า
9. แผนงานอำนวยการและบริหาร โดย กองพลพัฒนาที่ 3 ร่วมวางแผนและประสานงาน เพื่อให้ผลการดำเนินงานเป็นไปตาม วัตถุประสงค์ และเป้าหมายของแต่ละแผนงาน โดย จัดชุดปฏิบัติการร่วมดำเนินงานกับหน่วย จัดที่ดินโครงการฯ หน่วยที่1,2 และ 3 ในการรังวัดสอบสวนสิทะการถือครองที่ดินของเกษตรกรในพื้นที่โครงการฯ และจัดชุดปฏิบัติการร่วมดำเนินงานกับป่าไม้โครงการฯ ในการออกลาดตระเวนพื้นที่ป่าในโครงการฯ เพื่อลดปัญหาการตัดไม้ทำลายป่า
การแปล กรุณารอสักครู่..
![](//thimg.ilovetranslation.com/pic/loading_3.gif?v=b9814dd30c1d7c59_8619)