การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่คร การแปล - การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่คร อังกฤษ วิธีการพูด

การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสาร

การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านจิตวิทยา และปัจจัยด้านแรงจูงใจของผู้บริโภค กับพฤติกรรมของผู้บริโภคในการซื้อผักปลอดสารพิษในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยผู้วิจัยได้ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (accidental sampling) จำนวน 400 ราย ผลการวิเคราะห์พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคผักปลอดสารพิษในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 41-60 ปี และมีระดับการศึกษาปริญญาตรีหรือสูงกว่า มีอาชีพรับราชการ ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรส มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือน 3-4 คน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในช่วงต่ำกว่า 20,000 บาท ทางด้านพฤติกรรมในการซื้อ ส่วนใหญ่มีความถี่ในการซื้อผักปลอดสารพิษอาทิตย์ละ 2 ครั้งต่อสัปดาห์ มีปริมาณในการซื้อผักน้อยกว่า 2 กิโลกรัม มีช่วงเวลาในการซื้อระหว่าง 8.00 – 10.00 น. โดยมีค่าใช้จ่ายในการซื้อผักปลอดสารพิษต่อครั้งอยู่ในช่วง 151-300 บาท ส่วนใหญ่จะซื้อผักปลอดสารพิษที่ริมปิงซุปเปอร์มาร์เก็ต
ผลการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม ใช้สถิติวิเคราะห์ คือ multiple regression และ chi-square พบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของผู้บริโภคในการซื้อผักปลอดสารพิษในอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ ปัจจัยที่มีผลต่อความถี่ในการซื้อผักปลอดสารพิษ/สัปดาห์ มี 7 ตัวแปร คือ จำนวนสมาชิกในครัวเรือน, รายได้ต่อเดือน, คะแนนความรู้ความเข้าใจ, การได้รับข้อมูลข่าวสาร, ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์, ปัจจัยด้านสถานที่จัดจำหน่าย และการส่งเสริมทางการตลาด ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายในการซื้อผัก/ครั้ง มี 5 ตัวแปร คือ อายุ, จำนวนสมาชิกในครัวเรือน, รายได้ต่อเดือน, การตัดสินใจในการเลือกซื้อและปัจจัยด้านการบรรจุภัณฑ์ ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณในการซื้อ มี 4 ตัวแปร คือ สถานภาพ, ระดับการศึกษา,จำนวนสมาชิกในครัวเรือน, อาชีพและปัจจัยด้านการบรรจุภัณฑ์ ปัจจัยที่มีผลต่อช่วงเวลาในการซื้อ มี 6 ตัวแปร คือ เพศ, อายุ, ระดับการศึกษา, จำนวนสมาชิกในครัวเรือน, รายได้และคะแนนความรู้ความเข้าใจ และปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบในการบริโภคผักปลอดสารพิษ มี 3 ตัวแปร คือ ระดับการศึกษา, รายได้ต่อเดือน และคะแนนความรู้ความเข้าใจ ผลการศึกษาที่ได้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางให้กับหน่วยงานที่ส่งเสริมเกษตรกรผู้ผลิตผักปลอดสารพิษ รวมถึงเกษตรกรที่สนใจ เพื่อจะนำข้อมูลที่ได้รับมาพัฒนาตลาดผักปลอดสารพิษต่อไป
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การศึกษาพฤติกรรมการบริโภคผักปลอดสารพิษ ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านจิตวิทยา และปัจจัยด้านแรงจูงใจของผู้บริโภค กับพฤติกรรมของผู้บริโภคในการซื้อผักปลอดสารพิษในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยผู้วิจัยได้ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (accidental sampling) จำนวน 400 ราย ผลการวิเคราะห์พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคผักปลอดสารพิษในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 41-60 ปี และมีระดับการศึกษาปริญญาตรีหรือสูงกว่า มีอาชีพรับราชการ ส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรส มีจำนวนสมาชิกในครัวเรือน 3-4 คน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในช่วงต่ำกว่า 20,000 บาท ทางด้านพฤติกรรมในการซื้อ ส่วนใหญ่มีความถี่ในการซื้อผักปลอดสารพิษอาทิตย์ละ 2 ครั้งต่อสัปดาห์ มีปริมาณในการซื้อผักน้อยกว่า 2 กิโลกรัม มีช่วงเวลาในการซื้อระหว่าง 8.00 – 10.00 น. โดยมีค่าใช้จ่ายในการซื้อผักปลอดสารพิษต่อครั้งอยู่ในช่วง 151-300 บาท ส่วนใหญ่จะซื้อผักปลอดสารพิษที่ริมปิงซุปเปอร์มาร์เก็ต ผลการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม ใช้สถิติวิเคราะห์ คือ multiple regression และ chi-square พบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของผู้บริโภคในการซื้อผักปลอดสารพิษในอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ ปัจจัยที่มีผลต่อความถี่ในการซื้อผักปลอดสารพิษ/สัปดาห์ มี 7 ตัวแปร คือ จำนวนสมาชิกในครัวเรือน, รายได้ต่อเดือน, คะแนนความรู้ความเข้าใจ, การได้รับข้อมูลข่าวสาร, ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์, ปัจจัยด้านสถานที่จัดจำหน่าย และการส่งเสริมทางการตลาด ปัจจัยที่มีผลต่อค่าใช้จ่ายในการซื้อผัก/ครั้ง มี 5 ตัวแปร คือ อายุ, จำนวนสมาชิกในครัวเรือน, รายได้ต่อเดือน, การตัดสินใจในการเลือกซื้อและปัจจัยด้านการบรรจุภัณฑ์ ปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณในการซื้อ มี 4 ตัวแปร คือ สถานภาพ, ระดับการศึกษา,จำนวนสมาชิกในครัวเรือน, อาชีพและปัจจัยด้านการบรรจุภัณฑ์ ปัจจัยที่มีผลต่อช่วงเวลาในการซื้อ มี 6 ตัวแปร คือ เพศ, อายุ, ระดับการศึกษา, จำนวนสมาชิกในครัวเรือน, รายได้และคะแนนความรู้ความเข้าใจ และปัจจัยที่มีผลต่อรูปแบบในการบริโภคผักปลอดสารพิษ มี 3 ตัวแปร คือ ระดับการศึกษา, รายได้ต่อเดือน และคะแนนความรู้ความเข้าใจ ผลการศึกษาที่ได้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางให้กับหน่วยงานที่ส่งเสริมเกษตรกรผู้ผลิตผักปลอดสารพิษ รวมถึงเกษตรกรที่สนใจ เพื่อจะนำข้อมูลที่ได้รับมาพัฒนาตลาดผักปลอดสารพิษต่อไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
The study consumer behavior vegetables in Chiang Mai aims to study the relationship between personal factors. Economic factors Psychological factors Factors and motivations of consumers. The behavior of consumers to buy organic vegetables in the city. Chiang Mai Province The researchers used random sampling (accidental sampling) 400 results found. Consumer groups vegetables in the city. Chiang Mai Province Most are female Between the ages of 41-60 years and has a bachelor's degree or higher. There were government officers Most of them were married The number of members in the household of 3-4 people with an average income per month is in the range of less than 20,000 baht in buying behavior. Most of the frequency of buying vegetables in a week two times a week. The amount to buy vegetables for less than 2 kilograms at the time of purchase between 8:00 to 10:00 pm. The cost of buying vegetables at a time in the range of 151-300 baht, mainly to buy vegetables. Rim Ping Supermarket toxicity
analyzes the relationship between independent variables and the dependent variable. Statistical analysis of multiple regression and chi-square showed that factors associated with consumer behavior in buying vegetables in Chiang Mai include factors that affect the frequency of buying vegetables / week 7. The variable is the number of household members, monthly income, the knowledge, the information, products, factors, factors Distribution. Marketing and promotion Factors affecting the cost of buying vegetables / time is five variables: age, number of household members, monthly income, the decision factors in selecting and packaging. Factors affecting the amount of purchase has four variables: marital status, education level, number of household members, occupation and aspects of packaging. The factors affecting the length of time to buy a six variables: gender, age, education level, number of household members, income, and cognitive scores. And the factors that affect consumption patterns in vegetables has three variables: education level, monthly income. And cognitive scores The results can be used as a guide to agencies that promote farmers who produce organic vegetables. Including farmers' interests To bring the information gained to develop vegetables to market.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Study of consumption behavior of organic vegetables in Chiang Mai Province was conducted to investigate the relationship between personal factors. Economic factors and psychological factors.The behavior of consumers to buy organic vegetables in Bangkok. The researcher used random sampling was accidental sampling) were 400 cases. The result showed thatChiang Mai, mostly female, aged between 41-60 years and educational level. ปริญญาตรีหรือ higher occupation government had marital status. The average household 3-4 people.20.000). The behavior to purchase. The frequency of buying organic vegetables each week 2 times per week. Have a quantity to buy vegetables less 2 kg. There are moments in purchase between 8.00 - 10.00.The cost of buying organic vegetables per time is in the range 151-300 baht. Most will buy organic vegetables on the edge of the table, supermarket
.The relationship between dependent and independent variables, using statistical analysis, and found that multiple regression chi-square Factors related to the behavior of consumers to buy organic vegetables in Amphoe Mueang Chiang Mai.Factors affecting the frequency of buying organic vegetables / week. 7 variables, number of household members.Income per month, the score of the knowledge understanding, get information, product factors, the factor place distribution and marketing promotion Factors affecting the cost of buying vegetables / times have 5 variables of age,Number of members in the household, income,. The decision to buy and factors of packaging. Factors affecting the quantity in the purchase, 4 variables, status, educational level, number of household members.Career and the packaging. Factors affecting time to buy a 6 variables of gender, age, educational level, number of household members,Income and rate of knowledge And the factors affecting the consumption pattern in vegetable was 3 variables of education,Monthly income and rate of knowledge The study results can be used as a way to promote vegetable farmers ปลอดสารพิษ agencies, including farmers who are interested.
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: