การปกครองสมัยสุโขทัย การปกครองสมัยสุโขทัยเป็นการปกครองระบอบราชาธิปไตย  การแปล - การปกครองสมัยสุโขทัย การปกครองสมัยสุโขทัยเป็นการปกครองระบอบราชาธิปไตย  อังกฤษ วิธีการพูด

การปกครองสมัยสุโขทัย การปกครองสมัยส

การปกครองสมัยสุโขทัย
การปกครองสมัยสุโขทัยเป็นการปกครองระบอบราชาธิปไตย ที่พระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจเด็ดขาด ในตอนต้นของการตั้งอาณาจักรสุโขทัยเป็นการปกครองแบบบิดาปกครองบุตร แต่ตอนปลายสมัยเป็นการปกครองแบบธรรมราชา และมีการสร้างความสัมพันธ์กับอาณาจักรอื่น เพื่อพัฒนาอาณาจักรให้เป็นปึกแผ่นเจริญรุ่งเรือง
อาณาจักรสุโขทัยเมื่อแรกตั้ง ยังมีอาณาเขตไม่กว้างขวาง จำนวนพลเมืองยังไม่มาก และอยู่ในระหว่างก่อร่างสร้างตัว การปกครองในระยะเริ่มแรกจึงมีลักษณะเป็นระบบครอบครัว ผู้นำของอาณาจักรมีฐานะเป็นพ่อขุน มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับประชาชน ผู้ปกครองเปรียบเสมือนบิดาของประชาชนทั้งปวง ต่อมาภายหลังรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชสถานการณ์บ้านเมืองเปลี่ยนแปลงไป จึงเริ่มใช้วิธีการปกครองที่เป็นแบบแผนมากขึ้น ความสัมพันธ์ของผู้นำอาณาจักรกับประชาชนแตกต่างไปจากเดิม มีความพยายามเพิ่มพูนพระราชอำนาจพระมหากษัตริย์ให้สูงขึ้น ทรงมีฐานะเป็น ธรรมราชา และทรงให้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ประชาชนเลื่อมใสศรัทธา มาเป็นหลักในการปกครอง
ลักษณะการปกครอง
ลักษณะการปกครองสมัยสุโขทัยแบ่งได้ 2 ระยะ คือ การปกครองสมัยสุโขทัยตอนต้น เริ่มจากรัชสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ไปถึงสิ้นรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช กับการปกครองสมัยสุโขทัยตอนปลาย นับจากรัชสมัยพระยาเลอไท ไปจนกระทั่งอาณาจักรสุโขทัยหมดอำนาจลง
การปกครองสมัยสุโขทัยตอนต้น ( พ.ศ. 1792 – 1841)
เมื่อขอมมีอำนาจปกครองสุโขทัยอยู่นั้น การปกครองมีลักษณะคล้ายนายปกครองบ่าว ซึ่งขัดกับลักษณะนิสัยของคนไทยที่รักความเป็นอิสรเสรี เมื่อขับไล่ขอมไปได้ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์จึงจัดระบบการปกครองเสียใหม่ เป็นการปกครองเสมือนหนึ่งประชาชนทุกคนเป็นคนในครอบครัวเดียวกัน โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นหัวหน้าครอบครัว คือ พระมหากษัตริย์ปกครองประชาชนในลักษณะบิดาปกครองบุตร หรือที่มีผู้เรียกว่า เป็นการปกครองในระบบ ปิตุราชาธิปไตย ซึ่งมีลักษณะสำคัญดังนี้
1. รูปแบบการปกครองเป็นการปกครองแบบราชาธิปไตย คือ พระมหากษัตริย์ทรงมีฐานะเป็นผู้ปกครองสูงสุด ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตย
2. พระมหากษัตริย์ทรงมีความสัมพันธ์กับราษฎรเสมือนบิดากับบุตร มิได้มีฐานะแตกต่างจากราษฎรมากนัก กล่าวคือ พระมหากษัตริย์เปรียบได้กับหัวหน้าครอบครัวหรือพ่อ พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยตอนต้นมักใช้พระนามว่า พ่อขุน เช่น พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พ่อขุนผาเมือง พ่อขุนรามคำแหง เป็นต้น อันสะท้อนให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างพระมหากษัตริย์กับประชาชนว่ามีความใกล้ชิดกัน
3.ลักษณะการปกครองระบบครอบครัวลดหลั่นกันเป็นชั้นๆ นอกจากพระมหากษัตริย์ทรงเป็นเสมือนบิดาของราษฎรแล้ว ยังมีการจัดระบบการปกครองให้ครัวเรือนหลายครัวเรือนรวมกันเป็นบ้าน อยู่ในความดูแลของ พ่อบ้าน ผู้อยู่ในปกครองเรียกว่า ลูกบ้าน หลายบ้านรวมเป็น เมือง มีผู้ปกครองเรียกว่า พ่อเมือง เมืองหลายเมืองรวมกันเป็น ประเทศ อยู่ในปกครองของ พ่อขุน แสดงให้เห็นว่านอกจากพ่อขุนผู้เป็นประมุขสูงสุดแล้ว ยังมีผู้ปกครองที่ได้รับมอบหมายจากพ่อขุน ทำหน้าที่เป็นกลไกทางการปกครองอีกด้วย
4. พระมหากษัตริย์ทรงยึดหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาในการบริหารบ้านเมือง และทรงชักชวนให้ประชาชนปฏิบัติธรรมเพื่อที่จะสามารถอยู่ร่วมกันอย่างผาสุก ดังจะเห็นได้จากข้อความในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง ซึ่งกล่าวไว้ดังนี้ “..........พ่อขุนรามคำแหง เจ้าเมืองศรีสัชนาลัย สุโขทัยนี้ ปลูกไม้ตาลนี้ไว้สิบสี่ข้าว จึ่งให้ช่างฟันขดานหินตั้งหว่างกลางไม้ตาลนี้ วันเดือนดับเดือนโอกแปดวัน วันเดือนเต็มเดือนบ้างแปดวัน ฝูงปู่ครู เถร มหาเถร ขึ้นนั่งเหนือขดานหินสูดธรรมแก่อุบาสกฝูงท่วยจำศีล......”
การที่พ่อขุนรามคำแหงทรงให้พระเถระทั้งหลายนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาเผยแผ่ สั่งสอนราษฎรให้เป็นผู้ประพฤติดีประพฤติชอบตามหลักธรรม ก็เพื่อจะให้ราษฎรเลื่อมใสศรัทธาในศาสนาพุทธ โดยพระองค์ทรงนำทางเป็นตัวอย่าง คือ ทรงให้พระเถระเทศนาสั่งสอนที่กลางดงตาลในวันสิ้นเดือน (วันเดือนดับ) วันขึ้นแปดค่ำ (เดือนโอกแปดวัน) วันเพ็ญ (วันเดือนเต็ม) และวันแรมแปดค่ำ (เดือนบ้างแปดวัน) เป็นประจำ เป็นการนำธรรมะมาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจทำให้เกิดความสามัคคีเป็นประโยชน์ต่อการปกครอง ดังศิลาจารึกที่กล่าวไว้ดังนี้ “.......คนในเมืองสุโขทัยนี้ มักทาน มักทรงศีล มักโอยทาน พ่อขุนรามคำแหงเจ้าเมืองสุโขทัยนี้ ทั้งชาวแม่ชาวเจ้าท่วยปั่วท่วยนาง ลูกเจ้าลูกขุน ทั้งสิ้นทั้งหลาย ทั้งผู้ชายผู้หญิง ฝูงท่วยมีศรัทธาในพระพุทธศาสนา ทรงศีลเมื่อพรรษาทุกคน.........”
การปกครองสมัยสุโขทัยตอนปลาย (พ.ศ. 1841 – 1981)
หลังจากพ่อขุนรามคำแหงมหาราชเสด็จสวรรคตในพ.ศ. 1841 แล้ว อาณาจักรสุโขทัยก็เริ่มระส่ำระสาย พระมหากษัตริย์องค์ต่อมาคือ พระยาเลอไทและพระเจ้างั่วนำถม ไม่อาจรักษาความมั่นคงของอาณาจักรไว้ได้ เมืองหลายเมืองแยกตัวเป็นอิสระไม่ขึ้นต่อกรุงสุโขทัย สภาพการเมืองภายในเกิดปัญหาการสืบราชสมบัติ รูปแบบการปกครองแบบบิดากับบุตรหรือแบบปิตุราชาธิปไตย เริ่มเสื่อมคลายลง เนื่องจากสถาบันพระมหากษัตริย์ไม่มั่นคงเพียงพอ
ความระส่ำระสายในอาณาจักรสุโขทัย มีขึ้นตลอดระยะเวลาประมาณ 50 ปี หลังจากพ่อขุนรามคำแหงมหาราชสวรรคต ถึงขนาดทำให้การขึ้นครองราชย์ของพระเจ้าลิไทย ต้องใช้กำลังปราบปราม
เมื่อพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) ขึ้นครองราชย์ใน พ.ศ. 1890 นั้น ทรงตระหนักถึงความไม่มั่นคงภายใน ประกอบกับเวลานั้นอาณาจักรอยุธยาที่ตั้งขึ้นใหม่ก็กำลังแผ่อำนาจจนน่ากลัวจะเกิดอันตรายแก่กรุงสุโขทัย พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย)คงจะทรงเห็นว่าการแก้ปัญหาการเมืองด้วยการใช้อำนาจทางทหารอย่างเดียวไม่อาจทำได้ เพราะอำนาจทางทหารของกรุงสุโขทัยในรัชสมัยของพระองค์ไม่เข้มแข็งพอ จึงทรงดำเนินพระราชกุศโลบาย โดยทรงทำนุบำรุงส่งเสริมทางพระพุทธศาสนา ทรงเป็นผู้ปฏิบัติธรรมเป็นตัวอย่างแก่พสกนิกร และได้ทรงสร้างถาวรวัตถุทางพระพุทธศาสนาไว้ทั่วไป เพื่อเป็นที่เคารพบูชาของประชาราษฎรให้เกิดเลื่อมใสศรัทธายึดหลักธรรมะของพระพุทธศาสนาเป็นหลักในการดำเนินชีวิต สร้างความสามัคคีกลมเกลียวมั่นคงขึ้นในแผ่นดิน
การปกครองที่อาศัยพระพุทธศาสนานี้ เรียกว่า การปกครองแบบธรรมราชา พระมหาก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Governance of Sukhothai Governance of Sukhothai as the monarchy regime has decisive power King. At the beginning of the Kingdom of Sukhothai is the father and child custody, but as a rule late thamracha and build relationships with other States in order to develop a stable, prosperous Kingdom. Sukhothai Kingdom when the territory is not very spacious, and are not yet citizens during construction; In the initial phase, it resembles a family system. The leader of the Kingdom as a PHO Khun is closely related to the people. The guardian compared the father of all people. Later reign PHO Khun Ramkhamhaeng Maharaj situation the country has changed, so start using more parochial dominance. The relationship of citizens with Kingdom leaders differ from the original. An attempt was made to increase the power of the phunphra Kings, as he has a higher thamracha and a Buddhist Dharma principles that the people have faith in faith is a principle in governance. Administrative features. How 2 split ruling the Sukhothai period is the early Sukhothai Kingdom. Starting from the reign PHO Khun Sri Indra thit reached the end of the reign of King Ramkhamhaeng's father ruled the Sukhothai Palace to end the reign of loethai counting until all Sukhothai powers down.Governance of Sukhothai period beginning (August 10, 1792 – 1841) When there are ideal to give. The rule look like Mr. Bao, which ruled against the Thai people's characteristic love of free ison. Once relegated to the Khmer. PHO Khun Sri Indra thit, it organized governing system was broken. As a virtual Government all people as people in the same family. With the King as head of the family is a King to rule in his father's style, child custody or that someone called the ruling monarchy in which pitu main characteristics are as follows: 1. the Government of the monarchy is the King as a maximum of parents who used the sovereignty. 2. the King have a relationship with the people as the father does not have children as if they are different from the people too much. It is a monarchy with the head of the family or the father. King of the Sukhothai period beginning often use names such as PHO Khun Sri Indra thit. PHO Khun PHA mueang Memorial PHO Khun Ramkhamhaeng, etc. which reflect the relationship between the King and the people that have the same proximity. 3. System Administration feature is one family. In addition to the King as the father of the people. The Government has, for many households the household together as House is in the care of his father's House in the ruling referred to the House. Several homes as well as a city with the guardian called his city city city is located in the municipality of PHO Khun. Shows whether the PHO Khun, who is head of State and most parents who get delegate from Pho Khun acts as a mechanism for Government as well. 4. the King Dharma Buddhist principles in the administration of the country and persuade people to meditate in order to be able to live together, cosy. As can be seen from the text on the stone inscription of the PHO Khun Ramkhamhaeng, who mentioned the following ".......... PHO Khun Ramkhamhaeng, the owner, the city of Sukhothai, SI satchanalai Palm wood is planted rice, dental technicians chueng fourteen khadan stone set wangklang Palm wood. Day, month, date, day, month, last month, an eight-level, full-color monthly eight-day? The colony teacher grandfather thon thon Up to sit above the crowd as well as inhale stone khadan ubasok Dharma thuai Hibernate ......" The PHO Khun Ramkhamhaeng, King of thera Dhamma bring Buddhism to spread. Teach people to behave well, bad behavior like according to the principle of Justice is to provide the people to believe in faith in Buddhism, he is an example of navigation, "thera preach at Dong Tarn, middle for month-end date (Moon) for up to eight hours (eight days in Oakland a month), the full moon day (day, month,Full day night), and eight (eight-day? month) on a regular basis to bring morals into a heroines cause beneficial to unity Government. The stone inscription mentioned as follows "....... workers in the city of Sukhothai, often eat often and usually eat PHO Khun Ramkhamhaeng of Oy vey!, the owner of this mother of all Sukhothai owner Mrs. thuai pua thuai. The Prince jury in both men and women, there are thuai schools of faith in Buddhism and the Buddhist precepts when everyone ........."The late Sukhothai period of rule (August 10, 1841 – 1981) After PHO Khun Ramkhamhaeng 1841 census have been passed in the sights of Sukhothai Kingdom began in a State of chaos is King of loethai ngua and God put a deposit. Failed to maintain the stability of the Kingdom. An independent city separate city independent Sukhothai The political climate within the succession problems. The administrative pattern for his children or the pitu monarchy. Start at the base, because the monarchy is not stable enough. The viceroy, in the Kingdom of Sukhothai, made throughout the approximately 50 years after PHO Khun Ramkhamhaeng d. Maharaj. To such an extent that the throne of God is against Thai Li. When lithai (Thai hotel) in 1890, and the throne is aware of insecurity within that time to the new Kingdom of Ayutthaya was founded radiate power and potential danger to the Sukhothai. Lithai (Thai hotel) he saw that the political solution by using a single military power cannot be achieved because of the military power of the Sukhothai in the reign of God is not strong enough. So he conducted a Royal kutlobai With the Mission of promoting Buddhism is meditation is an example of a civilian and have built an institution the Buddhism to be worship of public people, cause to believe in faith-based principles of Buddhism's Dhamma is in life. To create harmony in a stable spiral round the Earth. The Government relies on Buddhism is called the thamracha. Phra Maha.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
การปกครองสมัยสุโขทัย
การปกครองสมัยสุโขทัยเป็นการปกครองระบอบราชาธิปไตย ที่พระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจเด็ดขาด ในตอนต้นของการตั้งอาณาจักรสุโขทัยเป็นการปกครองแบบบิดาปกครองบุตร แต่ตอนปลายสมัยเป็นการปกครองแบบธรรมราชา และมีการสร้างความสัมพันธ์กับอาณาจักรอื่น เพื่อพัฒนาอาณาจักรให้เป็นปึกแผ่นเจริญรุ่งเรือง
อาณาจักรสุโขทัยเมื่อแรกตั้ง ยังมีอาณาเขตไม่กว้างขวาง จำนวนพลเมืองยังไม่มาก และอยู่ในระหว่างก่อร่างสร้างตัว การปกครองในระยะเริ่มแรกจึงมีลักษณะเป็นระบบครอบครัว ผู้นำของอาณาจักรมีฐานะเป็นพ่อขุน มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับประชาชน ผู้ปกครองเปรียบเสมือนบิดาของประชาชนทั้งปวง ต่อมาภายหลังรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชสถานการณ์บ้านเมืองเปลี่ยนแปลงไป จึงเริ่มใช้วิธีการปกครองที่เป็นแบบแผนมากขึ้น ความสัมพันธ์ของผู้นำอาณาจักรกับประชาชนแตกต่างไปจากเดิม มีความพยายามเพิ่มพูนพระราชอำนาจพระมหากษัตริย์ให้สูงขึ้น ทรงมีฐานะเป็น ธรรมราชา และทรงให้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ประชาชนเลื่อมใสศรัทธา มาเป็นหลักในการปกครอง
ลักษณะการปกครอง
ลักษณะการปกครองสมัยสุโขทัยแบ่งได้ 2 ระยะ คือ การปกครองสมัยสุโขทัยตอนต้น เริ่มจากรัชสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ไปถึงสิ้นรัชสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช กับการปกครองสมัยสุโขทัยตอนปลาย นับจากรัชสมัยพระยาเลอไท ไปจนกระทั่งอาณาจักรสุโขทัยหมดอำนาจลง
การปกครองสมัยสุโขทัยตอนต้น ( พ.ศ. 1792 – 1841)
เมื่อขอมมีอำนาจปกครองสุโขทัยอยู่นั้น การปกครองมีลักษณะคล้ายนายปกครองบ่าว ซึ่งขัดกับลักษณะนิสัยของคนไทยที่รักความเป็นอิสรเสรี เมื่อขับไล่ขอมไปได้ พ่อขุนศรีอินทราทิตย์จึงจัดระบบการปกครองเสียใหม่ เป็นการปกครองเสมือนหนึ่งประชาชนทุกคนเป็นคนในครอบครัวเดียวกัน โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นหัวหน้าครอบครัว คือ พระมหากษัตริย์ปกครองประชาชนในลักษณะบิดาปกครองบุตร หรือที่มีผู้เรียกว่า เป็นการปกครองในระบบ ปิตุราชาธิปไตย ซึ่งมีลักษณะสำคัญดังนี้
1. รูปแบบการปกครองเป็นการปกครองแบบราชาธิปไตย คือ พระมหากษัตริย์ทรงมีฐานะเป็นผู้ปกครองสูงสุด ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตย
2. พระมหากษัตริย์ทรงมีความสัมพันธ์กับราษฎรเสมือนบิดากับบุตร มิได้มีฐานะแตกต่างจากราษฎรมากนัก กล่าวคือ พระมหากษัตริย์เปรียบได้กับหัวหน้าครอบครัวหรือพ่อ พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยตอนต้นมักใช้พระนามว่า พ่อขุน เช่น พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ พ่อขุนผาเมือง พ่อขุนรามคำแหง เป็นต้น อันสะท้อนให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างพระมหากษัตริย์กับประชาชนว่ามีความใกล้ชิดกัน
3.ลักษณะการปกครองระบบครอบครัวลดหลั่นกันเป็นชั้นๆ นอกจากพระมหากษัตริย์ทรงเป็นเสมือนบิดาของราษฎรแล้ว ยังมีการจัดระบบการปกครองให้ครัวเรือนหลายครัวเรือนรวมกันเป็นบ้าน อยู่ในความดูแลของ พ่อบ้าน ผู้อยู่ในปกครองเรียกว่า ลูกบ้าน หลายบ้านรวมเป็น เมือง มีผู้ปกครองเรียกว่า พ่อเมือง เมืองหลายเมืองรวมกันเป็น ประเทศ อยู่ในปกครองของ พ่อขุน แสดงให้เห็นว่านอกจากพ่อขุนผู้เป็นประมุขสูงสุดแล้ว ยังมีผู้ปกครองที่ได้รับมอบหมายจากพ่อขุน ทำหน้าที่เป็นกลไกทางการปกครองอีกด้วย
4. พระมหากษัตริย์ทรงยึดหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาในการบริหารบ้านเมือง และทรงชักชวนให้ประชาชนปฏิบัติธรรมเพื่อที่จะสามารถอยู่ร่วมกันอย่างผาสุก ดังจะเห็นได้จากข้อความในศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง ซึ่งกล่าวไว้ดังนี้ “..........พ่อขุนรามคำแหง เจ้าเมืองศรีสัชนาลัย สุโขทัยนี้ ปลูกไม้ตาลนี้ไว้สิบสี่ข้าว จึ่งให้ช่างฟันขดานหินตั้งหว่างกลางไม้ตาลนี้ วันเดือนดับเดือนโอกแปดวัน วันเดือนเต็มเดือนบ้างแปดวัน ฝูงปู่ครู เถร มหาเถร ขึ้นนั่งเหนือขดานหินสูดธรรมแก่อุบาสกฝูงท่วยจำศีล......”
การที่พ่อขุนรามคำแหงทรงให้พระเถระทั้งหลายนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาเผยแผ่ สั่งสอนราษฎรให้เป็นผู้ประพฤติดีประพฤติชอบตามหลักธรรม ก็เพื่อจะให้ราษฎรเลื่อมใสศรัทธาในศาสนาพุทธ โดยพระองค์ทรงนำทางเป็นตัวอย่าง คือ ทรงให้พระเถระเทศนาสั่งสอนที่กลางดงตาลในวันสิ้นเดือน (วันเดือนดับ) วันขึ้นแปดค่ำ (เดือนโอกแปดวัน) วันเพ็ญ (วันเดือนเต็ม) และวันแรมแปดค่ำ (เดือนบ้างแปดวัน) เป็นประจำ เป็นการนำธรรมะมาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจทำให้เกิดความสามัคคีเป็นประโยชน์ต่อการปกครอง ดังศิลาจารึกที่กล่าวไว้ดังนี้ “.......คนในเมืองสุโขทัยนี้ มักทาน มักทรงศีล มักโอยทาน พ่อขุนรามคำแหงเจ้าเมืองสุโขทัยนี้ ทั้งชาวแม่ชาวเจ้าท่วยปั่วท่วยนาง ลูกเจ้าลูกขุน ทั้งสิ้นทั้งหลาย ทั้งผู้ชายผู้หญิง ฝูงท่วยมีศรัทธาในพระพุทธศาสนา ทรงศีลเมื่อพรรษาทุกคน.........”
การปกครองสมัยสุโขทัยตอนปลาย (พ.ศ. 1841 – 1981)
หลังจากพ่อขุนรามคำแหงมหาราชเสด็จสวรรคตในพ.ศ. 1841 แล้ว อาณาจักรสุโขทัยก็เริ่มระส่ำระสาย พระมหากษัตริย์องค์ต่อมาคือ พระยาเลอไทและพระเจ้างั่วนำถม ไม่อาจรักษาความมั่นคงของอาณาจักรไว้ได้ เมืองหลายเมืองแยกตัวเป็นอิสระไม่ขึ้นต่อกรุงสุโขทัย สภาพการเมืองภายในเกิดปัญหาการสืบราชสมบัติ รูปแบบการปกครองแบบบิดากับบุตรหรือแบบปิตุราชาธิปไตย เริ่มเสื่อมคลายลง เนื่องจากสถาบันพระมหากษัตริย์ไม่มั่นคงเพียงพอ
ความระส่ำระสายในอาณาจักรสุโขทัย มีขึ้นตลอดระยะเวลาประมาณ 50 ปี หลังจากพ่อขุนรามคำแหงมหาราชสวรรคต ถึงขนาดทำให้การขึ้นครองราชย์ของพระเจ้าลิไทย ต้องใช้กำลังปราบปราม
เมื่อพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) ขึ้นครองราชย์ใน พ.ศ. 1890 นั้น ทรงตระหนักถึงความไม่มั่นคงภายใน ประกอบกับเวลานั้นอาณาจักรอยุธยาที่ตั้งขึ้นใหม่ก็กำลังแผ่อำนาจจนน่ากลัวจะเกิดอันตรายแก่กรุงสุโขทัย พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย)คงจะทรงเห็นว่าการแก้ปัญหาการเมืองด้วยการใช้อำนาจทางทหารอย่างเดียวไม่อาจทำได้ เพราะอำนาจทางทหารของกรุงสุโขทัยในรัชสมัยของพระองค์ไม่เข้มแข็งพอ จึงทรงดำเนินพระราชกุศโลบาย โดยทรงทำนุบำรุงส่งเสริมทางพระพุทธศาสนา ทรงเป็นผู้ปฏิบัติธรรมเป็นตัวอย่างแก่พสกนิกร และได้ทรงสร้างถาวรวัตถุทางพระพุทธศาสนาไว้ทั่วไป เพื่อเป็นที่เคารพบูชาของประชาราษฎรให้เกิดเลื่อมใสศรัทธายึดหลักธรรมะของพระพุทธศาสนาเป็นหลักในการดำเนินชีวิต สร้างความสามัคคีกลมเกลียวมั่นคงขึ้นในแผ่นดิน
การปกครองที่อาศัยพระพุทธศาสนานี้ เรียกว่า การปกครองแบบธรรมราชา พระมหาก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Rule 48
.Government era government monarchy. The king has the power. In the beginning of the Sukhothai kingdom is ruled a parental father. But at the end of the period was ruled a Buddha.To develop a unified kingdom flourished
.Sukhothai Kingdom when the first set has no extensive territory of citizens is small, and during the establishment. In the initial stage, the government is a system of family. The leader of the Kingdom and a king.Parents is the father of all the people. And it came to pass after the reign of compaction uncertain changes. The rule is used to pattern more.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: