ประวัติเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยกำเนิดขึ้นในรัชสมั การแปล - ประวัติเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยกำเนิดขึ้นในรัชสมั อังกฤษ วิธีการพูด

ประวัติเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย เครื่

ประวัติเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย

เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยกำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เมื่อ Mr.Edwin Hunter Macfarland หมอสอนศาสนาชาวอเมริกันที่เกิดในประเทศไทย ซึ่งมีตำแหน่งเป็นเลขานุการส่วนพระองค์ ในสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงธรรมการ ได้เกิดความคิดที่จะสร้างเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยขึ้น พ.ศ.2434 เขาได้เดินทางไปยังสหรัฐอเมริกาเพื่อสำรวจว่าจะมีบริษัทใดที่สนใจผลิตเครื่องพิมพ์ดีดเป็นภาษาไทยบ้าง ซึ่งก็พบว่าบริษัท Smith Premier ในเมือง New York สนใจที่จะร่วมผลิต ดังนั้น Mr.Macfarland จึงได้ร่วมมือกับบริษัท Smith Premier ผลิตต้นแบบเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยขึ้น โดยได้ร่วมออกแบบและวางตำแหน่งตัวอักษรไทยที่จะใช้ในเครื่องพิมพ์ดีดได้สำเร็จลักษณะเครื่องพิมพ์ดีดไทย Smith Premier นั้น เป็นแบบแคร่ตาย(แคร่พิมพ์ไม่เลื่อน) และมีแป้นพิมพ์ 7 แถว ไม่มีแป้นยกอักษรบน( Shift key) จึงยังไม่สามารถพิมพ์โดยวิธีพิมพ์สัมผัสได้( Touch Typing)

ในปี พ.ศ.2435 Mr.Macfarland ได้นำเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยเครื่องแรกยี่ห้อ Smith Premier เข้ามาถวายรัชกาลที่ 5 ซึ่งพระองค์ได้ทรงทดลองพิมพ์และพอพระราชหฤทัยอย่างมาก จึงถือได้ว่ารัชกาลที่ 5 เป็นนักพิมพ์ดีดไทยพระองค์แรก หลังจากนั้นพระองค์ได้ทรงสั่งซื้อเครื่องพิมพ์ดีดดังกล่าวเข้ามาใช้ในราชการสยามเป็นครั้งแรกจำนวน 17 เครื่อง ต่อมาในปี พ.ศ.2438 Mr.Edwin Macfarland ได้ถึงแก่กรรม กรรมสิทธิ์ในเครื่องพิมพ์ดีด Smith Premier จึงตกแต่ Dr.George Bradley Macfarland (พระอาจวิทยาคม) ผู้เป็นน้องชาย ซึ่งเป็นผู้สั่งเครื่องพิมพ์ดีดไทย Smith Premier เข้ามาวางจำหน่ายในประเทศไทยเป็นรุ่นแรกในปี พ.ศ.2440 โดยวางขายที่ร้านทำฟันของท่านเอง จนถึง พ.ศ.2441 จึงได้ตั้งห้างสมิทพรีเมียร์ขึ้นที่หลังวังบูรพา ซึ่งปรากฏว่าได้รับความนิยมอย่างมากในวงราชการและบริษัทห้างร้าน

ในปี พ.ศ. 2458 หลังจากที่บริษัท Smith Premier ได้ขายสิทธิการผลิตให้แก่บริษัท Remington แล้ว บริษัท Remington ได้ยกเลิกการผลิตเครื่อง Smith Premier และหันไปผลิตเครื่องแบบยกแคร่ได้แทน แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยมจากคนไทยในยุคนั้น

ในปี พ.ศ.2465 Dr.George Macfarland เดินทางไปสหรัฐอเมริกา และได้ร่วมให้คำปรึกษาแก่บริษัท Remington ถึงการผลิตเครื่องพิมพ์ดีดไทยขนาดเล็กที่สามารถพิมพ์สัมผัสสิบนิ้วได้ จนสามารถทำได้สำเร็จเป็นแป้นแบบ 4 แถว และได้นำเครื่องพิมพ์ดีดรุ่นดังกล่าวเข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทยจนได้รับความนิยมแทนที่เครื่อง Smith Premier ในเวลาต่อมา แต่ก็ยังมีปัญหาเรื่องการพิมพ์ที่ยังขัดกับวิธีการเขียนภาษาไทยอยู่บ้าง ต่อมา Dr.George Macfarland ได้ร่วมกับพนักงานในห้างของท่าน 2 คน ทำการออกแบบและจัดวางแป้นอักษรเสียใหม่เพื่อแก้ปัญหาที่มีอยู่ โดยมีนายสวัสดิ์ มากประยูร เป็นช่างประดิษฐ์ก้านอักษร และนายสุวรรณประเสริฐ เกษมณี (นายกิมเฮง) เป็นผู้ออกแบบการวางตำแหน่งแป้นอักษร โดยวางตัวอักษรที่มีสถิติใช้บ่อยในตำแหน่งที่พิมพ์ได้ง่าย ซึ่งพิจารณาจากหนังสือต่างๆ จำนวน 38 เล่ม รวม 167 , 456 คำ โดยใช้เวลา 7 ปีจึงสำเร็จเมื่อปี พ.ศ.2474 และเรียกแป้นชนิดนี้ว่าแป้นแบบ ? เกษมณี ? ตามชื่อผู้ออกแบบ จนกลายเป็นแป้นแบบมาตรฐานถึงปัจจุบัน ต่อมานายสฤษดิ์ ปัตตะโชติ ตำแหน่งนายช่างเอก กรมชลประทาน ได้ศึกษาพบว่าแป้นพิมพ์แบบเกษมณียังมีข้อบกพร่อง คือขาดความสมดุลในการวางตำแหน่งแป้นอักษรระหว่างมือซ้ายและขวา เพราะพบว่ามือขวาต้องทำงานถึง 70 % ในขณะที่มือซ้ายทำงานเพียง 30 % เท่านั้น และนิ้วก้อยมือขวาซึ่งเป็นนิ้วที่อ่อนแอกลับต้องทำงานมากกว่านิ้วชี้มือซ้ายซึ่งแข็งแรงกว่า ส่งผลให้การพิมพ์ดีดไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร

โดยการสนับสนุนจากสภาวิจัยแห่งชาติ นายสฤษดิ์ ปัตตะโชติ ได้ทำการศึกษาวิจัยเพื่อออกแบบตำแหน่งแป้นอักษรใหม่ที่มีประสิทธิภาพกว่าเดิม โดยการสุ่มเลือกหนังสือหลากหลายสาขารวม 50 เล่ม แต่ละเล่มสุ่มออกมา 1000 ตัวอักษร รวม 50000 ตัวอักษร แล้วสำรวจว่าใน 1000 ตัวอักษรนั้นมีอักษรตัวใดใช้พิมพ์มากน้อยเพียงใดลดหลั่นกันลงมาตามลำดับ แล้วจึงนำตัวอักษรที่เก็บสถิติไว้นี้มาใช้เป็นแนวทางจัดวางแป้นพิมพ์ดีดใหม่ โดยถือหลักว่าอักษรที่ใช้บ่อยให้อยู่ในตำแหน่งนิ้วที่แข็งแรงไม่เกิน 3 แถวล่างตามลำดับโดยมีแถวที่สองเป็นศูนย์กลาง จากการทดลองและปรับปรุงจนในที่สุดก็ได้แป้นภาษาไทยแบบใหม่เรียกชื่อว่าแป้นแบบ ? ปัตตะโชติ ? ตามสกุลของผู้ออกแบบในปี พ.ศ.2509

ผลจากการทดลองเปรียบเทียบการสอนพิมพ์ดีดด้วยเครื่องแบบปัตตะโชติกับแบบเกษมณี จากกลุ่มตัวอย่าง 100 คน ที่แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ใช้เวลาฝึกหัด 100 ชั่วโมง (8 เดือน) ปรากฏว่ากลุ่มที่เรียนแบบปัตตะโชติสามารถพิมพ์ได้เร็วกว่าถึง 26.8 % ถึงกระนั้นก็ยังมีผู้รู้หลายคนออกมาวิจารณ์ถึงจุดอ่อนและความไม่เหมาะสมบางประการของแป้นแบบปัตตะโชติ ประกอบกับคนไทยส่วนใหญ่เคยชินกับการพิมพ์ด้วยแป้นเกษมณีแล้ว จึงทำให้แป้นแบบปัตตะโชติไม่ได้รับความนิยมจนหายไปในที่สุด (ปัจจุบันเหลือนักพิมพ์ดีดรุ่นเก่าไม่กี่คนที่ยังคงใช้แป้นแบบปัตตะโชติ) แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถเลือกใช้สลับระหว่างแป้นทั้งสองแบบได้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Thailand language typewriter history. เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยกำเนิดขึ้นในรัชสมัยพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เมื่อ Mr.Edwin Hunter Macfarland หมอสอนศาสนาชาวอเมริกันที่เกิดในประเทศไทย ซึ่งมีตำแหน่งเป็นเลขานุการส่วนพระองค์ ในสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงธรรมการ ได้เกิดความคิดที่จะสร้างเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยขึ้น พ.ศ.2434 เขาได้เดินทางไปยังสหรัฐอเมริกาเพื่อสำรวจว่าจะมีบริษัทใดที่สนใจผลิตเครื่องพิมพ์ดีดเป็นภาษาไทยบ้าง ซึ่งก็พบว่าบริษัท Smith Premier ในเมือง New York สนใจที่จะร่วมผลิต ดังนั้น Mr.Macfarland จึงได้ร่วมมือกับบริษัท Smith Premier ผลิตต้นแบบเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยขึ้น โดยได้ร่วมออกแบบและวางตำแหน่งตัวอักษรไทยที่จะใช้ในเครื่องพิมพ์ดีดได้สำเร็จลักษณะเครื่องพิมพ์ดีดไทย Smith Premier นั้น เป็นแบบแคร่ตาย(แคร่พิมพ์ไม่เลื่อน) และมีแป้นพิมพ์ 7 แถว ไม่มีแป้นยกอักษรบน( Shift key) จึงยังไม่สามารถพิมพ์โดยวิธีพิมพ์สัมผัสได้( Touch Typing) ในปี พ.ศ.2435 Mr.Macfarland ได้นำเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยเครื่องแรกยี่ห้อ Smith Premier เข้ามาถวายรัชกาลที่ 5 ซึ่งพระองค์ได้ทรงทดลองพิมพ์และพอพระราชหฤทัยอย่างมาก จึงถือได้ว่ารัชกาลที่ 5 เป็นนักพิมพ์ดีดไทยพระองค์แรก หลังจากนั้นพระองค์ได้ทรงสั่งซื้อเครื่องพิมพ์ดีดดังกล่าวเข้ามาใช้ในราชการสยามเป็นครั้งแรกจำนวน 17 เครื่อง ต่อมาในปี พ.ศ.2438 Mr.Edwin Macfarland ได้ถึงแก่กรรม กรรมสิทธิ์ในเครื่องพิมพ์ดีด Smith Premier จึงตกแต่ Dr.George Bradley Macfarland (พระอาจวิทยาคม) ผู้เป็นน้องชาย ซึ่งเป็นผู้สั่งเครื่องพิมพ์ดีดไทย Smith Premier เข้ามาวางจำหน่ายในประเทศไทยเป็นรุ่นแรกในปี พ.ศ.2440 โดยวางขายที่ร้านทำฟันของท่านเอง จนถึง พ.ศ.2441 จึงได้ตั้งห้างสมิทพรีเมียร์ขึ้นที่หลังวังบูรพา ซึ่งปรากฏว่าได้รับความนิยมอย่างมากในวงราชการและบริษัทห้างร้าน ในปี พ.ศ. 2458 หลังจากที่บริษัท Smith Premier ได้ขายสิทธิการผลิตให้แก่บริษัท Remington แล้ว บริษัท Remington ได้ยกเลิกการผลิตเครื่อง Smith Premier และหันไปผลิตเครื่องแบบยกแคร่ได้แทน แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยมจากคนไทยในยุคนั้น ในปี พ.ศ.2465 Dr.George Macfarland เดินทางไปสหรัฐอเมริกา และได้ร่วมให้คำปรึกษาแก่บริษัท Remington ถึงการผลิตเครื่องพิมพ์ดีดไทยขนาดเล็กที่สามารถพิมพ์สัมผัสสิบนิ้วได้ จนสามารถทำได้สำเร็จเป็นแป้นแบบ 4 แถว และได้นำเครื่องพิมพ์ดีดรุ่นดังกล่าวเข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทยจนได้รับความนิยมแทนที่เครื่อง Smith Premier ในเวลาต่อมา แต่ก็ยังมีปัญหาเรื่องการพิมพ์ที่ยังขัดกับวิธีการเขียนภาษาไทยอยู่บ้าง ต่อมา Dr.George Macfarland ได้ร่วมกับพนักงานในห้างของท่าน 2 คน ทำการออกแบบและจัดวางแป้นอักษรเสียใหม่เพื่อแก้ปัญหาที่มีอยู่ โดยมีนายสวัสดิ์ มากประยูร เป็นช่างประดิษฐ์ก้านอักษร และนายสุวรรณประเสริฐ เกษมณี (นายกิมเฮง) เป็นผู้ออกแบบการวางตำแหน่งแป้นอักษร โดยวางตัวอักษรที่มีสถิติใช้บ่อยในตำแหน่งที่พิมพ์ได้ง่าย ซึ่งพิจารณาจากหนังสือต่างๆ จำนวน 38 เล่ม รวม 167 , 456 คำ โดยใช้เวลา 7 ปีจึงสำเร็จเมื่อปี พ.ศ.2474 และเรียกแป้นชนิดนี้ว่าแป้นแบบ ? เกษมณี ? ตามชื่อผู้ออกแบบ จนกลายเป็นแป้นแบบมาตรฐานถึงปัจจุบัน ต่อมานายสฤษดิ์ ปัตตะโชติ ตำแหน่งนายช่างเอก กรมชลประทาน ได้ศึกษาพบว่าแป้นพิมพ์แบบเกษมณียังมีข้อบกพร่อง คือขาดความสมดุลในการวางตำแหน่งแป้นอักษรระหว่างมือซ้ายและขวา เพราะพบว่ามือขวาต้องทำงานถึง 70 % ในขณะที่มือซ้ายทำงานเพียง 30 % เท่านั้น และนิ้วก้อยมือขวาซึ่งเป็นนิ้วที่อ่อนแอกลับต้องทำงานมากกว่านิ้วชี้มือซ้ายซึ่งแข็งแรงกว่า ส่งผลให้การพิมพ์ดีดไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร โดยการสนับสนุนจากสภาวิจัยแห่งชาติ นายสฤษดิ์ ปัตตะโชติ ได้ทำการศึกษาวิจัยเพื่อออกแบบตำแหน่งแป้นอักษรใหม่ที่มีประสิทธิภาพกว่าเดิม โดยการสุ่มเลือกหนังสือหลากหลายสาขารวม 50 เล่ม แต่ละเล่มสุ่มออกมา 1000 ตัวอักษร รวม 50000 ตัวอักษร แล้วสำรวจว่าใน 1000 ตัวอักษรนั้นมีอักษรตัวใดใช้พิมพ์มากน้อยเพียงใดลดหลั่นกันลงมาตามลำดับ แล้วจึงนำตัวอักษรที่เก็บสถิติไว้นี้มาใช้เป็นแนวทางจัดวางแป้นพิมพ์ดีดใหม่ โดยถือหลักว่าอักษรที่ใช้บ่อยให้อยู่ในตำแหน่งนิ้วที่แข็งแรงไม่เกิน 3 แถวล่างตามลำดับโดยมีแถวที่สองเป็นศูนย์กลาง จากการทดลองและปรับปรุงจนในที่สุดก็ได้แป้นภาษาไทยแบบใหม่เรียกชื่อว่าแป้นแบบ ? ปัตตะโชติ ? ตามสกุลของผู้ออกแบบในปี พ.ศ.2509 ผลจากการทดลองเปรียบเทียบการสอนพิมพ์ดีดด้วยเครื่องแบบปัตตะโชติกับแบบเกษมณี จากกลุ่มตัวอย่าง 100 คน ที่แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ใช้เวลาฝึกหัด 100 ชั่วโมง (8 เดือน) ปรากฏว่ากลุ่มที่เรียนแบบปัตตะโชติสามารถพิมพ์ได้เร็วกว่าถึง 26.8 % ถึงกระนั้นก็ยังมีผู้รู้หลายคนออกมาวิจารณ์ถึงจุดอ่อนและความไม่เหมาะสมบางประการของแป้นแบบปัตตะโชติ ประกอบกับคนไทยส่วนใหญ่เคยชินกับการพิมพ์ด้วยแป้นเกษมณีแล้ว จึงทำให้แป้นแบบปัตตะโชติไม่ได้รับความนิยมจนหายไปในที่สุด (ปัจจุบันเหลือนักพิมพ์ดีดรุ่นเก่าไม่กี่คนที่ยังคงใช้แป้นแบบปัตตะโชติ) แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถเลือกใช้สลับระหว่างแป้นทั้งสองแบบได้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
History in Thailand typewriter typewriter in Thailand originated during the reign of King Rama V and King Rama 5 on Mr.Edwin Hunter Macfarland American-born cleric in Thailand. This has to rank as his secretary. HRH the Prince Damrong Rajanupab. Minister of Justice The idea was to create a typewriter in Thailand in 2434, he traveled to the US to explore whether there are companies that do not manufacture typewriters is Thailand. It found that Smith Premier in New York City are interested in co-production so Mr.Macfarland. He has partnered with Smith Premier typewriter prototype production up in Thailand. The joint design and positioning of letters Thailand to take on a typewriter successfully characterized typewriter Thailand Smith Premier is a litter died (Platen not scroll) and keyboard seventh row without keys raised letters on the (Shift key). It also can not be printed by touch (Touch Typing) in the year 2435 Mr.Macfarland. Thailand has brought a typewriter in his first All Smith Premier is dedicated to King 5, which he had printed and experiment strongly enough heart. It held that the King 5 mice Thailand is his home. Then he ordered the typewriter he used in Siam is the first official number of 17 units in the year 2438 Mr.Edwin Macfarland has passed away. The ownership of the Smith Premier typewriter fell but Dr.George Bradley Macfarland (probably the sciences), who is the younger brother. Who ordered Smith Premier typewriter Thailand took place in the first edition in 2440 are sold at your own teeth until 2441 the department has set up a Smith Premier. After Wangburapa Which appear to have been very popular in the government and companies, in 2458 after the company Smith Premier sold the production rights to the company, the company Remington Remington has canceled the production and turned to Smith Premier. Instead produce uniform mat But not very popular in Thailand in that period in the year 2465 Dr.George Macfarland to the United States. And was co-counsel to the Company Remington typewriter Thailand to manufacture small can touch the finger. It can be done successfully is a key 4-row, and has brought a typewriter models such releases in the popular replaces Smith Premier at a later time, but still had trouble typing on the contrary, how to write. Dr.George Macfarland in Thailand were somewhat later joined the staff of two people in the store design and layout keyboard, so that the problem exists. Mr. Sawat pedigree is very inventive character stalks. Mr. Prasert Suwan Kesmanee (Mr. Kim Heng) is designed to position the keyboard. The statistics are used frequently place the letters in the printed easily. On the basis of 38 books, including 167 books, 456 words takes seven years to complete the year 2474 and that the keyboard keys this model? Kesmanee? By design Become a Key to the current standard. Later, Mr. Sarit Pattachote position, Mr. Chang has RID showed that the keyboard Kesmanee also has its drawbacks. Is the imbalance in the positioning between the left and right hand keyboard. It found that the right to work up to 70%, while only 30% of work left and right hand pinky finger, which is weaker than return to work, which is stronger than the left hand index finger. As a result, the typewriter is not effective enough , supported by the National Research Council said Sarit Pattachote has studied the keyboard to design new, more powerful than ever. Random selection of books for various branches including 50 copies of each book came out in 1000, random characters, including 50 000 in 1000 to explore the characters and the characters are any character type at any cascaded down respectively. Then the letters keep statistics on this as a guideline for the new typewriter keyboard layout. By holding the letters were frequently used in the finger strength not exceeding three bottom row, respectively, with the second row is centered. The experiments and eventually a new key called a key model in Thailand? Pattachote? Currency of Designer of the Year. 2509 The results compare with a uniform teaching typewriter Pattachote with Kesmanee. From a sample of 100 people divided into two groups spent training 100 hours (8 months), the group learning Pattachote can type faster than 26.8%, yet it also has to know many people out there criticizing the weaknesses and. the inappropriateness of some of the key Pattachote. The Thailand most people are accustomed to typing with keyboard Kesmanee ago. Making it a key Pattachote not get popular until eventually lost. (Currently only a handful of older mice that still use the traditional Pattachote), but today's computers can use the keyboard to switch between the two series.











การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
History of Thai typewriter

. Typewriter in the reign of King Chulachomklao Thai born during the reign of 5 when Mr.Edwin Hunter Macfarland American missionary born in Thailand. The position is the private secretary In the data processing program, the prime minister, กระทรวงธรรมการ Born the idea to build up Thai typewriter.2434 he traveled to the United States to explore that any company interested to produce typewriters into Thai, which found the company Smith Premier in the city New York interested to join the production, so Mr.Macfarland can cooperate with the company Smith Premier producing master typewriter Thai. By the design and position the Thai alphabet to be used in the typewriter style Thai typing Smith Premier.And keyboard 7 row, no keys raised letters on (Shift key) and could not be printed by the method of colic (Touch Typing)
.
the 2435 Mr.The first Macfarland typewriter Thai brand Smith Premier offered 5 reign which he was printed and enough heart greatly. It is regarded as the king 5 typing Thai him first.17 air later in the year.Professor 2438 Mr.Edwin Macfarland died, ownership of the typewriter Smith Premier fell but Dr.George Bradley Macfarland. (พระอาจวิทยาคม) the brother, which are ordered in Thai typewriter Smith Premier released in Thailand is the first release in B.Professor 2440 sold at the dentist by his own until the 2441 has established the Smith premier up at หลังวังบูรพา. It appears that has been popular in the government and the companies

in 2002.2458 after the company Smith Premier sold the rights to the company Remington production, the company Remington cancelled the production machine. Smith Premier and turned to produce uniform lifting carriage instead. But don't get the popularity of Thai people in that era,

the 2465 Dr.George Macfarland travelled to the United States, and was also counsel to produce small Thai company Remington typewriter can touch typing ten inches. The success is a key 4 row.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: