ประเพณีสงกรานต์พระประแดงประวัติ / ความเป็นมา อำเภอพระประแดง เดิมเป็นเม การแปล - ประเพณีสงกรานต์พระประแดงประวัติ / ความเป็นมา อำเภอพระประแดง เดิมเป็นเม อังกฤษ วิธีการพูด

ประเพณีสงกรานต์พระประแดงประวัติ / ค

ประเพณีสงกรานต์พระประแดง
ประวัติ / ความเป็นมา
อำเภอพระประแดง เดิมเป็นเมืองชื่อ เมืองนครเขื่อนขันธ์ เป็นเมืองหน้าด่านของปากแม่น้ำเจ้าพระยา สร้างโดยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย รัชกาลที่ 2 เพื่อป้องกับการรุกรานของข้าศึกที่ยกมาทางทะเล ชาวพื้นเมืองเดิมของเมืองนครเขื่อนขันธ์หรือพระประแดง เป็นชาวรามัญหรือมอญที่อพยพเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารในแผ่นดินไทยเป็นเวลากว่าร้อยปีมาแล้ว
สันนิฐานว่า ชาวรามัญเริ่มอพยพเข้าสู่ประเทศไทยหลังจากสมเด็จพระนเรศวรมหาราชประกาศอิสรภาพ เมื่อ พ.ศ. 2127 ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พ.ศ. 2318 ปรากฏว่ามีชาวมอญอพยพเข้ามาราวหมื่นคนทางด้านจังหวัดกาญจนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้พระราชทานที่ดินให้ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เมืองนนทบุรี ตั้งแต่ปากเกร็ดถึงปุทมธานี ในสมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์มีพวกมอญอพยพเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอีกเป็นจำนวนมาก เมื่อพระองค์ได้ทรงสร้างเมืองนครเขื่อนขันธ์ แล้ว จึงโปรดให้อพยพครอบครัวมอญจากเมืองปทุมธานี โดยมีพระยาเจ่งเป็นหัวหน้าไปอยู่ที่เมืองนครเขื่อนขันธ์ ต่อมาโปรดให้สมิงทอบุตรชายพระยาเจ่ง เป็นเจ้าเมืองเขื่อนขันธ์ หรือเมืองพระประแดง
กล่าวได้ว่า ประเพณีและวัฒนธรรมมอญ จึงฝังรากแน่นแฟ้นในเมืองพระประแดงถึงแม้ว่าปัจจุบันนี้ได้กลายเป็นคนไทย แต่ยังรักษาประเพณีเดิมไว้เป็นอย่างดี
ทางจังหวัดสมุทรปราการและชาวอำเภอพระประแดง จึงได้ร่วมกันจัดงานสงกรานต์พระประแดงขึ้น เพื่อเป็นการต้อนรับปีใหม่ของไทย และเพื่ออนุรักษ์ประเพณีของชาวรามัญเอาไว้ เช่น ประเพณีการปล่อยนกปล่อยปลา การเล่นสะบ้า โดยจัดร่วมกับงานสงกรานต์ทุกปี

กำหนดงาน
หลังช่วงเทศกาลสงกรานต์ ประมาณ 1 อาทิตย์ ณ อำเภอพระประแดง

กิจกรรม / พิธี
เริ่มขึ้นก่อนวันสงกรานต์จะมาถึง โดยชาวบ้านจะเตรียมบ้านเรือนให้สะอาด นำเงินที่เก็บหอมรอมริบไว้มาใช้จ่ายเพื่อการรื่นเริงในวันสงกรานต์ มีการกวนกาละแม ข้าวเหนียวแดง เพื่อทำบุญตักบาตรหรือแจกจ่ายญาติพี่น้อง ผู้ที่คุ้นเคยและเคารพนับถือ การกวนกาละแมเป็นเรื่องความสนุกสนานของหนุ่มๆ สาวๆ โดยบ้านใดกวนกาละแมก็จะไปบอกเพื่อบ้านใกล้เคียงให้มาช่วยกัน เพราะกาละแมกระทะหนึ่งต้องใช้เวลากวนถึง 6 ชั่วโมง จึงได้ที่โดยใน 1 วัน จะกวนได้ 2 กระทะเท่านั้น หนุ่มๆ ทำหน้าที่กวน และการกวนกาละแมจะหยุดไม่ได้ เพราะจะทำให้ไหม้ จึงต้องกวนอยู่ตลอดเวลา นอกจากนั้นยังมีการเลี้ยงสุราอาหารและคุยกันระหว่างหนุ่มๆ สาวๆ

เมื่อถึงวันสงกรานต์ มีการส่งข้าวสงกรานต์ หรือที่เรียกว่า “ข้าวแช่” ข้าวที่หุงเป็นข้าวสงกรานต์นั้นต้องใช้ข้าวเปลือก 7 กำใหญ่ ตำเป็นข้าวสาร ฝัดรำทิ้ง 7 หน เมื่อเวลาจะหุงข้าวต้องซาวน้ำล้าง 7 ครั้งครั้นเป็นข้าวสวยแล้วต้องนำมาล้างอีก 7 หน จึงนำไปแช่น้ำสะอาดอบร่ำด้วยดอกมะลิ ในภาชนะที่ทำด้วยดิน เช่น อ่างดิน หรือหม้อดินเพื่อให้เย็น ถือว่าอยู่เย็นเป็นสุข กับข้าวที่จะรับประทานกับข้าวสงกรานต์ต้องทำจากพืช เช่น ถั่ว งา และผักต่างๆ ไม่นิยมทำจากเนื้อสัตว์ โดยนำข้าวสงกรานต์ไปถวายพระที่ในวัดตอนเช้าตรู่ระหว่างเวลา 6.00 – 8.00 น. ผู้ส่งนิยมใช้สาวๆ แต่ต้องนำข้าวสงกรานต์หรือข้าวแช่และกับข้าวที่เตรียมไว้บูชาท้าวมหาสงกรานต์เสียก่อน ที่สำหรับบูชาท้าวมหาสงกรานต์ปลูกเป็นศาลเพียงตา มีเสาสี่ต้นตกแต่งด้วยทางมะพร้าวและใบมะพร้าว ประดับธงเล็กๆ สีขาว เหลือง แดง เขียว ฯลฯ ศาลเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัศมีพื้นที่สำหรับวางเครื่องบูชา

การส่งข้าวสงกรานต์นั้น มักใช้หญิงสาวเป็นคู่ๆ คือ สาวคนหนึ่งถือภาชนะใส่ข้าวแช่ ส่วนอีกคนหนึ่งถือภาชนะใส่กับข้าว ไปส่งตามวัดต่างๆ เพื่อให้พระฉันก่อนออกบิณฑบาต หรือลงศาลารับการทำบุญจากชาวบ้าน และห้ามรดน้ำสาวในเขตบริเวณวัด เพื่อมิให้น้ำที่รดผ่านผ้านุ่งของสตรีตกต้อง ธรณีสงฆ์แต่หลังจากส่งข้าวสงกรานต์ที่วัดแล้วรดน้ำได้ไม้ผิดประเพณี

นอกจากการส่งข้าวสงกรานต์แล้ว ยังมีการสรงน้ำพระสงฆ์อีกด้วย โดยกำหนดวันที่จะไปสรงน้ำพระสงฆ์ให้เจ้าอาวาสทราบ ต่อจากนั้นจะสร้างซุ้มกั้นเป็นห้องน้ำด้วยทางมะพร้าว ปูพื้นด้วนแผ่นกระดานสำหรับให้พระเข้าไปสรงน้ำ รางน้ำที่ต่อเข้าไปในซุ้มยาวพอสมควร ทั้งนี้เพื่อให้ชาวบ้านได้สรงน้ำพระกันอย่างทั่งถึง โดยจัดตั้งโอ่งน้ำไว้เป็นระยะ เพื่อให้ชาวบ้านใช้น้ำในโอ่งนี้สรงน้ำพระซึ่งจัดขึ้นในเวลาประมาณบ่าย 2 โมง หลังจากทำบุญเลี้ยงพระเพลหรือมีการจับสลากภัตถวายอาหารแด่พระสงฆ์แล้ว โดยนิมนต์พระสงฆ์ที่มีอาวุโสสูงลงสรงก่อน ชาวบ้านจะใช้ขันของตนตักน้ำในโอ่งเทลงไปในราง น้ำจะไหลตามรางเข้าไปในซุ้มที่พระสรง ในระหว่างนี้จะมีคนคอยตะโกนบอกชาวบ้านให้หยุดเทน้ำ ทั้งนี้เพื่อให้พระได้ถูเหงื่อไคลและชาวบ้านผู้ชายจะเข้าไปช่วยถูเหงื่อไคลพระด้วยก็ได้ เมื่อพระสงฆ์องค์หนึ่งสรงน้ำเสร็จก็นิมนต์พระองค์ต่อๆ ไป ในการสรงน้ำพระชาวบ้านจะเอาน้ำอบหอมเทปนลงไปกับน้ำในรางด้วยก็ได้ การสรงน้ำพระถือเป็นการขอพรและการกุศลทำให้อยู่เย็นเป็นสุข

หลังจากสรงน้ำพระเสร็จแล้ว เป็นการรดน้ำของหนุ่มๆ สาวๆ โดยมี 3 ครั้งด้วยกัน คือ เมื่อสาวกลับมาจากส่งข้าวสงกรานต์ตามวัดต่างๆ ระหว่างวันที่ 13,14 และ 15 เมษายน ตั้งแต้เวลาประมาณ 9.00 น. การรดน้ำในวันสงกรานต์ไม่ผิดประเพณีและไม่ถือโทษกัน แต่ต้องเป็นการรดน้ำโดยสุภาพครั้งที่สองเมื่อสาวๆ กลับจากสรงน้ำพระสงฆ์ตามวัด และการรดน้ำครั้งที่สามถือเป็นการรดน้ำครั้งพิเศษ คือ บ่ายของวันที่ 13, 14 และ 15 เมษายน เพราะบ่ายวันนั้นมีการสรงน้ำพระพุทธรูปในมณฑปวัดโปรดเกตุเชษฐาราม

หลังจากรดน้ำสาวแล้ว ในตอนกลางคืนยังมีการเล่นสะบ้า อันเป็นธรรมเนียมเก่าแก่ของชาวรามัญ การเล่นสะบ้ามี 2 ประเภท คือ สะบ้าประเภทเล่นกลางวัน เรียกว่า ทอยสะบ้าหัวช้าง และการเล่นสะบ้าบ่อนในตอนกลางคืน
การเล่นสะบ้าแบบหัวช้าง เป็นเรื่องของชายฉกรรจ์ คนทอยอยู่คนละข้าง มีสะบ้าหัวช้างข้างละ 5 ลูก โดยมากใช้ลูกสะบ้าจริงๆ ตั้งเป็นรูปค่ายทหารโบราณ คือ แนวนอน 3 ลูก ห่างกันพอสมควร ลูกที่ตั้งอยู่ทางซ้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Phra pradaeng Songkran FestivalHistory/milestones Amphoe Phra pradaeng town is the original name of the city is the city of outpost Khan Dam, the mouth of the Chao Phraya River. Built by King Rama During his reign, 2 to protect against enemy invasion, quoted marine. The original natives of the city or a Phra pradaeng raman Khan Dam or Mon refugees came to Earth in Thailand for more than a hundred years ago. สันนิฐานว่า ชาวรามัญเริ่มอพยพเข้าสู่ประเทศไทยหลังจากสมเด็จพระนเรศวรมหาราชประกาศอิสรภาพ เมื่อ พ.ศ. 2127 ในสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พ.ศ. 2318 ปรากฏว่ามีชาวมอญอพยพเข้ามาราวหมื่นคนทางด้านจังหวัดกาญจนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้พระราชทานที่ดินให้ตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เมืองนนทบุรี ตั้งแต่ปากเกร็ดถึงปุทมธานี ในสมัยรัชกาลที่ 2 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์มีพวกมอญอพยพเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอีกเป็นจำนวนมาก เมื่อพระองค์ได้ทรงสร้างเมืองนครเขื่อนขันธ์ แล้ว จึงโปรดให้อพยพครอบครัวมอญจากเมืองปทุมธานี โดยมีพระยาเจ่งเป็นหัวหน้าไปอยู่ที่เมืองนครเขื่อนขันธ์ ต่อมาโปรดให้สมิงทอบุตรชายพระยาเจ่ง เป็นเจ้าเมืองเขื่อนขันธ์ หรือเมืองพระประแดงกล่าวได้ว่า ประเพณีและวัฒนธรรมมอญ จึงฝังรากแน่นแฟ้นในเมืองพระประแดงถึงแม้ว่าปัจจุบันนี้ได้กลายเป็นคนไทย แต่ยังรักษาประเพณีเดิมไว้เป็นอย่างดี ทางจังหวัดสมุทรปราการและชาวอำเภอพระประแดง จึงได้ร่วมกันจัดงานสงกรานต์พระประแดงขึ้น เพื่อเป็นการต้อนรับปีใหม่ของไทย และเพื่ออนุรักษ์ประเพณีของชาวรามัญเอาไว้ เช่น ประเพณีการปล่อยนกปล่อยปลา การเล่นสะบ้า โดยจัดร่วมกับงานสงกรานต์ทุกปีกำหนดงาน หลังช่วงเทศกาลสงกรานต์ ประมาณ 1 อาทิตย์ ณ อำเภอพระประแดง กิจกรรม / พิธี เริ่มขึ้นก่อนวันสงกรานต์จะมาถึง โดยชาวบ้านจะเตรียมบ้านเรือนให้สะอาด นำเงินที่เก็บหอมรอมริบไว้มาใช้จ่ายเพื่อการรื่นเริงในวันสงกรานต์ มีการกวนกาละแม ข้าวเหนียวแดง เพื่อทำบุญตักบาตรหรือแจกจ่ายญาติพี่น้อง ผู้ที่คุ้นเคยและเคารพนับถือ การกวนกาละแมเป็นเรื่องความสนุกสนานของหนุ่มๆ สาวๆ โดยบ้านใดกวนกาละแมก็จะไปบอกเพื่อบ้านใกล้เคียงให้มาช่วยกัน เพราะกาละแมกระทะหนึ่งต้องใช้เวลากวนถึง 6 ชั่วโมง จึงได้ที่โดยใน 1 วัน จะกวนได้ 2 กระทะเท่านั้น หนุ่มๆ ทำหน้าที่กวน และการกวนกาละแมจะหยุดไม่ได้ เพราะจะทำให้ไหม้ จึงต้องกวนอยู่ตลอดเวลา นอกจากนั้นยังมีการเลี้ยงสุราอาหารและคุยกันระหว่างหนุ่มๆ สาวๆ
เมื่อถึงวันสงกรานต์ มีการส่งข้าวสงกรานต์ หรือที่เรียกว่า “ข้าวแช่” ข้าวที่หุงเป็นข้าวสงกรานต์นั้นต้องใช้ข้าวเปลือก 7 กำใหญ่ ตำเป็นข้าวสาร ฝัดรำทิ้ง 7 หน เมื่อเวลาจะหุงข้าวต้องซาวน้ำล้าง 7 ครั้งครั้นเป็นข้าวสวยแล้วต้องนำมาล้างอีก 7 หน จึงนำไปแช่น้ำสะอาดอบร่ำด้วยดอกมะลิ ในภาชนะที่ทำด้วยดิน เช่น อ่างดิน หรือหม้อดินเพื่อให้เย็น ถือว่าอยู่เย็นเป็นสุข กับข้าวที่จะรับประทานกับข้าวสงกรานต์ต้องทำจากพืช เช่น ถั่ว งา และผักต่างๆ ไม่นิยมทำจากเนื้อสัตว์ โดยนำข้าวสงกรานต์ไปถวายพระที่ในวัดตอนเช้าตรู่ระหว่างเวลา 6.00 – 8.00 น. ผู้ส่งนิยมใช้สาวๆ แต่ต้องนำข้าวสงกรานต์หรือข้าวแช่และกับข้าวที่เตรียมไว้บูชาท้าวมหาสงกรานต์เสียก่อน ที่สำหรับบูชาท้าวมหาสงกรานต์ปลูกเป็นศาลเพียงตา มีเสาสี่ต้นตกแต่งด้วยทางมะพร้าวและใบมะพร้าว ประดับธงเล็กๆ สีขาว เหลือง แดง เขียว ฯลฯ ศาลเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัศมีพื้นที่สำหรับวางเครื่องบูชา

การส่งข้าวสงกรานต์นั้น มักใช้หญิงสาวเป็นคู่ๆ คือ สาวคนหนึ่งถือภาชนะใส่ข้าวแช่ ส่วนอีกคนหนึ่งถือภาชนะใส่กับข้าว ไปส่งตามวัดต่างๆ เพื่อให้พระฉันก่อนออกบิณฑบาต หรือลงศาลารับการทำบุญจากชาวบ้าน และห้ามรดน้ำสาวในเขตบริเวณวัด เพื่อมิให้น้ำที่รดผ่านผ้านุ่งของสตรีตกต้อง ธรณีสงฆ์แต่หลังจากส่งข้าวสงกรานต์ที่วัดแล้วรดน้ำได้ไม้ผิดประเพณี

นอกจากการส่งข้าวสงกรานต์แล้ว ยังมีการสรงน้ำพระสงฆ์อีกด้วย โดยกำหนดวันที่จะไปสรงน้ำพระสงฆ์ให้เจ้าอาวาสทราบ ต่อจากนั้นจะสร้างซุ้มกั้นเป็นห้องน้ำด้วยทางมะพร้าว ปูพื้นด้วนแผ่นกระดานสำหรับให้พระเข้าไปสรงน้ำ รางน้ำที่ต่อเข้าไปในซุ้มยาวพอสมควร ทั้งนี้เพื่อให้ชาวบ้านได้สรงน้ำพระกันอย่างทั่งถึง โดยจัดตั้งโอ่งน้ำไว้เป็นระยะ เพื่อให้ชาวบ้านใช้น้ำในโอ่งนี้สรงน้ำพระซึ่งจัดขึ้นในเวลาประมาณบ่าย 2 โมง หลังจากทำบุญเลี้ยงพระเพลหรือมีการจับสลากภัตถวายอาหารแด่พระสงฆ์แล้ว โดยนิมนต์พระสงฆ์ที่มีอาวุโสสูงลงสรงก่อน ชาวบ้านจะใช้ขันของตนตักน้ำในโอ่งเทลงไปในราง น้ำจะไหลตามรางเข้าไปในซุ้มที่พระสรง ในระหว่างนี้จะมีคนคอยตะโกนบอกชาวบ้านให้หยุดเทน้ำ ทั้งนี้เพื่อให้พระได้ถูเหงื่อไคลและชาวบ้านผู้ชายจะเข้าไปช่วยถูเหงื่อไคลพระด้วยก็ได้ เมื่อพระสงฆ์องค์หนึ่งสรงน้ำเสร็จก็นิมนต์พระองค์ต่อๆ ไป ในการสรงน้ำพระชาวบ้านจะเอาน้ำอบหอมเทปนลงไปกับน้ำในรางด้วยก็ได้ การสรงน้ำพระถือเป็นการขอพรและการกุศลทำให้อยู่เย็นเป็นสุข

หลังจากสรงน้ำพระเสร็จแล้ว เป็นการรดน้ำของหนุ่มๆ สาวๆ โดยมี 3 ครั้งด้วยกัน คือ เมื่อสาวกลับมาจากส่งข้าวสงกรานต์ตามวัดต่างๆ ระหว่างวันที่ 13,14 และ 15 เมษายน ตั้งแต้เวลาประมาณ 9.00 น. การรดน้ำในวันสงกรานต์ไม่ผิดประเพณีและไม่ถือโทษกัน แต่ต้องเป็นการรดน้ำโดยสุภาพครั้งที่สองเมื่อสาวๆ กลับจากสรงน้ำพระสงฆ์ตามวัด และการรดน้ำครั้งที่สามถือเป็นการรดน้ำครั้งพิเศษ คือ บ่ายของวันที่ 13, 14 และ 15 เมษายน เพราะบ่ายวันนั้นมีการสรงน้ำพระพุทธรูปในมณฑปวัดโปรดเกตุเชษฐาราม

หลังจากรดน้ำสาวแล้ว ในตอนกลางคืนยังมีการเล่นสะบ้า อันเป็นธรรมเนียมเก่าแก่ของชาวรามัญ การเล่นสะบ้ามี 2 ประเภท คือ สะบ้าประเภทเล่นกลางวัน เรียกว่า ทอยสะบ้าหัวช้าง และการเล่นสะบ้าบ่อนในตอนกลางคืน
การเล่นสะบ้าแบบหัวช้าง เป็นเรื่องของชายฉกรรจ์ คนทอยอยู่คนละข้าง มีสะบ้าหัวช้างข้างละ 5 ลูก โดยมากใช้ลูกสะบ้าจริงๆ ตั้งเป็นรูปค่ายทหารโบราณ คือ แนวนอน 3 ลูก ห่างกันพอสมควร ลูกที่ตั้งอยู่ทางซ้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Phra pradaeng Songkran Festival,History / backgroundDistrict, the original is a city name, city Nakhon Khuan Khan is a city side of the Chao Phraya River. Built by King Buddha loetla nabhalai 2 to protect against the invasion of the enemy quoted by sea. A native of original city Nakhon Khuan Khan or thing. As the Raman or mon immigrants came to rely on the protection on Thai land for more than a hundred years ago.Assumes that the Raman began to evacuate the country into after Naresuan declared him the quality when the 2127 during the reign of King Taksin. The 2318 appear to have about ten thousand mon immigrants an agent in Kanchanaburi province. King Taksin King land to set up homes in the city of Nonthaburi. From field to keypad Thom Province, in the reign of 2 of Rattanakosin the mon immigrants came to rely on the government lottery office a lot. When thou hast made the city Nakhon Khuan Khan. So please evacuate family mon from the town of Pathum Thani. The leader Phraya Oh, great in the city Nakhon Khuan Khan Later, please give saming woven son Oh, great. A governor Phraya dam Khan, or city thing?Said that the tradition and culture of mon. Is rooted in the city, even if nowadays stably thing has become people. But keep the tradition as well.The province and the district. Therefore, jointly organized a Phra pradaeng Songkran Festival. In order to welcome the new year in. And to preserve tradition, such as the mon tradition bird fish, play this crazy by providing with Songkran Festival every year.The job.After the festival, about 1 week at 5.Activities / ceremony.Start up before the day comes. The villagers will prepare the house clean. The money saved to spend to the festive Songkran Festival day, stirring Caramel rice red to merit or distribute the relatives. The familiarity and respect. Karamel is fun of agitation
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: