บทคัดย่อ การวิจัยเรื่อง สมรรถนะที่พึงประสงค์ของบุคลากรองค์กรปกครองส่วน การแปล - บทคัดย่อ การวิจัยเรื่อง สมรรถนะที่พึงประสงค์ของบุคลากรองค์กรปกครองส่วน อังกฤษ วิธีการพูด

บทคัดย่อ การวิจัยเรื่อง สมรรถนะที่พ

บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง สมรรถนะที่พึงประสงค์ของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน : กรณีศึกษาในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสมรรถนะปัจจุบันของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน 2) เพื่อศึกษาสมรรถนะที่พึงประสงค์ของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการรองรับการเป็นประชาคมอาเซียนในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการพัฒนาสมรรถนะที่พึงประสงค์บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaires) กับกลุ่มข้าราชการ พนักงานราชการ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำนวน 477 ตัวอย่าง นอกจากนี้ใช้วิธีการสัมภาษณ์ แบบเจาะลึก (In-depth Interview) กับตัวแทนผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 15 ตัวอย่าง รวมทั้งใช้การสนทนากลุ่ม (Focus Group) กับตัวแทนบุคลากรขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น จำนวน 12 ตัวอย่าง ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขณะที่ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์โดยจำแนกข้อมูลและเปรียบเทียบข้อมูล
ผลการวิจัย พบว่า สมรรถนะของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปัจจุบันที่รองรับประชาคมอาเซียนมากที่สุด คือ มีความรู้การท่องเที่ยวและการบริการ มีทักษะการทำงานเป็นทีม และมีมนุษยสัมพันธ์ เมื่อวิเคราะห์ช่องว่างของสมรรถนะบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ต้องมีเพื่อรองรับประชาคมอาเซียนในอนาคตอย่างเร่งด่วนใน 3 ลำดับแรกในแต่ละด้าน พบว่าควรมีความรู้ในประชาคมอาเซียน การบริหารความเสี่ยง กฎหมายและกฎระเบียบ ส่วนด้านทักษะ ควรมีภาษาต่างประเทศอื่นๆ ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยีสารสนเทศและสืบค้นข้อมูล ขณะที่ ด้านคุณลักษณะ ควรมีภาวะผู้นำและผู้ตาม จิตสำนึกการบริการ และการรับฟังผู้อื่น สำหรับปัญหาและอุปสรรคที่มีต่อการพัฒนาสมรรถนะที่พึงประสงค์ในการรองรับเป็นประชาคมอาเซียน ได้แก่ ความรู้และทักษะการใช้ภาษา ความรู้ความเข้าใจประชาคมอาเซียน งบประมาณ หน่วยงานภาครัฐหรือหน่วยงานสนับสนุนที่เกี่ยวข้อง การสื่อสารในองค์กร วัฒนธรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสืบค้นข้อมูล และการเคลื่อนย้ายแรงงาน
ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือ หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง องค์การ บริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตำบลในแต่ละพื้นที่ ควรดำเนินงานในรูปแบบบูรณาการการดำเนินงานร่วมกันทุกภาคส่วน โดยการพัฒนาเป็นเครือข่ายในระดับพื้นที่ เพื่อประสานความร่วมมือ เชื่อมโยง และแบ่งบันทรัพยากรทางการบริหารในการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร อย่างเร่งด่วนใน 3 ลำดับแรก ในแต่ละด้านข้างต้น เพื่อรองรับประชาคมอาเซียนในอนาคต โดยการให้ความรู้หรือฝึกอบรม การพัฒนาตนเอง การปฏิบัติงานจริง หลักสูตรระยะสั้น และการศึกษาต่อ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Abstract การวิจัยเรื่อง สมรรถนะที่พึงประสงค์ของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน : กรณีศึกษาในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสมรรถนะปัจจุบันของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน 2) เพื่อศึกษาสมรรถนะที่พึงประสงค์ของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการรองรับการเป็นประชาคมอาเซียนในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการพัฒนาสมรรถนะที่พึงประสงค์บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaires) กับกลุ่มข้าราชการ พนักงานราชการ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำนวน 477 ตัวอย่าง นอกจากนี้ใช้วิธีการสัมภาษณ์ แบบเจาะลึก (In-depth Interview) กับตัวแทนผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 15 ตัวอย่าง รวมทั้งใช้การสนทนากลุ่ม (Focus Group) กับตัวแทนบุคลากรขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น จำนวน 12 ตัวอย่าง ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขณะที่ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์โดยจำแนกข้อมูลและเปรียบเทียบข้อมูล ผลการวิจัย พบว่า สมรรถนะของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปัจจุบันที่รองรับประชาคมอาเซียนมากที่สุด คือ มีความรู้การท่องเที่ยวและการบริการ มีทักษะการทำงานเป็นทีม และมีมนุษยสัมพันธ์ เมื่อวิเคราะห์ช่องว่างของสมรรถนะบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ต้องมีเพื่อรองรับประชาคมอาเซียนในอนาคตอย่างเร่งด่วนใน 3 ลำดับแรกในแต่ละด้าน พบว่าควรมีความรู้ในประชาคมอาเซียน การบริหารความเสี่ยง กฎหมายและกฎระเบียบ ส่วนด้านทักษะ ควรมีภาษาต่างประเทศอื่นๆ ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยีสารสนเทศและสืบค้นข้อมูล ขณะที่ ด้านคุณลักษณะ ควรมีภาวะผู้นำและผู้ตาม จิตสำนึกการบริการ และการรับฟังผู้อื่น สำหรับปัญหาและอุปสรรคที่มีต่อการพัฒนาสมรรถนะที่พึงประสงค์ในการรองรับเป็นประชาคมอาเซียน ได้แก่ ความรู้และทักษะการใช้ภาษา ความรู้ความเข้าใจประชาคมอาเซียน งบประมาณ หน่วยงานภาครัฐหรือหน่วยงานสนับสนุนที่เกี่ยวข้อง การสื่อสารในองค์กร วัฒนธรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสืบค้นข้อมูล และการเคลื่อนย้ายแรงงาน ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือ หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง องค์การ บริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตำบลในแต่ละพื้นที่ ควรดำเนินงานในรูปแบบบูรณาการการดำเนินงานร่วมกันทุกภาคส่วน โดยการพัฒนาเป็นเครือข่ายในระดับพื้นที่ เพื่อประสานความร่วมมือ เชื่อมโยง และแบ่งบันทรัพยากรทางการบริหารในการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร อย่างเร่งด่วนใน 3 ลำดับแรก ในแต่ละด้านข้างต้น เพื่อรองรับประชาคมอาเซียนในอนาคต โดยการให้ความรู้หรือฝึกอบรม การพัฒนาตนเอง การปฏิบัติงานจริง หลักสูตรระยะสั้น และการศึกษาต่อ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง สมรรถนะที่พึงประสงค์ของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน : กรณีศึกษาในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสมรรถนะปัจจุบันของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน 2) เพื่อศึกษาสมรรถนะที่พึงประสงค์ของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการรองรับการเป็นประชาคมอาเซียนในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการพัฒนาสมรรถนะที่พึงประสงค์บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการรองรับการเป็นประชาคมอาเซียน ในกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaires) กับกลุ่มข้าราชการ พนักงานราชการ หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐที่ปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำนวน 477 ตัวอย่าง นอกจากนี้ใช้วิธีการสัมภาษณ์ แบบเจาะลึก (In-depth Interview) กับตัวแทนผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 15 ตัวอย่าง รวมทั้งใช้การสนทนากลุ่ม (Focus Group) กับตัวแทนบุคลากรขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น จำนวน 12 ตัวอย่าง ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขณะที่ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์โดยจำแนกข้อมูลและเปรียบเทียบข้อมูล
ผลการวิจัย พบว่า สมรรถนะของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในปัจจุบันที่รองรับประชาคมอาเซียนมากที่สุด คือ มีความรู้การท่องเที่ยวและการบริการ มีทักษะการทำงานเป็นทีม และมีมนุษยสัมพันธ์ เมื่อวิเคราะห์ช่องว่างของสมรรถนะบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ต้องมีเพื่อรองรับประชาคมอาเซียนในอนาคตอย่างเร่งด่วนใน 3 ลำดับแรกในแต่ละด้าน พบว่าควรมีความรู้ในประชาคมอาเซียน การบริหารความเสี่ยง กฎหมายและกฎระเบียบ ส่วนด้านทักษะ ควรมีภาษาต่างประเทศอื่นๆ ภาษาอังกฤษ เทคโนโลยีสารสนเทศและสืบค้นข้อมูล ขณะที่ ด้านคุณลักษณะ ควรมีภาวะผู้นำและผู้ตาม จิตสำนึกการบริการ และการรับฟังผู้อื่น สำหรับปัญหาและอุปสรรคที่มีต่อการพัฒนาสมรรถนะที่พึงประสงค์ในการรองรับเป็นประชาคมอาเซียน ได้แก่ ความรู้และทักษะการใช้ภาษา ความรู้ความเข้าใจประชาคมอาเซียน งบประมาณ หน่วยงานภาครัฐหรือหน่วยงานสนับสนุนที่เกี่ยวข้อง การสื่อสารในองค์กร วัฒนธรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสืบค้นข้อมูล และการเคลื่อนย้ายแรงงาน
ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือ หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่เกี่ยวข้อง องค์การ บริหารส่วนจังหวัด เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตำบลในแต่ละพื้นที่ ควรดำเนินงานในรูปแบบบูรณาการการดำเนินงานร่วมกันทุกภาคส่วน โดยการพัฒนาเป็นเครือข่ายในระดับพื้นที่ เพื่อประสานความร่วมมือ เชื่อมโยง และแบ่งบันทรัพยากรทางการบริหารในการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร อย่างเร่งด่วนใน 3 ลำดับแรก ในแต่ละด้านข้างต้น เพื่อรองรับประชาคมอาเซียนในอนาคต โดยการให้ความรู้หรือฝึกอบรม การพัฒนาตนเอง การปฏิบัติงานจริง หลักสูตรระยะสั้น และการศึกษาต่อ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Abstract: the research on The competencies of personnel of administrative organization to support ASEAN: a communityA case study of the provinces in the South Andaman were 1) to study the performance of current personnel, local administrative organization in the southern provinces in the Andaman Sea. 2).3) to study the problems and obstacles of developing the competencies of personnel of local administrative organization in the ASEAN. In the southern provinces in the Andaman Sea. The purpose of this research is to survey Survey Research).(Questionnaires) and government employees or government officials working in the local administrative organizations of 477 samples. In addition, the in-depth interview methods (In-depth Interview).The 15 samples, as well as the focus group (Focus Group) with representative personnel administrative organization, the local number 12 samples. The quantitative data analysis using percentage, mean, standard deviation.The results showed that the performance of local government at present personnel support ASEAN ASEAN most is knowledge of tourism and services. Have teamwork skills and human relations.3 first in each aspect should have knowledge of the ASEAN community, risk management laws and regulations, the management should have other languages English, information technology and information searching as the features.The consciousness of service and listen to others. The problems and obstacles in the development of the competencies to support ASEAN community, including knowledge and skills in using the language. Understanding the ASEAN Community budget.Communication in organization, culture, information and data searching and เคลื่อนย้ายแรงงาน
.The research is a government agencies and the private sector related management organization provincial, municipal and district organization in each area. Should the operation in the form integrated operating together all sectors.To cooperate, connect and share resources in the development of performance management and personnel urgently in 3 first in each side plant To support ASEAN in the future. By providing the knowledge or training.The performance, short courses and Study on
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: