วัดไร่หิน หากใครไปเที่ยวภาคเหนือ และมีโอกาสพูดคุยกับผู้เฒ่าผู้แก่ ป่ออ การแปล - วัดไร่หิน หากใครไปเที่ยวภาคเหนือ และมีโอกาสพูดคุยกับผู้เฒ่าผู้แก่ ป่ออ อังกฤษ วิธีการพูด

วัดไร่หิน หากใครไปเที่ยวภาคเหนือ แล

วัดไร่หิน
หากใครไปเที่ยวภาคเหนือ และมีโอกาสพูดคุยกับผู้เฒ่าผู้แก่ ป่ออุ้ย แม่อุ้ย หรือมีโอกาสได้สนทนากับพระตามวัด ที่มีปูชนียสถานอันเก่าแก่ ก็อาจได้ยินการพูดถึงพระเจ้าเม็งราย พญาเม็งราย หรือ พระเจ้ามังรายพระองค์ต่างๆ ที่เป็นผู้สร้างวัดนั้นๆหรือสถานที่นั่นๆอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งแท้จริงแล้ว ราชวงศ์เม็งรายถือเป็นปฐมกษัตริย์แห่งล้านนาที่มีกษัตริย์ปกครองมาถึง 17 พระองค์ โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนา ราชวงศ์มังราย ถือเป็นประวัติศาสตร์หน้าหนึ่งของอาณาจักรล้านนา มีพระเจ้ามังรายพระองค์ต่างๆปกครองมานานถึงร้อยกว่าปี (พ.ศ. 1938 – พ.ศ. 2101) และในราชวงศ์นี้ก็ได้ก่อให้เกิดเรื่องราวทางประวัติศาสตร์มากมายหลายอย่างที่ปรากฏบันทึกทางประวัติศาสตร์ของวัดสำคัญต่างๆหลายแห่งทางภาคเหนือ สิ้นสุดของราชวงศ์เม็งรายก็ตอนที่ดินแดนล้านนา ซึ่งประกอบด้วยเมืองน้อยใหญ่ เช่นเขลางนคร(ลำปาง) หริภูญไชย(ลำพูน) และเมืองอื่นๆ ได้ตกเป็นเมืองขึ้นในสมัยของพระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์ของพม่า มานานถึง 200 ปี และได้รับการกอบกู้ในสมัยพระเจ้าตากสินมหาราชและสมัยของพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โดยมีพระยากาวีละและพระยาจ่าบ้าน จากเมือง เชียงใหม่ช่วยกันขับไล่พม่าจนสำเร็จ และก็น่าเสียดายที่เรื่องราวเหล่านี้เด็กๆนักเรียนทางภาคเหนือไม่มีโอกาสรับรู้เรื่องราวอันเป็นต้นกำเนิดของบรรพบุรุษของตนเอง เพราะไม่ได้บรรจุไว้ในหลักสูตร เหมือนกับว่าเกิดมาแล้วก็ไม่รู้จัก ปู่ย่า ตาทวด ของตนเอง ขาดการเชื่อมโยง ทำให้สังคมเราสนใจแต่ปัจจุบันกับอนาคต และหันหลังให้กับอดีตจนน่าเป็นห่วง ทั้งที่ประวัติศาสตร์นั้นจะช่วยให้เราก้าวสู่อนาคตได้อย่างมั่นคงและมีสติ ที่ผ่านมาเราจึงลืมกำพืด ลืมรากเหง้าดั่งเดิมที่ควรซึมซับและถ่ายทอดสู่รุ่นต่อๆมา จึงไม่แปลกใจอะไรที่ปูชนียสถานหลายแห่งถูกลบหลู่ และถูกทำลายไปไม่น้อย ประวัติศาสตร์ล้านนาได้เขียนไว้หลายหน้า แต่ย่อสรุปมาให้เหลือไม่กี่บรรทัด เพื่อให้เห็นว่าในยุคที่ล้านนาอยู่ภายใต้การ ปกครองของพม่ามานานถึง 200 ปีนั้น น่าจะพูดได้ว่า นานจนคนสองทั้งประเทศนี้เกือบจะลืมความแตกต่างในความเป็น ประเทศซึ่งกันและกัน เหมือนกับว่าเมืองล้านนากับพม่านั้นเป็นประเทศเดียวกันด้วยซ้ำไป
ล้านนาตกเป็นเมืองขึ้นของพม่ามานานถึง 200 ปี คิดไปก็เหมือนกับว่านานทีเดียว แต่โดยข้อเท็จจริงแล้วพม่าจะควบคุมเฉพาะเมืองหลวงหรือนครพิงค์เท่านั้น ส่วนเมืองที่เป็นฐานะเมืองบริวารของเชียงใหม่ ก็ยังดำเนินชีวิตไปตามปกติแทบไม่มีผลกระทบอะไรกับการปกครองของพม่า สายสัมพันธ์ของพม่ากับชาวล้านนา ดูเหมือนจะเป็นลักษณะประเทศเพื่อนบ้านที่รู้จักมักคุ้นกันเป็นอย่างดี มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม มีการไปมาหาสู่กัน ไม่มีคำว่าใครเป็นเมืองขึ้นของใคร ซึ่งดูเป็นเรื่องน่าแปลก หรือว่าระยะเวลาถึง 200 ปีนั้น มันเนิ่นนานจนลืมความแตกต่างในเรื่องคำว่าประเทศ หรือว่าสมัยนั้นเมื่อใครตกเป็นเมืองขึ้นกับใครแล้วมันไม่มีเหตุการณ์รุนแรงถึงขั้นอาฆาต เป็นศัตรูกันเหมือนอย่างที่คนยุคนี้เข้าใจกัน หรืออาจเป็นเพราะประเทศทั้งสองนับถือศาสนาพุทธเหมือนกัน จะอะไรก็แล้วแต่ก็เป็นข้อสังเกตุที่ยังหาคำตอบให้กับตนเองไม่ได้ แต่สิ่งที่เป็นหลักฐานแสดงถึงความสัมพันธ์อันดีต่อกันนั้นสามารถมองผ่านจากงานด้านศิลปวัตถุ หรือศิลปกรรมที่ปรากฏตามวัดสำคัญๆของภาคเหนือ ซึ่งเป็นศิลปะแบบผสมผสานระหว่างศิลปะล้านนาและศิลปะแบบพม่า บางวัดในอดีตมีการนำช่างฝีมือจากพม่ามาร่วมสร้าง บางวัดก็ได้รับการอุปถัมภ์ค้ำชูจากราชวงค์พม่า ซึ่งหากจะพูดว่าศิลปะล้านนานั้นได้รับอิทธิพลมาจากพม่าก็คงจะไม่ผิดนัก เขียนมาถึงตรงนี้ก็อดที่จะนึกถึงน้ำพริกอ่องและขนมจีนน้ำเงี้ยวไม่ได้ว่า มีถิ่นกำเนิดมาจากพม่า ซึ่งปัจจุบันชาวพม่าจะปรุงอาหารด้วยมะเขือส้ม(มะเขือเทศลูกเล็ก)เป็นอาหารหลัก นี่เป็นตัวอย่างที่มีการถ่ายทอดวัฒนธรรมระหว่างกัน
วัดทางภาคเหนือที่มีเจดีย์ทรงพม่าอยู่หลายวัด ที่ลำปางมีบางวัดสร้างโบสถ์วิหารเป็นแบบพม่า มีพระพม่าเป็นเจ้าอาวาสซึ่งได้รับการแต่งตั้งมาจากประเทศพม่าโดยตรง สืบต่อกันมาจนถึงทุกวันนี้ พระทางภาคเหนือหลายวัด กับพระพม่าจากเมืองเชียงตุง ปัจจุบันยังมีความสัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้น และหากจะย้อน ประวัติศาสตร์ก็จะเห็นว่าดินแดนล้านนาในอดีตนั้นประกอบด้วยดินแดนของ 3 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ดินแดนทางภาคเหนือของไทย เมืองเชียงตุงของประเทศพม่า และดินแดนสิบสองปันนา (ประเทศจีนตอนล่าง) ซึ่งปัจจุบันอยู่คนละประเทศแต่ในยุคอดีตนั้นถือเป็นประเทศเดียวกัน มีประเพณีและวัฒนธรรมที่ดูคล้ายกันและมีความสัมพันธ์ต่อกันมาช้านาน
วัดเก่าแก่ของภาคเหนือถ้าสังเกตุให้ดีก็จะเห็นงานศิลปกรรม ของชาติต่างๆแฝงอยู่ เช่นลวดลายศิลปะแบบพม่า ภาพเขียนแบบจีน สิ่งเหล่านี้แสดงถึงความสัมพันธ์ของคนในยุคนั้นๆ และยิ่งมีโอกาสไปวัดที่มีตำนานทางประวัติศาสตร์มายาวนานก็จะพบเห็นอยู่มากมาย แม้วัดที่สร้างใหม่ในปัจจุบันก็ยังมีการนำช่างฝีมือจากประเทศเหล่านี้มาสรรสร้างงานศิลปะชั้นยอดให้ปรากฏตามวัดใหม่ๆอยู่หลายแห่ง (จะมีภาพมาให้ดูในโอกาสต่อไป)
นักท่องเที่ยวคนไทยส่วนใหญ่ไปเที่ยวตามวัดทางภาคเหนือ ส่วนมากที่ไปเที่ยวก็ด้วยแรงศรัทธาที่มีต่อวัดหรือสถานที่นั้นๆแต่ไม่มีโอกาสรับรู้สิ่งที่เป็นอดีตที่น่าสนใจ ทั้งนี้ก็เพราะไม่มีใครมาอธิบายให้ฟัง และหนังสือประวัติของวัดก็น้อยคนนักที่จะ หาซื้อมาอ่าน รับรู้กันแต่เพียงว่าเป็นวัดที่มีอายุมานานหลายร้อยปี และหลายชั่วอายุคน ผิดกับนักท่องเที่ยวต่างชาติที่มักมีคู่มือท่องเที่ยวและข้อมูลรายละเอียดของสถานที่นั้นอย่างพร้อมมูล คือได้ท่องเที่ยวและได้ศึกษาหาความรู้ไปในตัว
การท่องเที่ยวให้เกิดประโยชน์อย่างสมบูรณ์ก็ควรจะรู้เรื่องราว ที่มาที่ไปของสถานที่นั้นๆบ้าง เป็นความรู้ และเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดความรักความหวงแหน คงไม่ต้องถึงขนาดไปศึกษากันมากมายลึกซึ้งอะไรมากมายนัก ขอแต่เพียงรู้ เข้าใจสาระสำคัญในบางเรื่องของสถานที่นั้นๆก็น่าจะพอเพียงในฐานะนักท่องเที่ยวคนหนึ่ง สถานที่ท่องเที่ยวตามวัดต่างๆทางภาคเหนือมีหลายแห่งที่น่าสนใจ มีเรื่องราวทางประวัติศาสตร์มานานหลายร้อยปี และด้วยเหตุนี้เองจึงทำ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Wat Rai stones. หากใครไปเที่ยวภาคเหนือ และมีโอกาสพูดคุยกับผู้เฒ่าผู้แก่ ป่ออุ้ย แม่อุ้ย หรือมีโอกาสได้สนทนากับพระตามวัด ที่มีปูชนียสถานอันเก่าแก่ ก็อาจได้ยินการพูดถึงพระเจ้าเม็งราย พญาเม็งราย หรือ พระเจ้ามังรายพระองค์ต่างๆ ที่เป็นผู้สร้างวัดนั้นๆหรือสถานที่นั่นๆอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งแท้จริงแล้ว ราชวงศ์เม็งรายถือเป็นปฐมกษัตริย์แห่งล้านนาที่มีกษัตริย์ปกครองมาถึง 17 พระองค์ โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนา ราชวงศ์มังราย ถือเป็นประวัติศาสตร์หน้าหนึ่งของอาณาจักรล้านนา มีพระเจ้ามังรายพระองค์ต่างๆปกครองมานานถึงร้อยกว่าปี (พ.ศ. 1938 – พ.ศ. 2101) และในราชวงศ์นี้ก็ได้ก่อให้เกิดเรื่องราวทางประวัติศาสตร์มากมายหลายอย่างที่ปรากฏบันทึกทางประวัติศาสตร์ของวัดสำคัญต่างๆหลายแห่งทางภาคเหนือ สิ้นสุดของราชวงศ์เม็งรายก็ตอนที่ดินแดนล้านนา ซึ่งประกอบด้วยเมืองน้อยใหญ่ เช่นเขลางนคร(ลำปาง) หริภูญไชย(ลำพูน) และเมืองอื่นๆ ได้ตกเป็นเมืองขึ้นในสมัยของพระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์ของพม่า มานานถึง 200 ปี และได้รับการกอบกู้ในสมัยพระเจ้าตากสินมหาราชและสมัยของพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โดยมีพระยากาวีละและพระยาจ่าบ้าน จากเมือง เชียงใหม่ช่วยกันขับไล่พม่าจนสำเร็จ และก็น่าเสียดายที่เรื่องราวเหล่านี้เด็กๆนักเรียนทางภาคเหนือไม่มีโอกาสรับรู้เรื่องราวอันเป็นต้นกำเนิดของบรรพบุรุษของตนเอง เพราะไม่ได้บรรจุไว้ในหลักสูตร เหมือนกับว่าเกิดมาแล้วก็ไม่รู้จัก ปู่ย่า ตาทวด ของตนเอง ขาดการเชื่อมโยง ทำให้สังคมเราสนใจแต่ปัจจุบันกับอนาคต และหันหลังให้กับอดีตจนน่าเป็นห่วง ทั้งที่ประวัติศาสตร์นั้นจะช่วยให้เราก้าวสู่อนาคตได้อย่างมั่นคงและมีสติ ที่ผ่านมาเราจึงลืมกำพืด ลืมรากเหง้าดั่งเดิมที่ควรซึมซับและถ่ายทอดสู่รุ่นต่อๆมา จึงไม่แปลกใจอะไรที่ปูชนียสถานหลายแห่งถูกลบหลู่ และถูกทำลายไปไม่น้อย ประวัติศาสตร์ล้านนาได้เขียนไว้หลายหน้า แต่ย่อสรุปมาให้เหลือไม่กี่บรรทัด เพื่อให้เห็นว่าในยุคที่ล้านนาอยู่ภายใต้การ ปกครองของพม่ามานานถึง 200 ปีนั้น น่าจะพูดได้ว่า นานจนคนสองทั้งประเทศนี้เกือบจะลืมความแตกต่างในความเป็น ประเทศซึ่งกันและกัน เหมือนกับว่าเมืองล้านนากับพม่านั้นเป็นประเทศเดียวกันด้วยซ้ำไปล้านนาตกเป็นเมืองขึ้นของพม่ามานานถึง 200 ปี คิดไปก็เหมือนกับว่านานทีเดียว แต่โดยข้อเท็จจริงแล้วพม่าจะควบคุมเฉพาะเมืองหลวงหรือนครพิงค์เท่านั้น ส่วนเมืองที่เป็นฐานะเมืองบริวารของเชียงใหม่ ก็ยังดำเนินชีวิตไปตามปกติแทบไม่มีผลกระทบอะไรกับการปกครองของพม่า สายสัมพันธ์ของพม่ากับชาวล้านนา ดูเหมือนจะเป็นลักษณะประเทศเพื่อนบ้านที่รู้จักมักคุ้นกันเป็นอย่างดี มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม มีการไปมาหาสู่กัน ไม่มีคำว่าใครเป็นเมืองขึ้นของใคร ซึ่งดูเป็นเรื่องน่าแปลก หรือว่าระยะเวลาถึง 200 ปีนั้น มันเนิ่นนานจนลืมความแตกต่างในเรื่องคำว่าประเทศ หรือว่าสมัยนั้นเมื่อใครตกเป็นเมืองขึ้นกับใครแล้วมันไม่มีเหตุการณ์รุนแรงถึงขั้นอาฆาต เป็นศัตรูกันเหมือนอย่างที่คนยุคนี้เข้าใจกัน หรืออาจเป็นเพราะประเทศทั้งสองนับถือศาสนาพุทธเหมือนกัน จะอะไรก็แล้วแต่ก็เป็นข้อสังเกตุที่ยังหาคำตอบให้กับตนเองไม่ได้ แต่สิ่งที่เป็นหลักฐานแสดงถึงความสัมพันธ์อันดีต่อกันนั้นสามารถมองผ่านจากงานด้านศิลปวัตถุ หรือศิลปกรรมที่ปรากฏตามวัดสำคัญๆของภาคเหนือ ซึ่งเป็นศิลปะแบบผสมผสานระหว่างศิลปะล้านนาและศิลปะแบบพม่า บางวัดในอดีตมีการนำช่างฝีมือจากพม่ามาร่วมสร้าง บางวัดก็ได้รับการอุปถัมภ์ค้ำชูจากราชวงค์พม่า ซึ่งหากจะพูดว่าศิลปะล้านนานั้นได้รับอิทธิพลมาจากพม่าก็คงจะไม่ผิดนัก เขียนมาถึงตรงนี้ก็อดที่จะนึกถึงน้ำพริกอ่องและขนมจีนน้ำเงี้ยวไม่ได้ว่า มีถิ่นกำเนิดมาจากพม่า ซึ่งปัจจุบันชาวพม่าจะปรุงอาหารด้วยมะเขือส้ม(มะเขือเทศลูกเล็ก)เป็นอาหารหลัก นี่เป็นตัวอย่างที่มีการถ่ายทอดวัฒนธรรมระหว่างกัน วัดทางภาคเหนือที่มีเจดีย์ทรงพม่าอยู่หลายวัด ที่ลำปางมีบางวัดสร้างโบสถ์วิหารเป็นแบบพม่า มีพระพม่าเป็นเจ้าอาวาสซึ่งได้รับการแต่งตั้งมาจากประเทศพม่าโดยตรง สืบต่อกันมาจนถึงทุกวันนี้ พระทางภาคเหนือหลายวัด กับพระพม่าจากเมืองเชียงตุง ปัจจุบันยังมีความสัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้น และหากจะย้อน ประวัติศาสตร์ก็จะเห็นว่าดินแดนล้านนาในอดีตนั้นประกอบด้วยดินแดนของ 3 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ดินแดนทางภาคเหนือของไทย เมืองเชียงตุงของประเทศพม่า และดินแดนสิบสองปันนา (ประเทศจีนตอนล่าง) ซึ่งปัจจุบันอยู่คนละประเทศแต่ในยุคอดีตนั้นถือเป็นประเทศเดียวกัน มีประเพณีและวัฒนธรรมที่ดูคล้ายกันและมีความสัมพันธ์ต่อกันมาช้านาน The oldest temple of the North if a notice, will see various artistic works of national art patterns, such as the Myanmar traditional Chinese painting these things represent the relationship of people in that era, and even a chance to go to the temple with long historical legends, it is seen a lot. Even if the new measure today, it is also bringing artisans from these countries came to realize excellent art to appear on many of the new temple (with photo, see later) Most Thai tourists to tour along the Northern Temple. Most of the tourists with strong faith that the measure or its location, but do not have the opportunity to get to know what's interesting past. This is because no one had explained to listen to and the history of the temple, few people read the buy, but just realized that there is a long life for hundreds of years, and many of the evil age people wrong with foreign travelers often have guides and detailed information of the place, with data. Is it tourism and have to academic knowledge in the? Tourism to benefit completely, they should know the story of a particular place? As knowledge and cause love and cherish would not want to go to study the many profound lot more. I only know to understand the essence of the story in some places that it would suffice as tourists. Attractions along the Northern temples have many interesting. There is a long historical story for hundreds of years, and for this reason itself, thus making it.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
วัดไร่หิน
หากใครไปเที่ยวภาคเหนือ และมีโอกาสพูดคุยกับผู้เฒ่าผู้แก่ ป่ออุ้ย แม่อุ้ย หรือมีโอกาสได้สนทนากับพระตามวัด ที่มีปูชนียสถานอันเก่าแก่ ก็อาจได้ยินการพูดถึงพระเจ้าเม็งราย พญาเม็งราย หรือ พระเจ้ามังรายพระองค์ต่างๆ ที่เป็นผู้สร้างวัดนั้นๆหรือสถานที่นั่นๆอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งแท้จริงแล้ว ราชวงศ์เม็งรายถือเป็นปฐมกษัตริย์แห่งล้านนาที่มีกษัตริย์ปกครองมาถึง 17 พระองค์ โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งเปรียบเสมือนเป็นเมืองหลวงของอาณาจักรล้านนา ราชวงศ์มังราย ถือเป็นประวัติศาสตร์หน้าหนึ่งของอาณาจักรล้านนา มีพระเจ้ามังรายพระองค์ต่างๆปกครองมานานถึงร้อยกว่าปี (พ.ศ. 1938 – พ.ศ. 2101) และในราชวงศ์นี้ก็ได้ก่อให้เกิดเรื่องราวทางประวัติศาสตร์มากมายหลายอย่างที่ปรากฏบันทึกทางประวัติศาสตร์ของวัดสำคัญต่างๆหลายแห่งทางภาคเหนือ สิ้นสุดของราชวงศ์เม็งรายก็ตอนที่ดินแดนล้านนา ซึ่งประกอบด้วยเมืองน้อยใหญ่ เช่นเขลางนคร(ลำปาง) หริภูญไชย(ลำพูน) และเมืองอื่นๆ ได้ตกเป็นเมืองขึ้นในสมัยของพระเจ้าบุเรงนองกษัตริย์ของพม่า มานานถึง 200 ปี และได้รับการกอบกู้ในสมัยพระเจ้าตากสินมหาราชและสมัยของพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โดยมีพระยากาวีละและพระยาจ่าบ้าน จากเมือง เชียงใหม่ช่วยกันขับไล่พม่าจนสำเร็จ และก็น่าเสียดายที่เรื่องราวเหล่านี้เด็กๆนักเรียนทางภาคเหนือไม่มีโอกาสรับรู้เรื่องราวอันเป็นต้นกำเนิดของบรรพบุรุษของตนเอง เพราะไม่ได้บรรจุไว้ในหลักสูตร เหมือนกับว่าเกิดมาแล้วก็ไม่รู้จัก ปู่ย่า ตาทวด ของตนเอง ขาดการเชื่อมโยง ทำให้สังคมเราสนใจแต่ปัจจุบันกับอนาคต และหันหลังให้กับอดีตจนน่าเป็นห่วง ทั้งที่ประวัติศาสตร์นั้นจะช่วยให้เราก้าวสู่อนาคตได้อย่างมั่นคงและมีสติ ที่ผ่านมาเราจึงลืมกำพืด ลืมรากเหง้าดั่งเดิมที่ควรซึมซับและถ่ายทอดสู่รุ่นต่อๆมา จึงไม่แปลกใจอะไรที่ปูชนียสถานหลายแห่งถูกลบหลู่ และถูกทำลายไปไม่น้อย ประวัติศาสตร์ล้านนาได้เขียนไว้หลายหน้า แต่ย่อสรุปมาให้เหลือไม่กี่บรรทัด เพื่อให้เห็นว่าในยุคที่ล้านนาอยู่ภายใต้การ ปกครองของพม่ามานานถึง 200 ปีนั้น น่าจะพูดได้ว่า นานจนคนสองทั้งประเทศนี้เกือบจะลืมความแตกต่างในความเป็น ประเทศซึ่งกันและกัน เหมือนกับว่าเมืองล้านนากับพม่านั้นเป็นประเทศเดียวกันด้วยซ้ำไป
ล้านนาตกเป็นเมืองขึ้นของพม่ามานานถึง 200 ปี คิดไปก็เหมือนกับว่านานทีเดียว แต่โดยข้อเท็จจริงแล้วพม่าจะควบคุมเฉพาะเมืองหลวงหรือนครพิงค์เท่านั้น ส่วนเมืองที่เป็นฐานะเมืองบริวารของเชียงใหม่ ก็ยังดำเนินชีวิตไปตามปกติแทบไม่มีผลกระทบอะไรกับการปกครองของพม่า สายสัมพันธ์ของพม่ากับชาวล้านนา ดูเหมือนจะเป็นลักษณะประเทศเพื่อนบ้านที่รู้จักมักคุ้นกันเป็นอย่างดี มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม มีการไปมาหาสู่กัน ไม่มีคำว่าใครเป็นเมืองขึ้นของใคร ซึ่งดูเป็นเรื่องน่าแปลก หรือว่าระยะเวลาถึง 200 ปีนั้น มันเนิ่นนานจนลืมความแตกต่างในเรื่องคำว่าประเทศ หรือว่าสมัยนั้นเมื่อใครตกเป็นเมืองขึ้นกับใครแล้วมันไม่มีเหตุการณ์รุนแรงถึงขั้นอาฆาต เป็นศัตรูกันเหมือนอย่างที่คนยุคนี้เข้าใจกัน หรืออาจเป็นเพราะประเทศทั้งสองนับถือศาสนาพุทธเหมือนกัน จะอะไรก็แล้วแต่ก็เป็นข้อสังเกตุที่ยังหาคำตอบให้กับตนเองไม่ได้ แต่สิ่งที่เป็นหลักฐานแสดงถึงความสัมพันธ์อันดีต่อกันนั้นสามารถมองผ่านจากงานด้านศิลปวัตถุ หรือศิลปกรรมที่ปรากฏตามวัดสำคัญๆของภาคเหนือ ซึ่งเป็นศิลปะแบบผสมผสานระหว่างศิลปะล้านนาและศิลปะแบบพม่า บางวัดในอดีตมีการนำช่างฝีมือจากพม่ามาร่วมสร้าง บางวัดก็ได้รับการอุปถัมภ์ค้ำชูจากราชวงค์พม่า ซึ่งหากจะพูดว่าศิลปะล้านนานั้นได้รับอิทธิพลมาจากพม่าก็คงจะไม่ผิดนัก เขียนมาถึงตรงนี้ก็อดที่จะนึกถึงน้ำพริกอ่องและขนมจีนน้ำเงี้ยวไม่ได้ว่า มีถิ่นกำเนิดมาจากพม่า ซึ่งปัจจุบันชาวพม่าจะปรุงอาหารด้วยมะเขือส้ม(มะเขือเทศลูกเล็ก)เป็นอาหารหลัก นี่เป็นตัวอย่างที่มีการถ่ายทอดวัฒนธรรมระหว่างกัน
วัดทางภาคเหนือที่มีเจดีย์ทรงพม่าอยู่หลายวัด ที่ลำปางมีบางวัดสร้างโบสถ์วิหารเป็นแบบพม่า มีพระพม่าเป็นเจ้าอาวาสซึ่งได้รับการแต่งตั้งมาจากประเทศพม่าโดยตรง สืบต่อกันมาจนถึงทุกวันนี้ พระทางภาคเหนือหลายวัด กับพระพม่าจากเมืองเชียงตุง ปัจจุบันยังมีความสัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้น และหากจะย้อน ประวัติศาสตร์ก็จะเห็นว่าดินแดนล้านนาในอดีตนั้นประกอบด้วยดินแดนของ 3 ประเทศในปัจจุบัน ได้แก่ดินแดนทางภาคเหนือของไทย เมืองเชียงตุงของประเทศพม่า และดินแดนสิบสองปันนา (ประเทศจีนตอนล่าง) ซึ่งปัจจุบันอยู่คนละประเทศแต่ในยุคอดีตนั้นถือเป็นประเทศเดียวกัน มีประเพณีและวัฒนธรรมที่ดูคล้ายกันและมีความสัมพันธ์ต่อกันมาช้านาน
วัดเก่าแก่ของภาคเหนือถ้าสังเกตุให้ดีก็จะเห็นงานศิลปกรรม ของชาติต่างๆแฝงอยู่ เช่นลวดลายศิลปะแบบพม่า ภาพเขียนแบบจีน สิ่งเหล่านี้แสดงถึงความสัมพันธ์ของคนในยุคนั้นๆ และยิ่งมีโอกาสไปวัดที่มีตำนานทางประวัติศาสตร์มายาวนานก็จะพบเห็นอยู่มากมาย แม้วัดที่สร้างใหม่ในปัจจุบันก็ยังมีการนำช่างฝีมือจากประเทศเหล่านี้มาสรรสร้างงานศิลปะชั้นยอดให้ปรากฏตามวัดใหม่ๆอยู่หลายแห่ง (จะมีภาพมาให้ดูในโอกาสต่อไป)
นักท่องเที่ยวคนไทยส่วนใหญ่ไปเที่ยวตามวัดทางภาคเหนือ ส่วนมากที่ไปเที่ยวก็ด้วยแรงศรัทธาที่มีต่อวัดหรือสถานที่นั้นๆแต่ไม่มีโอกาสรับรู้สิ่งที่เป็นอดีตที่น่าสนใจ ทั้งนี้ก็เพราะไม่มีใครมาอธิบายให้ฟัง และหนังสือประวัติของวัดก็น้อยคนนักที่จะ หาซื้อมาอ่าน รับรู้กันแต่เพียงว่าเป็นวัดที่มีอายุมานานหลายร้อยปี และหลายชั่วอายุคน ผิดกับนักท่องเที่ยวต่างชาติที่มักมีคู่มือท่องเที่ยวและข้อมูลรายละเอียดของสถานที่นั้นอย่างพร้อมมูล คือได้ท่องเที่ยวและได้ศึกษาหาความรู้ไปในตัว
การท่องเที่ยวให้เกิดประโยชน์อย่างสมบูรณ์ก็ควรจะรู้เรื่องราว ที่มาที่ไปของสถานที่นั้นๆบ้าง เป็นความรู้ และเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดความรักความหวงแหน คงไม่ต้องถึงขนาดไปศึกษากันมากมายลึกซึ้งอะไรมากมายนัก ขอแต่เพียงรู้ เข้าใจสาระสำคัญในบางเรื่องของสถานที่นั้นๆก็น่าจะพอเพียงในฐานะนักท่องเที่ยวคนหนึ่ง สถานที่ท่องเที่ยวตามวัดต่างๆทางภาคเหนือมีหลายแห่งที่น่าสนใจ มีเรื่องราวทางประวัติศาสตร์มานานหลายร้อยปี และด้วยเหตุนี้เองจึงทำ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Wat Rai stone
.If someone went to the north and a chance to chat with the old people leave. - mother - or the opportunity to chat with the following measure. With a pristine places. It may hear talk of พระเจ้าเม็งราย Phaya mengrai orA creator that measure or place that frequently, which indeed. ราชวงศ์เม็งราย is I, the first king of Lanna kings ruled with 17 he arrived The central in Chiang Mai.ราชวงศ์มังราย. A history of the front page of the Lanna kingdom. There is a god breast-feed him various rule for over a hundred years (B.Professor 1938 - BC.2101) and in this dynasty have caused historic stories many things that appear to save various important historical temples, many of the north. The end of the ราชวงศ์เม็งราย when LannaSuch as khelang Nakhon Lampang) or the (Phu chai (zone) and other cities have colonized during the reign of God and king of Myanmar, drew was for 200 years. And get the salvage in ancient and modern other day trips include the king Taksin of Chula'll world great.From the city of Chiang Mai to help repel Burmese and success. Unfortunately, these stories and the children were in the north have no chance to recognize the essence of their fathers Because it is not contained in the course.Grandparents, maternal great-grandfather of their own lack of links, make the society we are interested, but the current for the future. Back to the past and serious. Even though the history that will allow us to step into the future can be steady and sober.Forget original roots to absorb and transfer to generations. So no wonder what many places of humiliation and destroyed, not the history of Lanna wrote several pages. But brief summary to rest a few lines.Rule of Myanmar for 200 years, should say For a long time until both taught this country almost forget the difference in the country with each other. Like the city over Myanmar is a country the same even
.Lanna colonized of Myanmar for 200 years. To think like you. But in fact only the capital city of Myanmar will control or pink. The city is the Acropolis status of Chiang Mai.The bond of Myanmar and Lanna. Seems to be acquainted with the neighbors as well. There was an exchange of cultures, there are fields, there is no such thing as someone a colony. That's strange.200 that year. It for a long time to forget the difference in the country. That was when who colonized with someone and it's no violent incidents to feud. Enemies like this generation understand each other.Whatever it is, it is a notice to find the answers for themselves. But what evidence shows a relationship that can look through the art objects. Or art appeared on the important measure of the region.Some of the temples in the craftsman from Myanmar to build. Some measures have been adopted support from the Royal Court of Myanmar. If say, Lanna style was influenced from Myanmar would be wrong.Originated from Myanmar. The Burmese cooking with eggplant tomato orange (small) is a staple food. This is an example of culture transmission between
.North Temple Pagoda, Myanmar with several temples. Lampang has some measure created the church as Myanmar. The Myanmar as abbot, which appointed from Myanmar directly. The lasting up until now, the northern many temples.At present there are relationship firmly, and if it will roll history, it is that land in the past include the territory of Lanna 3 countries at present. The Northern Territory Government เมืองเชียงตุง of Myanmar.Lower (China). Currently, in different countries, but in the past that is the same country. The tradition and culture that look similar and have a relationship for a long time!The oldest temple of North if paying attention will see artworks, such as various national latent pattern Burmese art painting Chinese These show the relationship of the people in the cuisine.Even measure created new current have the craftsman from these countries to school art class amount to appear on the new measure are several (there will be pictures to look at the next opportunity)
.More people to travel by the temple in the north. Most of the trip is with strong faith in the temple or the place but no chance to recognize what is a former attraction. However, because there is no one to explain.Buy to read, known only as measured with age for hundreds of years and many generations. Unlike foreign tourists often travel guide and detailed information of the place that completely.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: