คนมลายูที่ปัตตานี” ในฐานะผู้เขียนวิทยานิพนธ์และผู้บรรยายหลัก ผมเห็นว่า การแปล - คนมลายูที่ปัตตานี” ในฐานะผู้เขียนวิทยานิพนธ์และผู้บรรยายหลัก ผมเห็นว่า มาเลย์ วิธีการพูด

คนมลายูที่ปัตตานี” ในฐานะผู้เขียนวิ

คนมลายูที่ปัตตานี”
ในฐานะผู้เขียนวิทยานิพนธ์และผู้บรรยายหลัก ผมเห็นว่าประเด็นที่จะกล่าวต่อไปนี้ มิได้มีความสำคัญทางแนวความคิดและทฤษฏีมากไปกว่าการพยายามเข้าใจกระบวนการสร้างความหมายและการตีความของคนมลายูผ่านกระบวนการเล่าเรื่องต่างๆอันสะท้อนให้เห็นถึงประสบการณ์ชีวิต และความทรงจำที่คนมลายูมุสลิมมีต่อตนเอง ญาติมิตร ชุมชนและผู้คนต่างชาติพันธุ์ข้างเคียง ประสบการณ์และ
ความทรงจำซึ่งถูกทบทวน วิเคราะห์ และคัดสรรเหล่านี้ จึงเป็นส่วนหนึ่งของการพยายามอธิบายความเปลี่ยนแปลงต่างๆในชีวิตประจำวันโดย
คนมลายูมุสลิมเอง แน่นอนผมไม่สามารถสรุปได้เต็มปากว่ากระบวนการศึกษาครั้งนี้คือสิ่งที่ทางมานุษยวิทยาเรียกว่า “ทัศนะจากคนใน” หรือ “ทัศนะจากคนพื้นถิ่น” เพราะประสบการณ์ชีวิตและความทรงจำที่ถูกเล่าออกมานั้น สะท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรมซึ่งเชื่อมโยงและแผ่ปริมณฑลออกไปเกินกรอบข้อจำกัดของพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ในหน่วยของชุมชน หมู่บ้าน และขอบเขตของรัฐชาติสมัยใหม่ ขณะเดียวกันเรื่องเล่าดังกล่าวยังได้สะท้อนถึง “ความเป็นชาติพันธุ์” ที่มิได้มีความหมายคับแคบอยู่เพียง ภาษา เครื่องแต่งกาย และประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ หากมีการเปลี่ยนแปลงและดำรงอยู่ภายใต้บริบทเงื่อนไข ที่สำคัญคือ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น อำนาจในการปกครองของรัฐ และกระบวนการทำให้เป็นอิสลาม(Islamization)
ในแง่มุมของประวัติศาสตร์ท้องถิ่น คนมลายูซึ่งอยู่ในชุมชนแห่งนี้ มีเรื่องเล่าและความทรงจำในรูปแบบของสาแหรกเครือญาติ ที่สืบย้อนกลับไปยังเกาะและดินแดนต่างๆทั่วคาบสมุทรมลายู คนกลุ่มต่างๆเหล่านี้มีทั้งคนจีน โมโร และคนพื้นถิ่นกลุ่มต่างๆซึ่งได้นั่งเรือสำเภาเข้ามาค้าขาย และบางส่วนได้อพยพเคลื่อนย้าย หมุนเวียนไปยังเกาะต่างๆตาม การย้ายถิ่นของฝูงปลาซึ่งเป็นทรัพยากรที่สำคัญ กระทั่งเกิดการตั้งถิ่นฐาน ตลาด และชุมชนขนาดเล็กขึ้นริมทะเล ทั้งยังผูกสัมพันธ์กับคนพื้นถิ่น(ซึ่งเรียกตัวเองและถูกเรียกโดยคนกลุ่มอื่นว่า “ออแฆสิแย”หรือ “คนสยาม” ) ผ่านการแต่งงาน และการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจ ทำให้ชุมชนริมทะเลแห่งนี้เริ่มขยายตัวและเป็นชุมชนในลักษณะพหุลักษณ์ ซึ่งเป็น แหล่งรวมชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรมของคนกลุ่มต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นคนจีน คนมลายู คนสยาม และกลุ่มพ่อค้าต่างแดนซึ่งเข้ามาแวะเวียนอย่างไม่ขาดสาย
ณ ห้วงเวลานี้ อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์หรือ ความเป็นชาติพันธุ์ มิได้มีความสำคัญเท่ากับอัตลักษณ์ท้องถิ่นซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงสำนึกร่วมที่ผู้คนหลากกลุ่มมีอยู่ในสถานที่เดียวกัน ซึ่งสะท้อนให้เห็นจาก ตำนาน คำบอกเล่า การแก้ไขปัญหา และความขัดแย้ง ต่างๆ ซึ่งแม้มิได้เกิดขึ้นโรแมนติกประดุจดุจดั่งภาพฝันของภาพลักษณ์ “ชุมชนที่ดีงาม” แต่ก็แสดงให้เห็นถึง การต่อรองทางวัฒนธรรมที่ค่อนข้างลงตัว เห็นถึงมิติของความสำคัญในเชิงสถานที่ และสำนึกในท้องถิ่นเป็นหลัก“ความเป็นชาติพันธุ์” เริ่มเข้ามามีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งท่ามกลางในห้วงสถานการณ์ที่ชุมชนแห่งนี้เข้าสู่ “รัฐ-ชาติสมัยใหม่” ในลักษณะของ “การสร้างอาณาบริเวณภายในเขตอำนาจของรัฐ” (territorialization) ซึ่งเป็นการตรึงผู้คนให้ผูกติดกับพื้นที่ โดยเฉพาะการทำสำมะโนครัวประชากร และการทำบัตรประจำตัวประชาชน ในต้นปี พ.ศ. 2500 ซึ่งนับเป็นวิกฤติในชีวิตทางวัฒนธรรมของชุมชนแห่งนี้เป็นอย่างมาก คนมลายูไม่สามารถเดินเรือไปนอกประเทศไปหาปลา และเยี่ยมญาติได้โดยปราศจากการยินยอมจากเจ้าหน้าที่รัฐ ทั้งยังถูกทำให้ “กลายเป็นไทย” และมีสำนึกในความเป็นพลเมือง ผ่านมิติทางวัฒนธรรม ระบบการศึกษา และการจัดรูปแบบการปกครองใหม่ ซึ่งได้แยกคนสยามที่เคยเป็นเครือญาติ(ซึ่งถูกเรียกโดยเจ้าหน้าที่รัฐและเรียกตนว่า “คนไทย” ในเวลาต่อมาตามนโยบายสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม) ให้ออกไปตั้งชุมชนใหม่ต่างหาก พร้อมกับมอบโฉนดที่ดินทำกินให้ไว้เป็นกรรมสิทธิ์ ทำให้คนมลายูในชุมชนตกอยู่ในสถานะของพลเมืองชั้นสอง ในแง่มุมของการเข้าไม่ถึงกติกาหรือระเบียบที่ถูกจัดขึ้นมาใหม่หลังจากการถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของรัฐ-ชาติสมัยใหม่ ทำให้ “ความเป็นมลายู” ในฐานะชาติพันธุ์ จึงกลายเป็นหลักประกันที่สำคัญแทนที่อัต
ลักษณ์ท้องถิ่นสำหรับการยืนยันว่า “พวกเขาคือใคร” ดังนั้น ความเป็นชาติพันธุ์ของมลายูในชุมชนแห่งนี้จึงเป็นสิ่งที่ใหม่มากและมีความสำคัญต่อพวกเขาและเธอ ไม่เกิน 50 ปีมานี้
อย่างไรก็ตาม “ความเป็นมลายู” ก็มิได้เป็นเอกภาพหรือเป็นเนื้อเดียวกันโดยสมบูรณ์ หากเต็มไปด้วยรอยปริแยกด้วยสถานภาพทางสังคมและความขัดแย้งทางชนชั้น คล้ายคลึงกับสังคมอื่นๆทั่วโลก โดยเฉพาะในเรื่องของการตีความที่ต่างกันในหลักการทางศาสนาอิสลาม ซึ่งราวกับเป็นลักษณะอันโดดเด่นของสังคมมุสลิมการตีความที่ต่างกันในหลักการทางศาสนาอิสลาม เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการทำให้เป็นอิสลาม หรือจะเรียกอีกอย่างได้ว่า กระแสปฏิรูปศาสนาอิสลาม ซึ่งมุ่งเน้นสลายความเป็น “อิสลามแบบท้องถิ่น” (วัฒนธรรมท้องถิ่นผสมผสานกับหลักการทางศาสนา)ให้จางหายไป และเข้าสู่การดำเนินชีวิตที่ถูกต้องตามหลักบัญญัติทางศาสนาทุกประการ แน่นอน ชุมชนมลายูแห่งนี้ได้เข้าสู่กระบวนการดังกล่าวด้วยเช่นกัน แต่อยู่ในลักษณะของการนำเอาหลักการทางศาสนามาให้ความชอบธรรมที่เกิดขึ้นในชุมชน มากกว่า ความขัดแย้งซึ่งเกิดจากการตีความหลักศาสนาโดยตรง ดังเช่น การประณาม “คนจน” ในชุมชนว่าเป็นกลุ่ม “สายเก่า” ที่ไม่เคร่งครัดต่อหลักการศาสนา มักเป็นผู้ที่งมงาย (แอบไหว้ผี บรรพบุรุษ บนบานสานกล่าว) มีชีวิตความเป็นอยู่ที่สกปรก หนี้สินรุงรัง และล้าหลัง ซึ่งตรงข้ามผู้ประณามคือ กลุ่มสายใหม่ ซึ่งส่วนมากมักเป็นกลุ่มนายทุนและราชการ ที่เชื่อศาสนาอย่างเป็นเหตุเป็นผล มีชีวิตในที่พักอาศัยที่สะอาดและมีความก้าวหน้า ความขัดแย้งและรอยปริแยกดังกล่าวเห็นได้จากการแยกมัสยิดสำหรับปฏิบัติศาสนกิจ และการตั้งปอเนาะขึ้นมาใหม่หรือการเข้าโรงเรียนสอนศาสนากึ่งเอกชนที่มีการตีความทางศาสนาแตกต่างกันออกไป
ทั้งหมดนี้ เป็นเรื่องราวในเบื้องต้นของชีวิตทางสังคมและวัฒนธรรมของคนมลายู
…………………………………………………………..
ในรอบ 4 ปีที่ผ่านมา ความรุนแรงซึ่งขึ้นในสามจังหวัดภาคใต้ ได้กลายเป็น “ห้วงยามอันพิเศษ” ที่ “คนไทย”จะแสดงความรักต่อเพื่อนร่วมชาติ เสมือนการ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (มาเลย์) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Orang Melayu Pattani, "
sebagai pengarang dan perawi tesis utama. Saya melihat bahawa isu-isu yang akan dibincangkan di bawah. Nor konsep-konsep dan teori-teori penting daripada cuba memahami makna dan tafsiran orang Melayu melalui penceritaan yang menggambarkan pengalaman hidup. Dan kenangan yang orang mempunyai komuniti mereka sendiri Islam dan orang-orang yang berbeza sebelah kin etnik. Pengalaman dan
kenangan, yang dikaji dan dianalisis pilihan ini. Ia adalah sebahagian daripada usaha untuk menerangkan perubahan dalam kehidupan sehari-hari oleh
orang Melayu Islam sendiri. Sudah tentu, saya tidak mempunyai keraguan bahawa kajian ini adalah apa yang ahli-ahli antropologi memanggil. "Sudut pandangan rakyat" atau "sikap orang tempatan" kerana pengalaman hidup dan kenangan yang telah dikongsi di luar sana. Menggambarkan pautan sosial dan budaya, dan tersebar ke seluruh bahagian yang sekatan geografi dalam masyarakat kampung dan sejauh mana negara-bangsa moden. Cerita ini juga dicerminkan. "The Tribe" yang tidak terhad hanya kepada pakaian Bahasa Inggeris. Sejarah dan etnik Jika terdapat perubahan dan sedia ada di bawah terma konteks sejarah tempatan. Pihak berkuasa dalam pentadbiran negeri Dan proses Islam (Islamisasi)
pada aspek sejarah tempatan. Orang Melayu dalam masyarakat ini. Ada cerita dan kenangan dalam bentuk kenamaan saudara-mara. Adakah dikesan kembali ke pulau-pulau dan wilayah di seluruh Semenanjung Tanah Melayu. Antaranya ialah Moro dan kumpulan peribumi bangsa yang diam belayar untuk perdagangan. Dan penghijrahan separa. Dikelilingkan kepada pulau-pulau Penghijrahan ikan, yang merupakan sumber yang penting. Hasilnya, pasaran penempatan dan komuniti tepi pantai yang kecil. Ia juga berkaitan dengan bahasa asli (yang menyeru dirinya, dan yang dipanggil oleh kumpulan-kumpulan lain. "Pada Jan Karon ini" atau "Siam") melalui perkahwinan. Dan pertukaran ekonomi Buat tepi pantai ini masyarakat berkembang dan masyarakat dalam pelbagai rupa, hab kehidupan sosial dan budaya pelbagai kumpulan. Sama ada Cina, Melayu, orang Thai dan pedagang asing yang sering berterusan
pada masa ini, atau identiti etnik. Etnik Tidak seperti yang penting sebagai identiti tempatan yang mencerminkan kesedaran bahawa orang mengaitkan dengan kumpulan-kumpulan yang berbeza di tempat yang sama. Yang digambarkan oleh kisah yang diberitahu untuk menyelesaikan masalah. Dan konflik yang tidak berlaku walaupun datang untuk suka impian romantik imej. "Komuniti ini agak baik," tetapi ia menunjukkan. Berunding budaya agak patut. Bahawa dimensi kepentingan tempat. Dan pengiktirafan tempatan utama "etnik" mula memainkan peranan dalam keadaan itu adalah amat penting kepada masyarakat ini. "Negeri - moden" dalam bentuk "penjajahan dalam bidang kuasa negeri" (territorialization), yang terikat mempesona orang ke kawasan ini. Khususnya, bancian penduduk Dan membuat kad ID dalam 2500, yang menandakan permulaan krisis dalam kehidupan budaya masyarakat ini adalah amat besar. Orang Melayu tidak boleh kapal di luar negara untuk ikan. Dan melawat saudara-mara tanpa persetujuan pihak berkuasa. Mereka "Menjadi Thailand" dan rasa kewarganegaraan. Dimensi budaya pendidikan dan pemformatan rejim baru. Yang telah dipisahkan Siam pernah persaudaraan (yang dipanggil oleh pegawai-pegawai dan memanggil dirinya "Thailand" kemudian Chom Phon tempoh polisi. Pibulsonggram) untuk memisahkan daripada masyarakat baru. Bersama-sama dengan tanah pertanian yang cemerlang menjadi milikmu. Orang Melayu dalam masyarakat jatuh ke dalam status warganegara kelas kedua. Dari segi undang-undang dan peraturan-peraturan yang tidak akan diadakan selepas diperbadankan sebagai sebahagian daripada negeri ini - moden membuat "Melayu" sebagai etnik. Oleh itu menjadi Override cagaran automatik
wajah tempatan untuk pengesahan. "Siapa mereka?" Maka orang Melayu dalam masyarakat ini, jadi ia adalah sangat baru dan penting bagi mereka, dan dia mempunyai lebih daripada 50 tahun,
namun. "Melayu" bukan satu perpaduan homogen atau sepenuhnya. Jika diisi dengan belahan dengan status sosial dan konflik kelas. Sama seperti masyarakat lain di seluruh dunia. Terutama dari segi tafsiran yang berbeza daripada prinsip-prinsip Islam. Yang, sebagai adalah ciri yang tersendiri masyarakat Islam kepada tafsiran yang berbeza daripada prinsip-prinsip Islam. Sebagai sebahagian daripada proses Islam. Ia juga dikenali bahawa. Reformasi mata wang Islam Yang memberi tumpuan kepada butiran "Masyarakat Islam" (budaya tempatan dengan menggabungkan prinsip-prinsip agama) pudar. Dan ke dalam gaya hidup mengikut undang-undang agama dalam segala hal, ini adalah pasti masyarakat Melayu ke dalam proses, juga. Tetapi dalam cara membawa prinsip-prinsip agama yang akan dibenarkan dalam masyarakat dan bukan konflik yang timbul daripada pentafsiran doktrin langsung sebagai mengutuk "orang miskin" dalam masyarakat sebagai kumpulan "lama" tidak ketat. prinsip-prinsip agama Biasanya orang-orang yang jahil (saya pengsan roh nenek moyang menenun), kehidupan yang 'kotor. Liabiliti tidak terurus dan USSR, yang dikutuk segmen talian, yang paling sering adalah pihak kapitalis dan kerajaan. Agama rasional. Yang tinggal di tempat perlindungan, bersih dan progresif. Konflik dan keretakan dan ia bersendirian dalam sebuah masjid untuk amalan agama. Pono dan menubuhkan sekolah separa peribadi atau agama mempunyai tafsiran yang berbeza daripada agama untuk
semua ini. Kisah pada pengenalan kehidupan sosial dan budaya Melayu
.................................................................. ..
Dalam 4 tahun yang lalu, keterukan yang bergantung kepada tiga. Selatan telah menjadi "satu masa khas" yang "Thailand" untuk menunjukkan kasih sayang mereka untuk rakan-rakan maya mereka.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: