5720150332031 : สาขาวิชา : รัฐศาสตร์การปกครอง ; ร.ม. (รัฐศาสตร์การปกคร การแปล - 5720150332031 : สาขาวิชา : รัฐศาสตร์การปกครอง ; ร.ม. (รัฐศาสตร์การปกคร อังกฤษ วิธีการพูด

5720150332031 : สาขาวิชา : รัฐศาสตร


5720150332031 : สาขาวิชา : รัฐศาสตร์การปกครอง ; ร.ม. (รัฐศาสตร์การปกครอง)
คำสำคัญ : ความคิดเห็นของประชาชน/ต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะตามแผน
พัฒนาสามปี/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี
พภัสสรณ์ อนุเวียง : ความคิดเห็นของประชาชนต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะ
ตามแผนพัฒนาสามปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี
(THE OPINION OF PEOPLE TOWARDS POLICY OF PUBLIC 3-YEAR DEVELOPMENT PLAN DEVELOPMENT PLAN MAKING OF LOCAL GOVERNMENT ORGANZATION, MUAENG DISTRICT, CHONBURI PROVINCE) คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์ : พันตำรวจเอก ศาสตราจารย์ ดร.นิธิ ศรีวัฒนา อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก รศ.ดร.ศรชัย ท้าวมิตร อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หน้า ปี พ.ศ.2559

วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะตามแผนพัฒนาสามปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะตามแผนพัฒนาสามปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ต่างกัน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหา และแนวทางแก้ไข ความคิดเห็นของประชาชนต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะตามแผนพัฒนาสามปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขต อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี จำนวน 399 คน โดยวิธีการใช้สูตรการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของทาโร่ ยามาเน่ (Taro Yamane) และวิธีการสุ่มแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้คือ ใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ เชฟเฟ่ (Scheffé) โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
ผลการวิจัยพบว่า
1. ประชาชนมีความคิดเห็นต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะตามแผนพัฒนาสามปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในแต่ละด้านโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ด้านการศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน อยู่ในระดับมาก และ ด้านเศรษฐกิจ อยู่ในระดับมาก ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ อยู่ในระดับมากตามลำดับ
2. ผลการทดสอบสมมุติฐาน พบว่า ประชาชน มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะตามแผนพัฒนาสามปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
3. ประชาชนในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี มีความคิดเห็นต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะตามแผนพัฒนาสามปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ให้ข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไขปัญหาที่สำคัญ มีข้อเสนอแนะปัญหามากที่สุด คือ ด้านการศึกษา คือ ควรมีการแจกทุการศึกษาแก่เด็กและเยาวชนที่เรียนดี ฐานะยากจนให้จัดงบประมาณให้เพิ่มมากขึ้นเพราะเด็ก และเยาวชนยากจนจะได้มีโอกาสทางการศึกษามากขึ้น ควรจะให้มีการจัดโครงการทุนการศึกษาเด็กเรียนดีแต่ยากจน มีข้อเสนอแนะปัญหารองลงมา คือ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรจะให้มีการติดตั้งบ่อดักไขมัน และปรับปรุงท่อระบายน้ำตามตลาดสดโดยไม่ทำลาย ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อประชาชน ในเขตอำเภอเมืองจังหวัดชลบุรี ให้มากขึ้น มีข้อเสนอแนะปัญหารองลงมาอันดับสาม คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การจัดเจ้าหน้าที่ดูแลเรื่องน้ำประปาไม่ไหล มีการแก้ไขเรื่องน้ำประปาได้ช้าในชุมชนทำให้มีปัญหาในการดำรงชีพและประกอบอาชีพเลี้ยงครอบครัวอย่างดี และมีข้อเสนอแนะปัญหาน้อยที่สุด คือ ด้านเศรษฐกิจ ให้มีการสนับสนุนให้มีการออกร้านจัดสินค้าในงานกาชาดไทยประจำจังหวัดชลบุรีเพราะจะทำให้เกิดความสามัคคีและมีรายได้มาพัฒนาท้องถิ่น ให้เศรษฐกิจดีขึ้น ควรจะจัดงานกาชาดไทยในทุกชุมชนขององค์กรปกครองท้องถิ่นในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี เป็นประจำ
4. สรุปผลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูง ตามความคิดเห็นต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะตามแผนพัฒนาสามปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี โดยทำการสัมภาษณ์ผู้บริหารทั้ง 5 ท่าน ใน 4 ด้าน แต่ละด้านพอสรุปได้ดังนี้
1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน สรุปไดว่าผู้ให้สัมภาษณ์มีความคิดเห็น สอดคล้องกันส่วนมาก คือนโยบายการพัฒนาหลักของท้องถิ่น คือ ถนน ไฟฟ้า ประปา ส่วนที่เพิ่มเติมจากการพัฒนาคือ มีเป้าหมายในการพัฒนาคือการคมนาคมสะดวก และการจราจรไม่ติดขัด จัดให้มีการปรับปรุงในการพัฒนาเกี่ยวกับท่อระบายน้ำ สะพาน และทางเท้า จัดให้มีนโยบายการพัฒนาเกี่ยวกับเสียงตามสาย ทางจักรยาน และทางเดินเท้า สร้างสะพานลอยคนเดินข้ามถนน และการใช้ที่ดินในการทำกิจกรรมเพื่อประชาชน จัดให้มีการส่งเสริม และเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน เพื่อให้ทราบความต้องการของประชาชนในการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานอย่างแท้จริง การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานตามนโยบายสาธารณะเน้นให้มีประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนในทุกชุมชน
2. ด้านเศรษฐกิจ สรุปไดว่าผู้ให้สัมภาษณ์มีความคิดเห็น สอดคล้องกันส่วนมาก คือ ผู้บริหารเทศบาล จะเน้นการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวส่งเสริมอาชีพโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อความสุขที่ยั่งยืนของชุมชน มีการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวให้เป็นที่รู้จักในระดับประเทศ ส่วนนโยบาย ผลักดันให้มีต
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
5720150332031: สาขาวิชา: รัฐศาสตร์การปกครอง ร.ม. (รัฐศาสตร์การปกครอง)คำสำคัญ: ความคิดเห็นของประชาชน/ต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะตามแผนจังหวัดชลบุรีพัฒนาสามปี/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมือง พภัสสรณ์อนุเวียง: ความคิดเห็นของประชาชนต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะตามแผนพัฒนาสามปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมืองจังหวัดชลบุรี (ความเห็นของคนที่มีต่อนโยบายสาธารณะ 3 ปีพัฒนาวางแผนพัฒนาแผนการของรัฐบาลท้องถิ่น ORGANZATION อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี) คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์: พันตำรวจเอกศาสตราจารย์ดร.นิธิศรีวัฒนาอาจารย์ที่ปรึกษาหลักรศ.ดร.ศรชัยท้าวมิตรอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมหน้าปี พ.ศ.2559 เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะตามแผนพัฒนาสาจังหวัดชลบุรีเพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะตามแผนพัฒนาสามปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมืองวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ที่ 1) 2)ความคิดเห็นของประชาชนต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะตามแผนพัฒนาสามปีขององค์กรปกครองส่วนทและแนวทางแก้ไขเพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหามปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมืองจังหวัดชลบุรีจำแนกตามเพศอายุระดับการศึกษาอาชีพและรายได้ต่อเดือนต่างกัน 3)้องถิ่นในเขตอำเภอเมืองจังหวัดชลบุรีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามกลุ่มตัวอย่างคือประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมืองจังหวัดชลบุรีจำนวน 399 คนโดยวิธีการใช้สูตรการคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างของทาโร่ยามาเน่ (เผือกโดย) และวิธีการสุ่มแบบอย่างง่าย (สุ่มตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่าย) ในการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติที่ใช้คือใช้สถิติบรรยายได้แก่ค่าความถี่ (ความถี่) ค่าร้อยละ (เปอร์เซ็นต์) ค่าเฉลี่ย()ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิงได้แก่การทดสอบค่าที (t-ทดสอบ) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว F-test (ทางเดียว ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า 1. ประชาชนมีความคิดเห็นต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะตามแผนพัฒนาสามปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมืองจังหวัดชลบุรีโดยรวมทั้ง 4 ด้านอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาในแต่ละด้านโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือด้านการศึกษาอยู่ในระดับมากที่สุดรองลงมาคือด้านโครงสร้างพื้นฐานอยู่ในระดับมากและด้านเศรษฐกิจอยู่ในระดับมากส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือด้านทรัพยากรธรรมชาติอยู่ในระดับมากตามลำดับ 2. ผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่าประชาชนมีเพศอายุระดับการศึกษาอาชีพและรายได้ต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็นต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะตามแผนพัฒนาสามปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมืองจังหวัดชลบุรีโดยรวมทั้ง 4 ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ประชาชนในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมืองจังหวัดชลบุรีมีความคิดเห็นต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะตามแผนพัฒนาสามปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ให้ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไขปัญหาที่สำคัญมีข้อเสนอแนะปัญหามากที่สุดคือด้านการศึกษาคือควรมีการแจกทุการศึกษาแก่เด็กและเยาวชนที่เรียนดีฐานะยากจนให้จัดงบประมาณให้เพิ่มมากขึ้นเพราะเด็กและเยาวชนยากจนจะได้มีโอกาสทางการศึกษามากขึ้นควรจะให้มีการจัดโครงการทุนการศึกษาเด็กเรียนดีแต่ยากจนมีข้อเสนอแนะปัญหารองลงมาคือด้านทรัพยากรธรรมชาติองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรจะให้มีการติดตั้งบ่อดักไขมันและปรับปรุงท่อระบายน้ำตามตลาดสดโดยไม่ทำลายทรัพยากรธรรมชาติเพื่อประชาชนในเขตอำเภอเมืองจังหวัดชลบุรีให้มากขึ้นมีข้อเสนอแนะปัญหารองลงมาอันดับสามคือด้านโครงสร้างพื้นฐานการจัดเจ้าหน้าที่ดูแลเรื่องน้ำประปาไม่ไหลมีการแก้ไขเรื่องน้ำประปาได้ช้าในชุมชนทำให้มีปัญหาในการดำรงชีพและประกอบอาชีพเลี้ยงครอบครัวอย่างดีและมีข้อเสนอแนะปัญหาน้อยที่สุดคือด้านเศรษฐกิจให้มีการสนับสนุนให้มีการออกร้านจัดสินค้าในงานกาชาดไทยประจำจังหวัดชลบุรีเพราะจะทำให้เกิดความสามัคคีและมีรายได้มาพัฒนาท้องถิ่นให้เศรษฐกิจดีขึ้นควรจะจัดงานกาชาดไทยในทุกชุมชนขององค์กรปกครองท้องถิ่นในเขตอำเภอเมืองจังหวัดชลบุรีเป็นประจำ 4. สรุปผลจากการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงตามความคิดเห็นต่อนโยบายการให้บริการสาธารณะตามแผนพัฒนาสามปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมืองจังหวัดชลบุรีโดยทำการสัมภาษณ์ผู้บริหารทั้ง 5 ท่านใน 4 ด้านแต่ละด้านพอสรุปได้ดังนี้ 1. ด้านโครงสร้างพื้นฐานสรุปไดว่าผู้ให้สัมภาษณ์มีความคิดเห็นสอดคล้องกันส่วนมากคือนโยบายการพัฒนาหลักของท้องถิ่นคือถนนไฟฟ้าประปาส่วนที่เพิ่มเติมจากการพัฒนาคือมีเป้าหมายในการพัฒนาคือการคมนาคมสะดวกและการจราจรไม่ติดขัดจัดให้มีการปรับปรุงในการพัฒนาเกี่ยวกับท่อระบายน้ำสะพานและทางเท้าจัดให้มีนโยบายการพัฒนาเกี่ยวกับเสียงตามสายทางจักรยานและทางเดินเท้าสร้างสะพานลอยคนเดินข้ามถนนและการใช้ที่ดินในการทำกิจกรรมเพื่อประชาชนจัดให้มีการส่งเสริมและเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานเพื่อให้ทราบความต้องการของประชาชนในการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานอย่างแท้จริงการพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานตามนโยบายสาธารณะเน้นให้มีประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนในทุกชุมชน 2. ด้านเศรษฐกิจสรุปไดว่าผู้ให้สัมภาษณ์มีความคิดเห็นสอดคล้องกันส่วนมากคือผู้บริหารเทศบาลจะเน้นการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวส่งเสริมอาชีพโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อความสุขที่ยั่งยืนของชุมชนมีการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวให้เป็นที่รู้จักในระดับประเทศส่วนนโยบายผลักดันให้มีต
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

5720150332031: สาขาวิชา: รัฐศาสตร์การปกครอง; ร.ม. (รัฐศาสตร์การปกครอง)
คำสำคัญ:
ชลบุรี บริษัท จังหวัด
พภัสสรณ์คุณอนุเวียง:
จังหวัดชลบุรี
(ความเห็นของประชาชนที่มีต่อนโยบายมหาชน 3 ปีการพัฒนาแผนพัฒนาแผนทำ ORGANZATION รัฐบาลท้องถิ่น, MUAENG อำเภอจังหวัดชลบุรี) คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์:. พันตำรวจเอกศาสตราจารย์ดรนิธิศรีวัฒนา อาจารย์ที่ปรึกษาหลักรศ . ดร. ศรชัยท้าวมิตรอาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หน้าปี 1) จังหวัดชลบุรี 2) จังหวัดชลบุรีจำแนกตามเพศอายุระดับการ ศึกษาอาชีพและรายได้ต่อเดือนต่างกัน 3) และแนวทางแก้ไข อำเภอเมืองจังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างคือ จังหวัดชลบุรีจำนวน 399 คน ยามาเน่ (Taro Yamane) และวิธีการสุ่มแบบอย่างง่าย (แบบง่ายสุ่ม) ในการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติที่ใช้ คือใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (ร้อยละ) ค่าเฉลี่ย () ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบ ค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-way ANOVA) เชฟเฟ่ (Scheffé) จังหวัดชลบุรีโดยรวมทั้ง 4 ด้านอยู่ในระดับมาก พบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยมาก ที่สุดคือด้านการศึกษาอยู่ในระดับมากที่สุดรองลงมาคือด้านโครงสร้างพื้นฐานอยู่ในระดับมากและด้านเศรษฐกิจอยู่ในระดับมาก ด้านทรัพยากรธรรมชาติอยู่ในระดับมากตามลำดับ2 ผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่าประชาชนมี เพศอายุระดับการศึกษาอาชีพและรายได้ต่อเดือนต่างกัน จังหวัดชลบุรีโดยรวมทั้ง 4 ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 3 จังหวัดชลบุรี ได้ให้ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข ปัญหาที่สำคัญมีข้อเสนอแนะปัญหามากที่สุดคือด้านการศึกษาคือ มีข้อเสนอแนะปัญหารองลงมา คือด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อประชาชนในเขตอำเภอเมืองจังหวัด ชลบุรีให้มากขึ้นมีข้อเสนอแนะปัญหารองลงมาอันดับสามคือด้านโครงสร้างพื้นฐาน และมีข้อเสนอแนะปัญหาน้อยที่สุด คือด้านเศรษฐกิจ ให้เศรษฐกิจดีขึ้น จังหวัดชลบุรีเป็นประจำ4 จังหวัดชลบุรีโดยทำการสัมภาษณ์ผู้บริหารทั้ง 5 ท่านใน 4 ด้านแต่ละด้านพอสรุปได้ดังนี้1 ด้านโครงสร้างพื้นฐาน สอดคล้องกันส่วนมากคือนโยบายการพัฒนา หลักของท้องถิ่นคือถนนไฟฟ้าประปาส่วนที่เพิ่มเติมจากการพัฒนาคือ และการจราจรไม่ติดขัด สะพานและทางเท้า ทางจักรยานและทางเดินเท้าสร้างสะพานลอย คนเดินข้ามถนน จัดให้มีการส่งเสริม ด้านเศรษฐกิจ สอดคล้องกันส่วนมากคือผู้บริหารเทศบาล เพื่อความสุขที่ยั่งยืนของชุมชน ส่วนนโยบายผลักดันให้มีต








การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: