ลักษณะของรูปแบบที่ดีรูปแบบที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้1. รูปแบบควรประกอบด้ว การแปล - ลักษณะของรูปแบบที่ดีรูปแบบที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้1. รูปแบบควรประกอบด้ว อังกฤษ วิธีการพูด

ลักษณะของรูปแบบที่ดีรูปแบบที่ดีควรม

ลักษณะของรูปแบบที่ดี
รูปแบบที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้
1. รูปแบบควรประกอบด้วยความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างระหว่างตัวแปรมากกว่าความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงธรรมดา อย่างไรก็ตามความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงก็มีประโยชน์ในช่วงของการพัฒนารูปแบบ
2. รูปแบบควรนำไปสู่การทำนายผลที่ตามมา ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์โดยเมื่อทดสอบรูปแบบแล้วถ้าปรากฏว่าไม่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ รูปแบบนั้นต้องถูกยกเลิก
3. รูปแบบควรอธิบายโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงเหตุผลของเรื่องที่ศึกษาได้อย่างชัดเจน
4. รูปแบบควรเป็นเครื่องมือในการสร้างความคิดรวบยอด (Concept) ใหม่ และการสร้างความสัมพันธ์
ของตัวแปรใหม่ ซึ่งจะเป็นการเพิ่มองค์ความรู้ (Body of Knowledge) ในเรื่องที่กำลังศึกษา
5. รูปแบบในเรื่องใด จะเป็นเช่นไรขึ้นอยู่กับกรอบของทฤษฎีในเรื่องนั้น ๆ
การพัฒนารูปแบบ
ได้มีผู้กล่าวถึงขั้นตอนการพัฒนารูปแบบดังนี้วิลเลอร์ (Willer. 1986 : 83) กล่าวว่าการพัฒนารูปแบบโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ 1)การสร้าง (Construct) รูปแบบ และ 2)การหาความเที่ยงตรง (Validity) ของรูปแบบ
บุญชม ศรีสะอาด (Online)ได้กล่าวถึงกระบวนการวิจัยการพัฒนารูปแบบโดยได้แบ่งออกเป็น 2
ขั้นตอน ได้แก่ 1)การสร้างหรือพัฒนารูปแบบ และ 2)การทดสอบความเที่ยงตรงของรูปแบบ
บุญส่ง หาญพานิช (2546 : 112 - 118) ได้ทำการวิจัยเรื่อง “การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการความรู้ใน
สถาบันอุดมศึกษาไทย” โดยดำเนินการวิจัย 3 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การศึกษาวิเคราะห์ และสังเคราะห์แนวความคิดเกี่ยวกับธรรมชาติความรู้ องค์ความรู้ และการบริหารจัดการศึกษาของไทย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารจัดการความรู้ กระบวนการจัดการความรู้ โครงสร้างพื้นฐานของการบริหารจัดการความรู้ โดยศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์อธิการบดี และการสอบถามผู้บริหารระดับผู้อำนวยการขึ้นไป 2) การจัดทำร่างรูปแบบการบริหารการจัดการความรู้ในสถาบันอุดมศึกษาไทย โดยนำผลสรุปจากการวิเคราะห์สาระจากการสัมภาษณ์อธิการบดีและจากการวิเคราะห์แบบสอบถาม นำมาสรุปเป็นข้อค้นพบเพื่อใช้เป็นฐานในการสร้างร่างรูปแบบการบริหารจัดการความรู้ในสถาบันอุดมศึกษาไทยและ 3) การตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบการบริหารจัดการความรู้ ในสถาบันอุดมศึกษาไทยโดยผู้ทรงคุณวุฒิ หลังจากนั้น จึงปรับปรุงแก้ไขรูปแบบการบริหารจัดการความรู้ตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิ
วิสุทธิ์ วิจิตรพัชราภรณ์ (2547 : 73-84) ได้ทำการวิจัยเรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาแบบ
กระจายอำนาจสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามแนวทางพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ” โดยแบ่งการวิจัยออกเป็น 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การกำหนดกรอบความคิดในการวิจัย โดยศึกษาเอกสารและแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) การศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการศึกษาแบบกระจายอำนาจในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดยสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาต้นแบบการปฏิรูปการเรียนรู้ ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของสถานศึกษาและสำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) การสร้างรูปแบบการจัดการศึกษาแบบกระจายอำนาจในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 4) การศึกษาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบโดยการสัมมนาผู้ทรงคุณวุฒิ และ 5) การปรับปรุงและนำเสนอรูปแบบการจัดการศึกษาแบบกระจายอำนาจในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ (2547 : 171) ได้ทำวิจัยเรื่อง “การพัฒนารูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะผู้นำของคณบดี” โดยดำเนินการวิจัยเป็น 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การกำหนดกรอบแนวความคิดในการวิจัย โดยศึกษาเอกสารแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) การศึกษาวิเคราะห์และสังเคราะห์แนวทฤษฏีงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ 3) การศึกษาและประมวลความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ 4) การพัฒนารูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผู้นำของคณบดี 5) การตรวจสอบและการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบจากผู้ทรงคุณวุฒิ และ 6) การปรับปรุงรูปแบบและนำเสนอรูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผู้นำของคณบดี
กฤษณผล จันทร์พรหม (2548 : 88) ได้ทำวิจัยเรื่อง “การศึกษารูปแบบมหาวิทยาลัยเสมือนจริงที่
เหมาะสมสำหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย” โดยดำเนินการวิจัยเป็น 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การศึกษา
วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบมหาวิทยาลัยเสมือนจริง โดยศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี จากเอกสาร ตำรา
บทความวิจัย ฐานข้อมูล อินเทอร์เน็ตออนไลน์ทั้งในและต่างประเทศ และความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มี
ประสบการณ์เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยเสมือนจริง 2) การสังเคราะห์รูปแบบ องค์ประกอบ โครงสร้างของรูปแบบ
มหาวิทยาลัยเสมือนจริง โดยนำข้อมูลจากขั้นตอนที่ 1 มาสร้างเป็นรูปแบบมหาวิทยาลัยเสมือนจริง 3)การพัฒนารูปแบบมหาวิทยาลัยเสมือนจริง โดยใช้กระบวนการวิจัยแบบเดลฟายเพื่อรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ 10 คน จำนวน 3 รอบ และ 4)การทดสอบความเหมาะสมของรูปแบบมหาวิทยาลัยเสมือนจริง
สำหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยที่พัฒนาขึ้นในขั้นตอนที่ 3 มาจัดทำเป็นแบบสอบถามเพื่อนำไปสำรวจ
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถาบัน อุดมศึกษาเกี่ยวกับความเหมาะสมของรูปแบบ หลังจากนั้นจึงกำหนดรูปแบบมหาวิทยาลัยเสมือนจริงที่เหมาะสมสำหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย
ชนกนารถ ชื่นเชย (2550 : 72 - 79) ได้ทำการวิจัยเรื่อง “รูปแบบการจัดการศึกษาต่อเนื่องใน
สถาบันอุดมศึกษาเอกชน” โดยดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1)การวิเคราะห์และสังเคราะห์รูปแบบการศึกษาต่อเนื่องสำหรับสถาบันอุดมศึกษาเอกชน โดยศึกษาวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) การนำข้อมูลจากการศึกษามาวิเคราะห์และสังเคราะห์ เพื่อพัฒนาเป็นกรอบของรูปแบบในการจัดการศึกษาต่อเนื่องของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 3)การศึกษาความเหมาะสมและเป็นไปได้ โดยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาต่อเนื่องในสถาบันอุดมศึกษา จำนวน 19 คน โดยใช้เทคนิคการวิจัยแบบเดลฟาย และ 4) การตรวจสอบประสิทธิภาพและความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการศึกษาต่อเนื่องในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่พัฒนาขึ้นในขั้นตอนที่ 3 มาจัดทำเป็นแบบสอบถาม เพื่อนำไปใช้สำรวจความคิดเห็นของผู้บริหาร สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเกี่ยวกับความเหมาะสมขององค์ประกอบของรูปแบบการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลังจากนั้นจึงกำหนดรูปแบบการจัดการศึกษาต่อเนื่องจากองค์ประกอบที่พัฒนาขึ้น
พรจันทร์ พรศ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Characteristics of a good format
good format should look like this:
1. Format should consist of structural relationships between variables, rather than a simple linear relationship. However, the linear relationship, it can be useful during development of model
2. Format should lead to the predicted consequences Which can be verified by a complex data model has been tested by evidence if it appears that the data is not consistent with the evidence? It must be clear
3. Format should describe a complex relationship structure of reason subject study clearly
4. Format should be a tool to generate ideas, gathering new and popular (Concept), the Association
.A new variable, which is an increase of knowledge (Body of Knowledge) in the subject being studied
5. The format will be like depends on the frame of theory on the story

format development.Did someone mention development process is as follows:-Fuller (Willer. 1986: 83), said development in General is divided into 2 steps: 1) creation (Construct) a and 2) for precision (Validity) of the form
?Juicy watch SI SA (Online) have discussed the process of research, development equipped with divided into 2
step: 1) the creation or development of models and 2) precision tests of the format
boon Han sends prasanpanich (2546 (2003): 112-118) is researching the title "development of knowledge management model in
.Thai higher education institutions "by performing research, 3 steps are: 1) the analytical study and synthesis of concepts about the nature of knowledge and knowledge management study of Thai. The knowledge management process. The infrastructure of the knowledge management by studying documents and related research. Interview of the President and Executive Director of the inquiry up to 2) By bringing the summary analysis of the essence of the interview the President and from the analysis of the questionnaires. Bring a summary of findings to be used as a base to create a body of knowledge management model in Thai higher education institutions and 3) The Thai Institute of higher education experts Then modified model of knowledge management based on the recommendations of experts
.Wisut vijitt patcharaporn phon (2547 (2004): 73-84) is researching the title "development of educational management model, the basic education decentralized
according to the guidelines of the National Education Act of 1993.2542 (1999) "by dividing the research into 5 steps are: 1) the outline of ideas in the research by studying the conceptual documents and relevant research and theory 2) Consult the documentation relating to the operation of the school and a survey of basic education 3 executives) to create an empowering education management in basic education around 4) And 5) and presented a study on management model of decentralized basic education in
.Siri is completely allocated Hiran (2547 (2004): 171) have done research about "developing leadership attributes development model of the Dean" by enrolling in 6 steps: 1) in the framework of the concept in the research by studying the conceptual document. Theory and related research, 2) 3) study and process the opinions of 4 Councillors) to develop a model of developing leadership attributes of Dean 5) to review and evaluate the suitability and feasibility of the format from Councillors and 6) Krison results Monday prom (2548 (2005): 88) has researched the title "education Virtual University format
suitable for higher education institutions in the country, Thai" by enrolling in 4 steps: 1) education
.Analysis of information about the format of a Virtual University by studying the conceptual principles. The theory from textbooks
database research article. The Internet online, both in Thailand and abroad, comments of experts with
.Experience with the Virtual University 2) synthesis of structural element of the format
.Virtual University, taking data from step 1, create a Virtual University format 3) development of a Virtual University through a research process de lafai to gather information and comments from experts, 10 people. Round 3 and 4) to test the suitability of a Virtual University
.For higher education institutions in the country, Thai that developed in step 3 to make up a questionnaire to survey
.Comment of Institute of management Education about the suitability of the format. Then define the appropriate virtual University for higher education institutions in the country, Thai
ethnic na cars. Enjoy Chuck (2550 (2007): 72-79) is researching the title "model of continuous education handled in
.Private higher education institutions "by performing the following steps: research, 4, 1) analysis and synthesis model of continuing education for private higher education institutions by an analytical study of the documents and the related research, 2) To develop a framework of model in management of continuing education of private higher education institutions. 3) study on the suitability and possible. By specialist continuing education in higher education institutions of 19 people. And 4) to check the performance and suitability of continuing education management pattern in private higher education institutions that developed in step 3 to make up a questionnaire to survey of executives. Then set the format to manage continuing education from elements developed
.Benediction blessing Monday to Fri
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ลักษณะของรูปแบบที่ดี
รูปแบบที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้
1. รูปแบบควรประกอบด้วยความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างระหว่างตัวแปรมากกว่าความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงธรรมดา อย่างไรก็ตามความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงก็มีประโยชน์ในช่วงของการพัฒนารูปแบบ
2. รูปแบบควรนำไปสู่การทำนายผลที่ตามมา ซึ่งสามารถตรวจสอบได้ด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์โดยเมื่อทดสอบรูปแบบแล้วถ้าปรากฏว่าไม่สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ รูปแบบนั้นต้องถูกยกเลิก
3. รูปแบบควรอธิบายโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงเหตุผลของเรื่องที่ศึกษาได้อย่างชัดเจน
4. รูปแบบควรเป็นเครื่องมือในการสร้างความคิดรวบยอด (Concept) ใหม่ และการสร้างความสัมพันธ์
ของตัวแปรใหม่ ซึ่งจะเป็นการเพิ่มองค์ความรู้ (Body of Knowledge) ในเรื่องที่กำลังศึกษา
5. รูปแบบในเรื่องใด จะเป็นเช่นไรขึ้นอยู่กับกรอบของทฤษฎีในเรื่องนั้น ๆ
การพัฒนารูปแบบ
ได้มีผู้กล่าวถึงขั้นตอนการพัฒนารูปแบบดังนี้วิลเลอร์ (Willer. 1986 : 83) กล่าวว่าการพัฒนารูปแบบโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ 1)การสร้าง (Construct) รูปแบบ และ 2)การหาความเที่ยงตรง (Validity) ของรูปแบบ
บุญชม ศรีสะอาด (Online)ได้กล่าวถึงกระบวนการวิจัยการพัฒนารูปแบบโดยได้แบ่งออกเป็น 2
ขั้นตอน ได้แก่ 1)การสร้างหรือพัฒนารูปแบบ และ 2)การทดสอบความเที่ยงตรงของรูปแบบ
บุญส่ง หาญพานิช (2546 : 112 - 118) ได้ทำการวิจัยเรื่อง “การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการความรู้ใน
สถาบันอุดมศึกษาไทย” โดยดำเนินการวิจัย 3 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การศึกษาวิเคราะห์ และสังเคราะห์แนวความคิดเกี่ยวกับธรรมชาติความรู้ องค์ความรู้ และการบริหารจัดการศึกษาของไทย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารจัดการความรู้ กระบวนการจัดการความรู้ โครงสร้างพื้นฐานของการบริหารจัดการความรู้ โดยศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์อธิการบดี และการสอบถามผู้บริหารระดับผู้อำนวยการขึ้นไป 2) การจัดทำร่างรูปแบบการบริหารการจัดการความรู้ในสถาบันอุดมศึกษาไทย โดยนำผลสรุปจากการวิเคราะห์สาระจากการสัมภาษณ์อธิการบดีและจากการวิเคราะห์แบบสอบถาม นำมาสรุปเป็นข้อค้นพบเพื่อใช้เป็นฐานในการสร้างร่างรูปแบบการบริหารจัดการความรู้ในสถาบันอุดมศึกษาไทยและ 3) การตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบการบริหารจัดการความรู้ ในสถาบันอุดมศึกษาไทยโดยผู้ทรงคุณวุฒิ หลังจากนั้น จึงปรับปรุงแก้ไขรูปแบบการบริหารจัดการความรู้ตามคำแนะนำของผู้ทรงคุณวุฒิ
วิสุทธิ์ วิจิตรพัชราภรณ์ (2547 : 73-84) ได้ทำการวิจัยเรื่อง “การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาแบบ
กระจายอำนาจสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามแนวทางพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ” โดยแบ่งการวิจัยออกเป็น 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การกำหนดกรอบความคิดในการวิจัย โดยศึกษาเอกสารและแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) การศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการศึกษาแบบกระจายอำนาจในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดยสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาต้นแบบการปฏิรูปการเรียนรู้ ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานของสถานศึกษาและสำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) การสร้างรูปแบบการจัดการศึกษาแบบกระจายอำนาจในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 4) การศึกษาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบโดยการสัมมนาผู้ทรงคุณวุฒิ และ 5) การปรับปรุงและนำเสนอรูปแบบการจัดการศึกษาแบบกระจายอำนาจในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ (2547 : 171) ได้ทำวิจัยเรื่อง “การพัฒนารูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะผู้นำของคณบดี” โดยดำเนินการวิจัยเป็น 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การกำหนดกรอบแนวความคิดในการวิจัย โดยศึกษาเอกสารแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) การศึกษาวิเคราะห์และสังเคราะห์แนวทฤษฏีงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ 3) การศึกษาและประมวลความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ 4) การพัฒนารูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผู้นำของคณบดี 5) การตรวจสอบและการประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบจากผู้ทรงคุณวุฒิ และ 6) การปรับปรุงรูปแบบและนำเสนอรูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผู้นำของคณบดี
กฤษณผล จันทร์พรหม (2548 : 88) ได้ทำวิจัยเรื่อง “การศึกษารูปแบบมหาวิทยาลัยเสมือนจริงที่
เหมาะสมสำหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย” โดยดำเนินการวิจัยเป็น 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การศึกษา
วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับรูปแบบมหาวิทยาลัยเสมือนจริง โดยศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎี จากเอกสาร ตำรา
บทความวิจัย ฐานข้อมูล อินเทอร์เน็ตออนไลน์ทั้งในและต่างประเทศ และความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มี
ประสบการณ์เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยเสมือนจริง 2) การสังเคราะห์รูปแบบ องค์ประกอบ โครงสร้างของรูปแบบ
มหาวิทยาลัยเสมือนจริง โดยนำข้อมูลจากขั้นตอนที่ 1 มาสร้างเป็นรูปแบบมหาวิทยาลัยเสมือนจริง 3)การพัฒนารูปแบบมหาวิทยาลัยเสมือนจริง โดยใช้กระบวนการวิจัยแบบเดลฟายเพื่อรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ 10 คน จำนวน 3 รอบ และ 4)การทดสอบความเหมาะสมของรูปแบบมหาวิทยาลัยเสมือนจริง
สำหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยที่พัฒนาขึ้นในขั้นตอนที่ 3 มาจัดทำเป็นแบบสอบถามเพื่อนำไปสำรวจ
ความคิดเห็นของผู้บริหารสถาบัน อุดมศึกษาเกี่ยวกับความเหมาะสมของรูปแบบ หลังจากนั้นจึงกำหนดรูปแบบมหาวิทยาลัยเสมือนจริงที่เหมาะสมสำหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย
ชนกนารถ ชื่นเชย (2550 : 72 - 79) ได้ทำการวิจัยเรื่อง “รูปแบบการจัดการศึกษาต่อเนื่องใน
สถาบันอุดมศึกษาเอกชน” โดยดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1)การวิเคราะห์และสังเคราะห์รูปแบบการศึกษาต่อเนื่องสำหรับสถาบันอุดมศึกษาเอกชน โดยศึกษาวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2) การนำข้อมูลจากการศึกษามาวิเคราะห์และสังเคราะห์ เพื่อพัฒนาเป็นกรอบของรูปแบบในการจัดการศึกษาต่อเนื่องของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 3)การศึกษาความเหมาะสมและเป็นไปได้ โดยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาต่อเนื่องในสถาบันอุดมศึกษา จำนวน 19 คน โดยใช้เทคนิคการวิจัยแบบเดลฟาย และ 4) การตรวจสอบประสิทธิภาพและความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการศึกษาต่อเนื่องในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่พัฒนาขึ้นในขั้นตอนที่ 3 มาจัดทำเป็นแบบสอบถาม เพื่อนำไปใช้สำรวจความคิดเห็นของผู้บริหาร สถาบันอุดมศึกษาเอกชนเกี่ยวกับความเหมาะสมขององค์ประกอบของรูปแบบการจัดการศึกษาต่อเนื่อง หลังจากนั้นจึงกำหนดรูปแบบการจัดการศึกษาต่อเนื่องจากองค์ประกอบที่พัฒนาขึ้น
พรจันทร์ พรศ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The characteristics of good style
good style should look as follows:
1.The form should contain structural relationship between variables more than ordinary linear relationship However, a linear relationship is useful in a range of model development 2
.Prediction model should lead to consequences. Which can be checked with the empirical data the test model and then if it appears that not consistent with empirical data. The model must be cancel
3.The form should explain the causal structure of the 4, clearly
. The form should be the tools to create new concepts (Concept) and establish a
.Of the new variables, which will increase the body of knowledge (Body of Knowledge) in studying
5. The model in any subject. What will be based on the frame of theory about it.

. Development modelHave those mentioned steps development as follows: Wheeler (Willer. 1986: 83) said that the development is basically divided into 2 steps. The 1) building (Construct) model and 2) finding accuracy (Validity) of model
.Merit to visit Sri clean (Online), discusses the research process developed by divided into 2
steps to 1) make or model development. 2) and validation of a model
boonsong brave panit (2546:112 - 118) research. "The development of knowledge management in
.Thai universities "by conducting research 3 steps 1) research. And the synthesis of concept about the nature of knowledge, knowledge management and ศึกษาของไทย.Knowledge management process. Infrastructure of knowledge management. By studying documents and related research, interview of president. Inquiry and executive director to 2).The results of content analysis and interview the president from the analysis of the questionnaires. The conclusion is the findings to use as a base to build the body knowledge management model in Institutions of higher education development and 3).In Thai universities by experts, then improve the knowledge management models on the advice of experts!Wisut splendid PATCHARAPORN (2547: 73-84) research. "The development of education management
decentralization of basic education The National Education Act.2542 "by separated into 5 steps 1) set the framework in research. By studying documents and concepts, theories and research relevant 2).Study of the documents associated with the operation of the institution and the survey of the basic school administrators 3) model of decentralized management studies in basic education 4).And the 5) improvement and presents the model of educational management decentralized in basic education
.Complete sophonwattanakul (2547:171) doing research on "The development of leadership characteristics of Dean" by conducting research into 6 steps 1) defining concept in research. By studying documents, concepts, theories and research related 2).3) study and processing the opinions of experts 4) the development of the leadership of Dean 5) monitoring and assessment of the suitability and the possibility of the form from the experts. And the 6).กฤษณ effect Monday Prom (2548: 88) doing research on "The study of Virtual University
for research in higher education institutions." โดยดำ hill is 4 steps. 1) a
.Analysis on model of Virtual University by studying the principle, theory, from the textbooks
research articles, online database, Internet, both at home and abroad. And the opinions of experts with
.The experience about the Virtual University 2) synthesis of elements, structure of model
.Virtual university by the data from 1 steps to build a model of Virtual University 3) the development of Virtual University Using the Delphi process to gather information from expert opinion 10 people.3 around and 4) testing the suitability of the model of a virtual university
.For institutions of higher education in the developed 3 steps to prepare to bring to the questionnaire survey
.Opinions of the Institute. Higher education about the suitability of the model. Then, form a virtual university for higher education in Thailand
collision nardtida rustic (2550: refreshing.72 - 79), the research on "the form of continuing education management in
.Private higher education institutions. "By conducting research 4 steps are as follows 1) analysis and synthetic forms of continuing education for private higher education institutions. By analyzing related documents and research 2).To develop a framework of the model in continuing education management of private higher education institutions. 3) the feasibility study and possible. By a group of experts, continuing education in Institutions of higher education, the number of 19 people.4) and monitoring performance and suitability of the model for continuing education management in private higher education institutions developed in step 3 to prepare a questionnaire. To apply the survey of executives.After that, the management model study since the element developed
.The moon พรศ blessing.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: