4. ตารางกการทำงานวิจัยของเราวางไว้ยังไงวิธีการดำเนินงานการจัดตั้งศูนย์ การแปล - 4. ตารางกการทำงานวิจัยของเราวางไว้ยังไงวิธีการดำเนินงานการจัดตั้งศูนย์ อังกฤษ วิธีการพูด

4. ตารางกการทำงานวิจัยของเราวางไว้ย

4. ตารางกการทำงานวิจัยของเราวางไว้ยังไง
วิธีการดำเนินงาน
การจัดตั้งศูนย์การกระจายสินค้าเกษตรกรรมประเภทมันสำปะหลังอัดเม็ดและมันเส้นบนเส้นทางเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจแนวเหนือ–ใต้ (R3E) บริเวณจังหวัดเชียงราย โดย มีกรอบแนวคิดซึ่งเป็นการสรุปกระบวนการขั้นตอนการทำวิจัย แบ่งเป็นขั้นตอน ดังนี้
1. รวบรวมข้อมูลเบื้องต้น ศึกษาทฤษฎี งานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวข้อง (เดือนที่ 1-2)
2. วิเคราะห์ข้อมูลและคัดเลือกปัจจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อหาทำเลที่ตั้งในการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯที่เหมาะสม (เดือนที่ 3-5)
3. คัดกรองพื้นที่เบื้องต้นในการจัดจั้งศูนย์กระจายสินค้าฯ (ระหว่างเดือนที่ 5-8)
4. ทำการคัดเลือกพื้นที่โดยใช้หลักการตัดสินใจแบบหลายเกณฑ์ (MCDM) (ระหว่างเดือนที่ 7-9)
5. ทำการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายในการลงทุนและทำการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า (ระหว่างเดือนที่ 9-10)
6. สรุปผลและวิเคราะห์ผลและจัดทำรายงานวิจัย (ระหว่างเดือนที่ 10-12)
1.1 รวบรวมข้อมูลเบื้องต้น ศึกษาทฤษฎี งานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ทำศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเบื้องต้นจาก งานวิจัย ทฤษฎี และเอกสารที่เกี่ยวข้อง ในเรื่องของ เส้นทางระเบียงเศรษฐกิจแนวเหนือ–ใต้ แหล่งที่มาของมันสำปะหลัง ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า รวมไปถึง ศึกษาทฤษฏีที่สามารถนำมาเป็นเครื่องมือที่จะช่วยในการตัดสินใจในการคัดเลือกที่ตั้ง (Multiple Criteria Decision Making for Site Selection) เช่น วิธีหาจุดศูนย์ถ่วง (The Center of Gravity Approach) การใช้รูปแบบค่าน้ำหนักและระยะทาง (The Load–Distance Model) และศึกษาทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับหลักการตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์ (MCDM) ซึ่งได้แก่วิธี AHP และ TOPSIS เพื่อนำข้อมูล และ ทฤษฎีต่างๆ มาประยุกต์ในงานวิจัยในขั้นต่อไป
1.2. วิเคราะห์ข้อมูลและคัดเลือกปัจจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อหาทำเลที่ตั้งในการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯที่เหมาะสม
ทำการศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับพื้นที่และเส้นทาง R3E รวมทั้ง ศึกษาพื้นที่เพาะปลูก และแหล่งแปรรูปมันสำปะหลังชนิดอัดเม็ดและมันเส้น เพื่อหา ทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมในการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า โดยในเบื้องต้นหากนำเส้นทาง R3E มาเทียบกับพื้นที่เพาะปลูกมันสำปะหลังแล้วจะเห็นได้ว่า จังหวัดเชียงรายเป็นพื้นที่ ที่มีทาง R3E ผ่านและยังเป็นพื้นที่ ที่มีการเพาะปลูกมันสำปะหลัง อีกทั้งยังเป็นพื้นที่ ที่มีอาณาเขตชายแดนติดกับประเทศจีนที่เป็นผู้นำเข้ารายใหญ่ของมันสำปะหลังของไทย แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นจากข้อมูลในเบื้องต้น ผู้วิจัยยังไม่สามารถระบุได้ว่า ควรจะตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯ บริเวณพื้นที่ไหนของจังหวัดเชียงราย ในการทำวิจัยในครั้งนี้จึงต้องมีการวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเลือกทำเลที่ตั้ง โดยใช้เครื่องมือที่ช่วยในการตัดสินใจแบบหลายเกณฑ์ที่เหมาะสม เครื่องที่สามารถนำมาใช้ในงานวิจัยนี้คือ การวิเคราะห์ โดยการใช้กระบวนการตัดสินใจแบบวิเคราะห์ลำดับชั้น (Analytic Hierarchy Process: AHP) ซึ่งวิธีการนี้จะช่วยให้สามารถหาค่าน้ำหลังของแต่ละเกณฑ์และสามารถหาทางเลือกที่เหมาะสำหรับการตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯ ได้
1.3. คัดกรองพื้นที่เบื้องต้นในการจัดจั้งศูนย์กระจายสินค้าฯ
จากการวิเคราะห์ในขั้นตอนก่อนหน้าจะได้ ทางเลือก ที่เหมาะสมออกมา เมื่อได้ทางเลือกที่เหมาะในการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯในเบื้องต้นแล้ว ผู้วิจัยจะต้องลงพื้นที่สำรวจองค์ประกอบต่างๆ เพื่อความสมเหมาะที่ดีที่สุดในการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯ อาทิ เช่น ลงพื้นที่เพื่อสำรวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับความสะดวกสบายของเส้นทางคมนาคมตามระยะทางที่เส้นทาง R3E พาดผ่าน สำรวจแหล่งเพาะปลูกมันสำปะหลัง รวมทั้ง สำรวจโรงงานแปรรูปมันในพื้นที่นั้นๆ โดยรวบรวมข้อมูลที่ใกล้เคียงความเป็นจริงให้มากที่สุด เพื่อหาทางเลือกที่ตั้งที่ดีที่สุดในการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯ
1.4. ทำการคัดเลือกพื้นที่โดยใช้หลักการตัดสินใจแบบหลายเกณฑ์ (MCDM)
เมื่อได้ทำการคัดกรองความเหมาะสมในการเลือกพื้นที่ตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯ ในเบื้องต้นแล้วจะได้ทางเลือกที่เหมาะสมมาจำนวนหนึ่ง ผู้วิจัยจึงใช้หลักการตัดสินใจแบบหลายเกณฑ์ (MCDM) เข้ามาช่วยในการตัดสินใจ โดยวิธี MCDM ที่นำมาใช้ประกอบไปด้วย 1. วิธีการตัดสินใจแบบวิเคราะห์ลำดับชั้น (AHP) วิธีการทำ AHP จะเริ่มจาก การเปรียบเทียบ ระหว่าง Criteria กับ Criteria โดยการใช้ ตาราง Nine Point Scale ในการให้คะแนน จากนั้นจะหาค่าน้ำหนักของแต่ละ Criteria ด้วยวิธีการทำ Geometric Mean แล้วนำค่าของแต่ละทางเลือกมาคูณเข้ากับทางเลือก (Alternative) แต่ละทางเลือก แล้วรวมผลคะแนนของแต่ละทางเลือก ทางเลือกไหนได้คะแนนมากที่สุดแสดงว่าทางเลือกนั้นเป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด 2. TOPSIS (Technique for Order Treference by Similarity to an Ideal Solution) เป็นวิธีการตัดสินใจโดยเรียงความสําคัญจากหลายปัจจัยซึ่งเอาศัยเกณฑ์หลายๆเกณฑ์เพื่อหาวิธีแก้ไขหรือหาทางเลือกโดยถือหลักเลือกวิธีการสำหรับการจัดลำดับความพึงพอใจโดยคำนึงถึงค่าที่เข้าใกล้ค่าในอุดมคติมากที่สุด


1.5. ทำการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายในการลงทุนและทำการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า
จากการทบทวนวรรณกรรมในหัวข้อก่อนหน้านี้ จะเห็นได้ว่าการที่จะตั้งศูนย์กระจายสินค้าในแต่ละแห่งนั้นจะต้องพิจารณาจากหลากหลายปัจจัยไม่ว่าจะเป็น ปัจจัยในเชิงพื้นที่ ปัจจัยของความปลอดภัย ปัจจัยของสิ่งอำนวยความสะดวก แต่ที่ขาดไม่ได้เลยคือการคำนึงถึงปัจจัยของการลงทุน เนื่องจากการจัดตั้งคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้าในแต่ละแห่งนั้นจะต้องใช้เงินลงทุนจำนวนมหาศาล เพื่อแลกกับสิ่งที่คุ้มค้าและได้รับผลตอบแทนที่มากกว่าการลงทุน ดังนั้น จากการทำวิจัยในเรื่องการตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯ จะต้องมีการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายในการลงทุน เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปใช้วิเคราะห์ความคุ้มทุนในการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า และนำข้อมูลไปประกอบตัดสินใจในการลงทุนและวิเคราะห์ระยะเวลาในการคืนทุน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
4. ตารางกการทำงานวิจัยของเราวางไว้ยังไงวิธีการดำเนินงานการจัดตั้งศูนย์การกระจายสินค้าเกษตรกรรมประเภทมันสำปะหลังอัดเม็ดและมันเส้นบนเส้นทางเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจแนวเหนือ–ใต้ (R3E) บริเวณจังหวัดเชียงราย โดย มีกรอบแนวคิดซึ่งเป็นการสรุปกระบวนการขั้นตอนการทำวิจัย แบ่งเป็นขั้นตอน ดังนี้1. รวบรวมข้อมูลเบื้องต้น ศึกษาทฤษฎี งานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวข้อง (เดือนที่ 1-2)2. วิเคราะห์ข้อมูลและคัดเลือกปัจจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อหาทำเลที่ตั้งในการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯที่เหมาะสม (เดือนที่ 3-5)3. คัดกรองพื้นที่เบื้องต้นในการจัดจั้งศูนย์กระจายสินค้าฯ (ระหว่างเดือนที่ 5-8)4. ทำการคัดเลือกพื้นที่โดยใช้หลักการตัดสินใจแบบหลายเกณฑ์ (MCDM) (ระหว่างเดือนที่ 7-9)5. ทำการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายในการลงทุนและทำการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า (ระหว่างเดือนที่ 9-10)6. สรุปผลและวิเคราะห์ผลและจัดทำรายงานวิจัย (ระหว่างเดือนที่ 10-12)1.1 รวบรวมข้อมูลเบื้องต้น ศึกษาทฤษฎี งานวิจัยและเอกสารที่เกี่ยวข้องทำศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเบื้องต้นจาก งานวิจัย ทฤษฎี และเอกสารที่เกี่ยวข้อง ในเรื่องของ เส้นทางระเบียงเศรษฐกิจแนวเหนือ–ใต้ แหล่งที่มาของมันสำปะหลัง ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า รวมไปถึง ศึกษาทฤษฏีที่สามารถนำมาเป็นเครื่องมือที่จะช่วยในการตัดสินใจในการคัดเลือกที่ตั้ง (Multiple Criteria Decision Making for Site Selection) เช่น วิธีหาจุดศูนย์ถ่วง (The Center of Gravity Approach) การใช้รูปแบบค่าน้ำหนักและระยะทาง (The Load–Distance Model) และศึกษาทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับหลักการตัดสินใจแบบหลายหลักเกณฑ์ (MCDM) ซึ่งได้แก่วิธี AHP และ TOPSIS เพื่อนำข้อมูล และ ทฤษฎีต่างๆ มาประยุกต์ในงานวิจัยในขั้นต่อไป1.2. วิเคราะห์ข้อมูลและคัดเลือกปัจจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อหาทำเลที่ตั้งในการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯที่เหมาะสมทำการศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับพื้นที่และเส้นทาง R3E รวมทั้ง ศึกษาพื้นที่เพาะปลูก และแหล่งแปรรูปมันสำปะหลังชนิดอัดเม็ดและมันเส้น เพื่อหา ทำเลที่ตั้งที่เหมาะสมในการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า โดยในเบื้องต้นหากนำเส้นทาง R3E มาเทียบกับพื้นที่เพาะปลูกมันสำปะหลังแล้วจะเห็นได้ว่า จังหวัดเชียงรายเป็นพื้นที่ ที่มีทาง R3E ผ่านและยังเป็นพื้นที่ ที่มีการเพาะปลูกมันสำปะหลัง อีกทั้งยังเป็นพื้นที่ ที่มีอาณาเขตชายแดนติดกับประเทศจีนที่เป็นผู้นำเข้ารายใหญ่ของมันสำปะหลังของไทย แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นจากข้อมูลในเบื้องต้น ผู้วิจัยยังไม่สามารถระบุได้ว่า ควรจะตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯ บริเวณพื้นที่ไหนของจังหวัดเชียงราย ในการทำวิจัยในครั้งนี้จึงต้องมีการวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการเลือกทำเลที่ตั้ง โดยใช้เครื่องมือที่ช่วยในการตัดสินใจแบบหลายเกณฑ์ที่เหมาะสม เครื่องที่สามารถนำมาใช้ในงานวิจัยนี้คือ การวิเคราะห์ โดยการใช้กระบวนการตัดสินใจแบบวิเคราะห์ลำดับชั้น (Analytic Hierarchy Process: AHP) ซึ่งวิธีการนี้จะช่วยให้สามารถหาค่าน้ำหลังของแต่ละเกณฑ์และสามารถหาทางเลือกที่เหมาะสำหรับการตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯ ได้1.3. คัดกรองพื้นที่เบื้องต้นในการจัดจั้งศูนย์กระจายสินค้าฯจากการวิเคราะห์ในขั้นตอนก่อนหน้าจะได้ ทางเลือก ที่เหมาะสมออกมา เมื่อได้ทางเลือกที่เหมาะในการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯในเบื้องต้นแล้ว ผู้วิจัยจะต้องลงพื้นที่สำรวจองค์ประกอบต่างๆ เพื่อความสมเหมาะที่ดีที่สุดในการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯ อาทิ เช่น ลงพื้นที่เพื่อสำรวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับความสะดวกสบายของเส้นทางคมนาคมตามระยะทางที่เส้นทาง R3E พาดผ่าน สำรวจแหล่งเพาะปลูกมันสำปะหลัง รวมทั้ง สำรวจโรงงานแปรรูปมันในพื้นที่นั้นๆ โดยรวบรวมข้อมูลที่ใกล้เคียงความเป็นจริงให้มากที่สุด เพื่อหาทางเลือกที่ตั้งที่ดีที่สุดในการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯ1.4. ทำการคัดเลือกพื้นที่โดยใช้หลักการตัดสินใจแบบหลายเกณฑ์ (MCDM)
เมื่อได้ทำการคัดกรองความเหมาะสมในการเลือกพื้นที่ตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯ ในเบื้องต้นแล้วจะได้ทางเลือกที่เหมาะสมมาจำนวนหนึ่ง ผู้วิจัยจึงใช้หลักการตัดสินใจแบบหลายเกณฑ์ (MCDM) เข้ามาช่วยในการตัดสินใจ โดยวิธี MCDM ที่นำมาใช้ประกอบไปด้วย 1. วิธีการตัดสินใจแบบวิเคราะห์ลำดับชั้น (AHP) วิธีการทำ AHP จะเริ่มจาก การเปรียบเทียบ ระหว่าง Criteria กับ Criteria โดยการใช้ ตาราง Nine Point Scale ในการให้คะแนน จากนั้นจะหาค่าน้ำหนักของแต่ละ Criteria ด้วยวิธีการทำ Geometric Mean แล้วนำค่าของแต่ละทางเลือกมาคูณเข้ากับทางเลือก (Alternative) แต่ละทางเลือก แล้วรวมผลคะแนนของแต่ละทางเลือก ทางเลือกไหนได้คะแนนมากที่สุดแสดงว่าทางเลือกนั้นเป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด 2. TOPSIS (Technique for Order Treference by Similarity to an Ideal Solution) เป็นวิธีการตัดสินใจโดยเรียงความสําคัญจากหลายปัจจัยซึ่งเอาศัยเกณฑ์หลายๆเกณฑ์เพื่อหาวิธีแก้ไขหรือหาทางเลือกโดยถือหลักเลือกวิธีการสำหรับการจัดลำดับความพึงพอใจโดยคำนึงถึงค่าที่เข้าใกล้ค่าในอุดมคติมากที่สุด


1.5. ทำการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายในการลงทุนและทำการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า
จากการทบทวนวรรณกรรมในหัวข้อก่อนหน้านี้ จะเห็นได้ว่าการที่จะตั้งศูนย์กระจายสินค้าในแต่ละแห่งนั้นจะต้องพิจารณาจากหลากหลายปัจจัยไม่ว่าจะเป็น ปัจจัยในเชิงพื้นที่ ปัจจัยของความปลอดภัย ปัจจัยของสิ่งอำนวยความสะดวก แต่ที่ขาดไม่ได้เลยคือการคำนึงถึงปัจจัยของการลงทุน เนื่องจากการจัดตั้งคลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้าในแต่ละแห่งนั้นจะต้องใช้เงินลงทุนจำนวนมหาศาล เพื่อแลกกับสิ่งที่คุ้มค้าและได้รับผลตอบแทนที่มากกว่าการลงทุน ดังนั้น จากการทำวิจัยในเรื่องการตั้งศูนย์กระจายสินค้าฯ จะต้องมีการวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายในการลงทุน เพื่อนำข้อมูลที่ได้ไปใช้วิเคราะห์ความคุ้มทุนในการจัดตั้งศูนย์กระจายสินค้า และนำข้อมูลไปประกอบตัดสินใจในการลงทุนและวิเคราะห์ระยะเวลาในการคืนทุน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
4. Table about our research work place?Method of operation.The establishment of distribution center of agricultural products of cassava pellets and it on the path to the path along the North - South Economic Corridor (R3E). The area. The framework, which is an essential step process research is divided into steps are as follows.1. Basic data collection of theories, research and related documents (the month 1-2).2. Data analysis and selection of related factors to find the location of the center products distribution company proper (months 3-5).3. Preliminary screening space in the junk distribution center (between the months of 5-8).4. Selected areas by using the principle of multiple criteria decision (MCDM) (between the months of 7-9).5. Analyzed the cost of investment and the break-even analysis of establishing products distribution centre (between the months of 9-10).6. Summary and analysis and report of research (between the months of 10-12).1.1 basic data collection of theories, research and related documentation.War Education Research of primary data from research, theory, and related documents in terms of economic corridor along the north and south. The source of cassava. Information about the establishment of a distribution center, including study theory, can be used as tools to help in decision making in the selected location. (Multiple Criteria Decision Making for Site Selection), such as how to find the center of gravity (The Center of Gravity Approach) using a model of weight and distance. (The Load - Distance Model) and study the theory related to the principle of multiple criteria decision (MCDM) including method and AHP TOPSIS. To the data and theories are applied in the research in the next step.1.2. Data analysis and selection of related factors to find the location of the center distribution at the right.To investigate information about the area and path R3E including study crop area. Source type and cassava pellets and it to find out the proper location in the establishment of the distribution center. The preliminary R3E route if the compared with an area.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: