นอกจากนี้จากข้อมูลบันทึกการบริหารแขนและข้อไหล่ประจำวัน ที่กลุ่มทดลองส่ การแปล - นอกจากนี้จากข้อมูลบันทึกการบริหารแขนและข้อไหล่ประจำวัน ที่กลุ่มทดลองส่ อังกฤษ วิธีการพูด

นอกจากนี้จากข้อมูลบันทึกการบริหารแข

นอกจากนี้จากข้อมูลบันทึกการบริหารแขนและข้อไหล่ประจำวัน ที่กลุ่มทดลองส่งคืนผู้วิจัยจำนวน 25 ราย (จาก 29 ราย) ท่าบริหารแขนและข้อไหล่ จำนวน 11 ท่า แบ่งออกเป็น ท่าที่บริหารที่ไม่ใช่ยางยืด และ ท่าที่ใช้ยางยืด โดยพบว่าท่าบริหารที่ไม่ใช้ยางยืดเป็นท่าที่กลุ่มทดลองสามารถปฏิบัติได้ตั้งแต่วันแรกหลังผ่าตัดถึง 6 สัปดาห์หลังผ่าตัด พบว่า ท่าที่เลือกปฏิบัติมากที่สุด คือ ท่าที่ 1: กำมือ-แบมือ ซึ่งในการบริหารท่านี้เป็นการบริหารแบบ ไม่มีการเคลื่อนไหวแขนและข้อไหล่ทำให้บริหารได้ง่าย ไม่กระตุ้นให้เกิดความเจ็บปวด ส่วนท่าที่กลุ่มทดลองเลือกปฏิบัติน้อย คือ ท่าที่ 3: ท่าแกว่งแขนและท่าที่ 7: ท่าไต่ผนังด้านหน้า ตามลำดับ เนื่องจากเป็นท่าที่ต้องมีการกางแขนเพื่อเพิ่มองศาการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ในท่างอแขนและท่ากางแขน ทั้งนี้เป็นเพราะท่าบริหารทั้ง 2 ท่ากระตุ้นให้เกิดความเจ็บปวดที่บริเวณแผลผ่าตัดได้ เนื่องมาจากระยะแรกหลังผ่าตัดผู้ป่วยมีอาการ ปวดตึงแผลผ่าตัด ซึ่งเป็นช่วยที่เนื้อเยื่อได้รับการบาดเจ็บ ในการที่จะเริ่มสร้างโครงร่างของ collagen และเกิดเป็น แผลเป็น (scar) หรือแผลเป็นดึงรั้ง (fibrosis) ใช้เวลาอย่างน้อย 3 สัปดาห์(Herdrich & Liechty, 2010; Crawford, 2012) โดยท่าบริหารดังกล่าวกลุ่มทดลองเลือกปฏิบัติท่าดังกล่าวน้อยเฉพาะในระยะที่อยู่โรงพยาบาล ส่วนระยะ 1 สัปดาห์หลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลและ 6 สัปดาห์หลังผ่าตัดกลุ่มทดลอง เลือกปฏิบัติท่าบริหารดังกล่าวได้มากขึ้น ทั้งนี้ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของนงนุช ทากังหา (2552) ศึกษาผลของโปรแกรมการบริหารแขนและข้อไหล่ต่อความสามารถในการบริหารแขนและข้อไหล่และภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด พบว่า หลังผ่าตัด 1 สัปดาห์ ท่าบริหารที่ปฏิบัติได้น้อย คือ ท่าไต่ผนัง ท่า กางแขนขึ้นลง ท่ากางแขนเพื่อเพิ่มองศาการเคลื่อนไหวแขนและไหล่ในท่ากางแขน(abduction), ท่างอแขน(flexion) ส่วนท่าบริหารโดยใช้ยางยืด กลุ่มทดลองเลือกปฏิบัติในระยะ หลังผ่าตัด 1 สัปดาห์ โดยท่าบริหารที่กลุ่มตัวอย่างเลือกปฏิบัติมากที่สุด คือ ท่าที่ 11: ท่าบริหารกล้ามเนื้อไหล่และต้นแขนด้วยยางยืด ท่าบริหารที่เลือกปฏิบัติ น้อยที่สุด คือ ท่าที่ 8: ท่าบริหารกล้ามเนื้อไหล่ด้านหน้าด้วยยางยืด ซึ่งเป็นท่าบริหารที่เพิ่มองศาการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ในท่างอแขน ทั้งนี้เนื่องจากการบริหารแขนและข้อไหล่โดยใช้ยางยืดนั้นต้องใช้แรงและการเกร็งของกล้ามเนื้อในการดึงยางยืด แต่เนื่องจากกกลุ่มทดลองยังมีอาการปวดบริเวณแผลผ่าตัดอยู่ ดังนั้นในระยะ 2 สัปดาห์แรกหลังผ่าตัดกลุ่มทดลองจึงเลือกบริหารท่าที่กระตุ้นความเจ็บปวดน้อย นอกจากนี้ จากข้อมูลการเลือกท่าบริหารแขนและข้อไหล่ ในกลุ่มทดลองตั้งแต่ระยะ 1 สัปดาห์หลังผ่าตัดถึง 6 สัปดาห์หลังผ่าตัด ยังพบว่า ท่าอื่นๆที่กลุ่มทดลองเลือกปฏิบัติน้อย ได้แก่ ท่าที่ 3: ท่าแกว่งแขน, ท่าที่ 7: ท่าไต่ผนังด้านหน้า และท่าที่ 11: ท่าบริหารกล้ามเนื้อไหล่และต้นแขนด้วยยางยืด ซึ่งเป็นท่าบริหารเพื่อเพิ่มองศาการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ในท่างอแขนและท่ากางแขน จึงส่งผลทำให้ระยะ 6 สัปดาห์หลังผ่าตัด กลุ่มทดลองมี องศาการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ในท่างอเขนลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับระยะก่อนผ่าตัด (ตารางที่ 8)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
In addition, the record executive arm and shoulders daily experimental group returned a list of 25 research (from 29 entries), the executive arm of the shoulders and the pier 11 at the port is divided into non-elastic and elastic-based attitude. 6 weeks after the surgery, found that most of the discrimination that port is port 1: WISP-hand which in the port administration management There are no shoulder and arm movements, easier management. Does not induce pain best posture a little discrimination trial group is posture 3: tha swing arms and posture 7: At the front of the wall climb, respectively, because of the dignity that needs to be spread, arms to increase degree of motion in the shoulder and arm postures to stretch out their arm port. This is because all management port 2. Because the first stage after surgery for patients with pain, tension, surgical incisions, which is helping the tissue injury. In order to start creating the layout of a collagen scar (scar) scar or download times (fibrosis) uses at least 3 times. & Liechty, 2010; Crawford, 2012) by tha Administration said such discrimination trial group at least only in hospital. Best stage 1 week after selling off hospitals and 6 weeks after the surgery, the experimental group. All this is consistent with the study of Kang Ta Nong NUCH (2552 (2009)) studied the effect of the program management arm and shoulder to the ability to manage the arms and the shoulders and complications after surgery. I found that after surgery for 1 week. Is climbing the walls to unfurl the arm port. THA Kang sleeves to increase the degree of movement in the shoulder and arm postures to stretch out the arms (abduction), THA bend arm (flexion). Best Portal managed by using elastic Experimental group discrimination within 1 week after surgery by tha administration sample that most discrimination is that 11: THA muscles shoulder and the arm with elastic The management port is the port of little discrimination at 8: At the front of the shoulder muscles with elastic The management port is increasing degrees of motion in the shoulders, arms bent posture. But because the trial Group also have pain at the surgical incisions. Therefore, in the first 2 weeks after surgery, experimental group, then select the port administration at least pain stimulation. In addition, data from the Select port management arm and the shoulder. 1 week after surgery and six weeks after the surgery, also found that the experimental group is posture that discrimination is less complex at 3: Arm swing gesture, posture posture in front of the wall climbing: 7 and 11 ports: THA muscles shoulder and the arm with elastic Where is the port management to increase the degree of movement in the shoulder and arm in arm with their flare attitude result in phase 6 weeks after surgery. There are experimental groups. (Table 8).
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
นอกจากนี้จากข้อมูลบันทึกการบริหารแขนและข้อไหล่ประจำวัน ที่กลุ่มทดลองส่งคืนผู้วิจัยจำนวน 25 ราย (จาก 29 ราย) ท่าบริหารแขนและข้อไหล่ จำนวน 11 ท่า แบ่งออกเป็น ท่าที่บริหารที่ไม่ใช่ยางยืด และ ท่าที่ใช้ยางยืด โดยพบว่าท่าบริหารที่ไม่ใช้ยางยืดเป็นท่าที่กลุ่มทดลองสามารถปฏิบัติได้ตั้งแต่วันแรกหลังผ่าตัดถึง 6 สัปดาห์หลังผ่าตัด พบว่า ท่าที่เลือกปฏิบัติมากที่สุด คือ ท่าที่ 1: กำมือ-แบมือ ซึ่งในการบริหารท่านี้เป็นการบริหารแบบ ไม่มีการเคลื่อนไหวแขนและข้อไหล่ทำให้บริหารได้ง่าย ไม่กระตุ้นให้เกิดความเจ็บปวด ส่วนท่าที่กลุ่มทดลองเลือกปฏิบัติน้อย คือ ท่าที่ 3: ท่าแกว่งแขนและท่าที่ 7: ท่าไต่ผนังด้านหน้า ตามลำดับ เนื่องจากเป็นท่าที่ต้องมีการกางแขนเพื่อเพิ่มองศาการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ในท่างอแขนและท่ากางแขน ทั้งนี้เป็นเพราะท่าบริหารทั้ง 2 ท่ากระตุ้นให้เกิดความเจ็บปวดที่บริเวณแผลผ่าตัดได้ เนื่องมาจากระยะแรกหลังผ่าตัดผู้ป่วยมีอาการ ปวดตึงแผลผ่าตัด ซึ่งเป็นช่วยที่เนื้อเยื่อได้รับการบาดเจ็บ ในการที่จะเริ่มสร้างโครงร่างของ collagen และเกิดเป็น แผลเป็น (scar) หรือแผลเป็นดึงรั้ง (fibrosis) ใช้เวลาอย่างน้อย 3 สัปดาห์(Herdrich & Liechty, 2010; Crawford, 2012) โดยท่าบริหารดังกล่าวกลุ่มทดลองเลือกปฏิบัติท่าดังกล่าวน้อยเฉพาะในระยะที่อยู่โรงพยาบาล ส่วนระยะ 1 สัปดาห์หลังจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลและ 6 สัปดาห์หลังผ่าตัดกลุ่มทดลอง เลือกปฏิบัติท่าบริหารดังกล่าวได้มากขึ้น ทั้งนี้ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของนงนุช ทากังหา (2552) ศึกษาผลของโปรแกรมการบริหารแขนและข้อไหล่ต่อความสามารถในการบริหารแขนและข้อไหล่และภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด พบว่า หลังผ่าตัด 1 สัปดาห์ ท่าบริหารที่ปฏิบัติได้น้อย คือ ท่าไต่ผนัง ท่า กางแขนขึ้นลง ท่ากางแขนเพื่อเพิ่มองศาการเคลื่อนไหวแขนและไหล่ในท่ากางแขน(abduction), ท่างอแขน(flexion) ส่วนท่าบริหารโดยใช้ยางยืด กลุ่มทดลองเลือกปฏิบัติในระยะ หลังผ่าตัด 1 สัปดาห์ โดยท่าบริหารที่กลุ่มตัวอย่างเลือกปฏิบัติมากที่สุด คือ ท่าที่ 11: ท่าบริหารกล้ามเนื้อไหล่และต้นแขนด้วยยางยืด ท่าบริหารที่เลือกปฏิบัติ น้อยที่สุด คือ ท่าที่ 8: ท่าบริหารกล้ามเนื้อไหล่ด้านหน้าด้วยยางยืด ซึ่งเป็นท่าบริหารที่เพิ่มองศาการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ในท่างอแขน ทั้งนี้เนื่องจากการบริหารแขนและข้อไหล่โดยใช้ยางยืดนั้นต้องใช้แรงและการเกร็งของกล้ามเนื้อในการดึงยางยืด แต่เนื่องจากกกลุ่มทดลองยังมีอาการปวดบริเวณแผลผ่าตัดอยู่ ดังนั้นในระยะ 2 สัปดาห์แรกหลังผ่าตัดกลุ่มทดลองจึงเลือกบริหารท่าที่กระตุ้นความเจ็บปวดน้อย นอกจากนี้ จากข้อมูลการเลือกท่าบริหารแขนและข้อไหล่ ในกลุ่มทดลองตั้งแต่ระยะ 1 สัปดาห์หลังผ่าตัดถึง 6 สัปดาห์หลังผ่าตัด ยังพบว่า ท่าอื่นๆที่กลุ่มทดลองเลือกปฏิบัติน้อย ได้แก่ ท่าที่ 3: ท่าแกว่งแขน, ท่าที่ 7: ท่าไต่ผนังด้านหน้า และท่าที่ 11: ท่าบริหารกล้ามเนื้อไหล่และต้นแขนด้วยยางยืด ซึ่งเป็นท่าบริหารเพื่อเพิ่มองศาการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ในท่างอแขนและท่ากางแขน จึงส่งผลทำให้ระยะ 6 สัปดาห์หลังผ่าตัด กลุ่มทดลองมี องศาการเคลื่อนไหวของข้อไหล่ในท่างอเขนลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับระยะก่อนผ่าตัด (ตารางที่ 8)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The record management arm and shoulder The group returned to the findings 25 cases (cases) from 29 practiced management arm and shoulder, the 11 posture, divided into the management that is not elastic And I used elastic6 weeks after surgery showed that pose discrimination most is 1 postureHandful - open your hand, which in the management of this management model No movement arm and shoulder to manage easily Do not stimulate the pain The exercise group discrimination, little is 3 posture: the swing arm and the 7The climb the front wall, respectively. Because I have to stretch to increase the degree of motion of the shoulder joint in her arms and the arms) This is because the management of the 2Due to early after surgery the patient has pain, stiffness, surgical Which help tissue injuries In order to start the construction scheme of collagen and a scar (scar) or scar hold (fibrosis) using at least 3&, LiechtyCrawford 2010,2012) by landing the management group discrimination tha such little only in that hospital. The phase 1 weeks after discharge from hospital, and 6 weeks after surgery groupsHowever, according to the study of 4, slug seeking (2552) to study the effects of arm and shoulder management program on the ability of arm and shoulder and the complications after surgery Found that after surgery 1 weekIs tha climbing up and down the arms, the arms to increase the degree of movement arm and shoulder ในท่า arms (abduction)You bend your arms (flexion), the port management by elastic The experimental group discrimination in the postoperative 1 week By the management group to select the most practical is the 11The management of shoulder muscles and upper arms with elastic management position discrimination. The least was the 8The management of shoulder muscles in front with elastic Which is practiced management add shoulder movements in her arm.)But since the group was also the pain the wound in surgery. So in the first week 2 postoperative phase group chose management position trigger pain less In addition, from the selection of port management arm and shoulder1 weeks after surgery to 6 weeks after surgery, also found that the other group discrimination or less, such as posture 3The swing arm, the 7: the climbing wall and the front position 11The management of shoulder muscles and upper arms with elastic Which is an exercise to increase shoulder movements in you bend your arms and tha arms sent the phase 6 weeks after the surgery group(Table 8)
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: