• Lima bulan, dipanggil sebulan Hoa boleh Senarai lagu (Julai-duduk) setiap bulan, pertengahan musim hujan, dan sebagai bulan dengan salakphat merit yang Myanmar yang dipanggil mencerminkan anduh kuning digunakan untuk menangkap TIO bawae. Kertas kemudian roti akan mengecut. Pada masa ini, terdapat salakphat berair persembahan kurang dibincangkan. Tetapi dengan kerja: antarabangsa. Adakah ibadat Kampung ke arah berkhatan ngapa hantu pautan di pinggir bandar Mandalay? Bulan ini adalah bulan di mana hujan jatuh keras daripada mana-mana lain bulan biasanya. • Enam bulan bulan Fukuda dipanggil d. Lee (Ogos-September) sebulan, banjir. Air di sepanjang Sungai terusan. um, penuh Bank. Banyak acara mendayung tempatan dan penduduk bulan ini, dilihat sebagai sebuah rakit kayu belayar oleh baris indah Sungai. Terutamanya di Sungai Ayeyarwady. Rakit kayu akan dapat belayar dari utara ke destinasi pada port Yangon bulan ini dan air lagi, nelayan mula Memancing Bodhisattva Kannon turun. Dengan sebulan dengan ikan banyak adalah khas. •เดือนเจ็ด เรียกว่า เดือนดะดีงจุ๊ต (ก.ย.-ต.ค.) ในวันเพ็ญของเดือนนี้จะมีการทำปวารณาในหมู่สงฆ์ ชาวพุทธพม่าเรียกวันนี้เป็นวันอภิธรรม ด้วยเป็นวันที่พระพุทธองค์เสด็จลงมาจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ หลังจากที่ทรงเทศนาพระอภิธรรมตลอด 3 เดือนในพรรษาที่ผ่านมา ชาวพุทธจะจัดงานจุดประทีปเพื่อสักการะบูชาพระพุทธเจ้า นอกจากนี้ยังมีงานลอยโคมไฟ บางที่จะทำโคมลอยขนาดใหญ่เป็นรูปโพตู่ด่อ หรือปะขาว รูปช้าง และรูปเสือ เป็นอาทิ นัยว่าทำเพื่อบูชาพระธาตุจุฬามณี ซึ่งอยู่บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ นอกจากนี้ในรัฐฉานจะมีงานบูชาพระเจ้าผ่องด่ออูซึ่งเป็นพุทธรูป 5 องค์ ที่หมู่บ้านนันฮู) ณ กลางทะเลสาปอีงเล กล่าวกันว่าพระเจ้าผ่องด่ออูเป็นพระพุทธรูปที่มีมาแต่สมัยพระเจ้าอะลองสี่ ตู่แห่งพุกาม ต่อจากวันอภิธรรมจะเป็นวันออกจากพรรษา ซึ่งตรงกับวันแรม 1 ค่ำ ของเดือนดะดีงจุ๊ต ในเดือนดะดีงจุ๊ตนี้ยังจัดประเพณีไหว้ขมาต่อบิดามารดาและครูบาอาจารย์ นอกจากนี้ชาวพม่ายังเริ่มจัดงานมงคลสมรสกันในเดือนนี้ โดยเริ่มจัดนับแต่วันแรม 1 ค่ำ ของเดือนตะดีงจุ๊ต ด้วยเชื่อว่าช่วงในพรรษานั้น กามเทพหรือเทพสัตตะภาคะจำต้องพักผ่อน จึงต้องเลี่ยงจัดงานแต่งงานในช่วงเวลาดังกล่าว จนกว่าจะพ้นช่วงพรรษา •เดือนแปด เรียกว่า เดือนดะส่องโมง (ต.ค.-พ.ย.) เป็นเดือนเปลี่ยนฤดูจากหน้าฝนย่างเข้าหน้าหนาว กล่าวคือครึ่งแรกของเดือนจะเป็นท้ายฤดูฝน และครึ่งหลังของเดือนจะเป็นช่วงต้นหนาว ชาวนาจะเริ่มเก็บเกี่ยวข้าวกันในเดือนนี้ ในทางพุทธศาสนานั้น เดือนดะส่องโมงถือเป็นเดือนสำหรับงานทอดกฐิน ซึ่งที่จริงพม่ากำหนดช่วงเวลาจัดงานทอดกฐินเริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำกลางเดือนดะดีงจุ๊ต จนถึงวันเพ็ญกลางเดือนดะส่องโมง รวมเวลาหนึ่งเดือนเต็ม ในงานกฐินนี้จะมีการแห่ครัวทานที่พม่าเรียกว่า ปเดต่าบี่งหรือ ต้นกัลปพฤกษ์ และในวันสุดท้ายของฤดูกฐิน ซึ่งตรงกับวันเพ็ญของเดือนดะส่องโมงนั้น ชาวพุทธพม่าจะมีการจัดงานจุลกฐิน พม่าเรียกจุลกฐินนี้ว่า มโตตี่งกาง แปลตามศัพท์ว่า "จีวรไม่บูด" เทียบได้กับอาหารที่ไม่ทิ้งให้ค้างคืนจนเสีย มโตตี่งกางเป็นกฐินที่ต้องทำให้แล้วเสร็จภายในวันเดียว เริ่มแต่ปั่นฝ้ายให้เป็นด้าย จากด้ายทอให้เป็นผืนผ้า แล้วย้อมตัดเย็บเป็นจีวร ในเดือนนี้ยังมีพิธีตามประทีป และทอดผ้าบังสุกุล หรือปั้งดะกู่ อีกด้วย •เดือนเก้า เรียกว่า เดือนนะด่อ (พ.ย.-ธ.ค.) เป็นเดือนที่เก็บเกี่ยวข้าวเสร็จแล้ว ชาวนา จะนวดข้าวและสงฟางสุมเป็นกอง เดิมเคยเป็นเพียงเดือนสำหรับบูชานัตหลวงหรือผีหลวงที่ เขาโปปาแห่งเมืองพุกาม แต่ปัจจุบันพม่ากำหนดให้มีงานเทิดเกียรติกวีและนักปราชญ์ของพม่าแทน โดยจัดในวันขึ้น 1 ค่ำ งานนี้เริ่มจัดเป็นครั้งแรกในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1944 ทุกๆปีจะจัดให้มีการอ่านบทประพันธ์และการเสวนาเกี่ยวกับวรรณกรรมกันตามสถาน ศึกษา และตามย่านชุมชนต่างๆ สำหรับในยุคราชวงศ์เคยถือเอาเดือนนี้จัดพระราชพิธีเพื่อมอบบรรดาศักดิ์ให้ กับนักรบนักปกครอง ตลอดจนกวีที่มีผลงานดีเด่น ตัวอย่างบรรดาศักดิ์สำหรับนักรบมีเช่น เนมะโยเชยยะสูระ และมหาสีริเชยยะสูระ เป็นต้น ส่วนบรรดาศักดิ์สำหรับกวี อาทิ นัตฉิ่งหน่อง ปเทสะราชา ชเวต่องนันทะสู และเส่งตะจ่อตู่ เป็นต้น แต่เดิมนั้นเดือนนี้ยังเป็นเดือนสำหรับการคล้องช้างอีกด้วย
การแปล กรุณารอสักครู่..
![](//thimg.ilovetranslation.com/pic/loading_3.gif?v=b9814dd30c1d7c59_8619)