ตัวชี้วัดอย่างหนึ่งของคุณภาพชีวิตเด็กกับบทบาทการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง ก การแปล - ตัวชี้วัดอย่างหนึ่งของคุณภาพชีวิตเด็กกับบทบาทการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง ก อังกฤษ วิธีการพูด

ตัวชี้วัดอย่างหนึ่งของคุณภาพชีวิตเด

ตัวชี้วัดอย่างหนึ่งของคุณภาพชีวิตเด็กกับบทบาทการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง การศึกษาถึงรูปแบบการเลี้ยงดูบุตรหลานของผู้ปกครองที่พ่อแม่ย้ายไปทำงานต่างถิ่นในเขตพื้นที่อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตของเด็กที่พ่อแม่ย้ายไปทำงานต่างถิ่นและปัจจัยด้านประชากร ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคมจิตวิทยา ที่ส่งผลต่อบทบาทของผู้ปกครองในการเลี้ยงดูบุตรหลานที่พ่อแม่ย้ายไปทำงานต่างถิ่นในเขตพื้นที่อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ปกครองตระหนักถึงวิธีการเลี้ยงดูบุตรหลาน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบภาพตัดขวาง (Cross – sectional stuty) กลุ่มตัวอย่างเป็นครอบครัวเด็กที่พ่อแม่ย้ายไปทำงานต่างถิ่นในเขตพื้นที่อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง ซึ่งได้มาจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนอย่างง่าย ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาทั้งหมด 200 คน ซึ่งแบ่งเป็นเด็ก 100 คน และผู้ปกครอง 100 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม อธิบายรูปแบบการเลี้ยงดูบุตรหลานโดยใช้สถิติทดสอบ (Chi – square Test)
ผลการวิเคราะห์พบว่า ผู้ปกครองส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 89 ซึ่งมีสัดส่วนที่ใกล้เคียงกันทั้งในเขตเทศบาลและเขตองค์การบริหารส่วนตำบล โดยมีปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับรูปแบบการเลี้ยงดูบุตรหลานของผู้ปกครอง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์คือ ด้านประชากร ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคมจิตวิทยา พบว่า การให้ความรักความอบอุ่นแก่เด็ก มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับรูปแบบการเลี้ยงดูบุตรหลานโดยมีความสัมพันธ์อยู่ในระดับค่อนข้างสูง ความผูกพันของเด็กและผู้ปกครองมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับรูปแบบของการเลี้ยงดูบุตรหลานอยู่ในระดับสูง ความต่างด้านอายุระหว่างผู้ปกครองกับตัวเด็กมีความสัมพันธ์ในเชิงลบและการย้ายถิ่นของพ่อแม่กับระดับการศึกษามีความสัมพันธ์ในเชิงลบ มีความสัมพันธ์อยู่มนระดับปานกลาง
จากการศึกษาทำให้ทราบว่า รูปแบบการเลี้ยงดูบุตรหลาน แบบเอาใจใส่ส่งผลทำให้เด็กมีคุณภาพชีวิตที่สูงขึ้นทั้งทางด้านอารมณ์ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ตัวชี้วัดอย่างหนึ่งของคุณภาพชีวิตเด็กกับบทบาทการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง การศึกษาถึงรูปแบบการเลี้ยงดูบุตรหลานของผู้ปกครองที่พ่อแม่ย้ายไปทำงานต่างถิ่นในเขตพื้นที่อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตของเด็กที่พ่อแม่ย้ายไปทำงานต่างถิ่นและปัจจัยด้านประชากร ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคมจิตวิทยา ที่ส่งผลต่อบทบาทของผู้ปกครองในการเลี้ยงดูบุตรหลานที่พ่อแม่ย้ายไปทำงานต่างถิ่นในเขตพื้นที่อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ปกครองตระหนักถึงวิธีการเลี้ยงดูบุตรหลาน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบภาพตัดขวาง (Cross – sectional stuty) กลุ่มตัวอย่างเป็นครอบครัวเด็กที่พ่อแม่ย้ายไปทำงานต่างถิ่นในเขตพื้นที่อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง ซึ่งได้มาจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนอย่างง่าย ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาทั้งหมด 200 คน ซึ่งแบ่งเป็นเด็ก 100 คน และผู้ปกครอง 100 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม อธิบายรูปแบบการเลี้ยงดูบุตรหลานโดยใช้สถิติทดสอบ (Chi – square Test) ผลการวิเคราะห์พบว่า ผู้ปกครองส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 89 ซึ่งมีสัดส่วนที่ใกล้เคียงกันทั้งในเขตเทศบาลและเขตองค์การบริหารส่วนตำบล โดยมีปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับรูปแบบการเลี้ยงดูบุตรหลานของผู้ปกครอง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์คือ ด้านประชากร ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านสังคมจิตวิทยา พบว่า การให้ความรักความอบอุ่นแก่เด็ก มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับรูปแบบการเลี้ยงดูบุตรหลานโดยมีความสัมพันธ์อยู่ในระดับค่อนข้างสูง ความผูกพันของเด็กและผู้ปกครองมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับรูปแบบของการเลี้ยงดูบุตรหลานอยู่ในระดับสูง ความต่างด้านอายุระหว่างผู้ปกครองกับตัวเด็กมีความสัมพันธ์ในเชิงลบและการย้ายถิ่นของพ่อแม่กับระดับการศึกษามีความสัมพันธ์ในเชิงลบ มีความสัมพันธ์อยู่มนระดับปานกลาง จากการศึกษาทำให้ทราบว่า รูปแบบการเลี้ยงดูบุตรหลาน แบบเอาใจใส่ส่งผลทำให้เด็กมีคุณภาพชีวิตที่สูงขึ้นทั้งทางด้านอารมณ์ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
One measure of the quality of life of children with the role of custody. Study the patterns of parenting children of parents whose parents moved to a different residence in the district, Hang Chat Lampang to study the quality of life of children whose parents move for work, and of demographic, social, economic. and psychosocial Affecting the role of parents in raising children whose parents moved to work abroad in Hang Chat district, Lampang province to guide parents aware of how to treat children. This research study is cross-sectional images (Cross - sectional stuty) samples are children, whose parents moved to work abroad in Hang Chat district, Lampang province, which is derived from the multi-stage random sample simple. The example used in the study, all 200 people who were children and 100 parents, 100 were collected using a questionnaire. The parenting style children using statistical tests (Chi - square Test)
results showed that. Most parents are female, 89 per cent, with similar proportions in both the municipal and county District Administrative Office. The factors that are associated with patterns of raising children of their parents. Factors associated with the demographic, social, economic, and social psychology, found that giving children the love and warmth. A positive relationship with the form of raising a child by a relative in a relatively high level. Engagement of children and parents have a positive relationship with the form of raising children is high. The difference in age between parents and children is correlated negatively and migration of parents with educational levels correlated negatively. A relationship is a rounded average
of the study show that. Parenting style children Theres a result, children have a higher quality of life and the emotional, social and intellectual.

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Indicators of quality of life of children with one of the raising of parents. Study of the model of raising children of parents, parents move away to work in the area of district school.The social, economic, and social psychology. On the role of parents in raising children, parents move away to work in the area of wood district school.This research is a cross-section (Cross - sectional stuty) subjects are a family of children, parents move away to work in the area of the district. The province.Samples of all 200 people, which is divided into 100 children, parents 100. Data were collected by questionnaires. Explain the pattern raising their children by statistical test (Chi - square Test)
.The result showed that most parents are female (89 which have similar proportions in both municipal and district sub-district The factors related to children of parents rearing styleDemographic, social, economic, and social psychology, found that giving warmth to love children. There was a positive correlation with the model of raising children by related at the level is relatively high.The difference in age between parents and children is correlated negatively and migration of parents and education were negative. Related are rounded moderate
.The study found that Model of raising children A care the children have higher quality of life and emotional and social ด้านสติปัญญา

.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: