1.สมุนไพรปรับอากาศจากตะไคร้  ตะไคร้ : Ta khrai (ตะไคร้เป็นได้ทั้งพืชเค การแปล - 1.สมุนไพรปรับอากาศจากตะไคร้  ตะไคร้ : Ta khrai (ตะไคร้เป็นได้ทั้งพืชเค อังกฤษ วิธีการพูด

1.สมุนไพรปรับอากาศจากตะไคร้ ตะไคร้

1.สมุนไพรปรับอากาศจากตะไคร้
ตะไคร้ : Ta khrai (ตะไคร้เป็นได้ทั้งพืชเครื่องเทศและสมุนไพร)
ชื่อวิทยาศาสตร์Cymbopogon citrates (DC.exNees) Stapf.
ชื่อวงศ์Gramineae
ชื่ออังกฤษ Lemon grass , Citronella, West Indian lemongrass
ชื่ออื่นๆคมหอม (ฉาน, เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน) ไคร (ใต้,มาเลย์) จะไคร (ภาคเหนือ) เชิดเกยเสลอะเกรย (สุรินทร์) ห่อวอตะโป (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) หัวสิงไค (เขมร - ปราจีนบุรี)
ส่วนที่ใช้ ราก ต้น ใบ เหง้า
สารที่พบน้ามันหอมระเหยมีประมาณ 0.16% น้ามันหอมระเหย เช่น citraleugenol, geraniol,inalool,camphor

2. คุณสมบัติ
2.1.แก้ท้องอืดท้องเฟ้อแน่นจุกเสียดขับลมแก้อาการเกร็งและขับเหงื่อ
2.2.เป็นยาขับปัสสาวะแก้นิ่วแก้ปัสสาวะพิการแก้ปัสสาวะเป็นเลือด ลดความดันโลหิตสูง
2.3.ใช้ปรุงแต่งกลิ่นรสอาหารใช้ดับกลิ่นคาวของอาหารใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องแกงต่างๆ

3. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ตะไคร้เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวประเภทล้มลุกเจริญเติบโตรวมอยู่เป็นกอใบและหัวมีกลิ่นหอมรากเป็นระบบรากฝอยลำต้นอยู่บนดินรวมกันเป็นกอแน่นมีสีเขียวและม่วงอ่อนลาต้นเป็นรูปทรงกระบอกมีลักษณะแข็งเกลี้ยงตามปล้องมักมีไขปกคลุมลาต้นสูงได้ถึง 1 เมตรใบเป็นใบเดี่ยวมีลักษณะยาวเรียวคล้ายใบข้าวใบรูปขอบขนาดแคบใบกว้างประมาณ 2 เซนติเมตรยาวได้ถึง 100 เซนติเมตรปลายใบแหลมผิวใบทั้งสองด้านมีลักษณะสากมือเส้นกลางใบแข็งตรงรอยต่อระหว่างกากใบและตัวใบมีเกล็ดบางๆยาวประมาณ 2 มิลลิเมตรตามขอบใบมีขนเล็กน้อยดอกออกเป็นช่อขนาดใหญ่ช่อดอกย่อยมีก้านออกเป็นคู่ๆแต่ละคู่รองรับด้วยใบประดับช่อดอกย่อยประกอบด้วยดอกย่อยออกเป็นคู่ๆดอกหนึ่งมีก้านอีกดอกหนึ่งไม่มีก้านภายในดอกย่อยแต่ละดอกประกอบด้วยดอกเล็กๆ 2 ดอกดอกล่างลดรูปมีเพียงเกลีบเดี่ยวโปร่งแสงปลายแหลมเรียวดอกบนในดอกย่อยที่ไม่มีก้านจะเป็นดอกสมบูรณ์เพศส่วนดอกบนของดอกย่อยที่มีก้านจะเป็นดอกเพศผู้หรือเป็นหมันผลมีขนาดเล็กเปลือกบางๆห่อหุ้มเมล็ดมีแป้งสะสมค่อนข้างมาก

4. สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
ตะไคร้เป็นพืชที่ปลูกง่ายงอกงามดีในดินเกือบทุกชนิดยกเว้นดินเหนียว 2.1.4 นิเวศวิทยา
แหล่งกาเนิดที่แน่นอนไม่ทราบแน่ชัดคาดว่าน่าจะเป็นมาเลเซียตะไคร้เป็นพืชที่รู้จักและปลูกในหลายๆประเทศในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่อมามีการนาไปยังอเมริกาใต้และกลางและไปยังมาดากัสการ์หมู่เกาะใกล้เคียงจนกระทั่งในอัฟริกาปัจจุบันมีการปลูกทั่วไปในเขตร้อนและกึ่งร้อน
อินเดียและใกล้เคียงหมู่เกาะของประเทศศรีลังกาคาบสมุทรมาเลย์แล้วแพร่กระจายไปปลูกในประเทศเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในทวีปเอเชียอเมริกาอัฟริกาและอื่นๆตะไคร้ขึ้นในที่โล่งแจ้งดินร่วนทั่วๆไปในประเทศไทยปลูกเป็นพืชผักสวนครัวหรือการค้า

5. องค์ประกอบทางเคมี
น้ำมันหอมระเหยมีสีเหลืองปริมาณแตกต่างกันขึ้นอยู่กับแหล่งปลูกอายุของพืชและส่วนของพืชที่นามาสกัดน้ามันระเหยจะพบมากที่สุดในส่วนของใบและมีปริมาณลดน้อยลงในส่วนที่แก่ของใบสารที่พบในน้ามันระเหยที่สาคัญได้แก่ซิตรอล (citral) มีประมาณมากที่สุดประมาณ 75 -85 เปอร์เซ็นต์หรืออาจพบมากถึง 90 -92 เปอร์เซ็นต์สารนี้เป็นอนุพันธ์ของเทอร์ปีน (terpene) นอกจากนี้ยังพบลินาลูล (linalool), เจอรานิออล (geraniol), ไมร์ซีน (myrcine) และเมธิลเฮปทีโน(methylheptenone) ซึ่งปริมาณของไมร์ซีซิตรอลจะแตกต่างไปอยู่กับแหล่งปลูกและอายุของพืชซิตรอลจะพบในปริมาณมากประมาณ 83 เปอร์เซ็นต์ในส่วนแก่ของใบและในส่วนอ่อนของใบประมาณ 77 -79 เปอร์เซ็นต์เท่านั้นโดยทั่วไปจะมีซิตรอล 75 -80 เปอร์เซ็นต์แต่ตะไคร้จากกัวเตมาลามีซิตรอลมากถึง 80 -85 เปอร์เซ็นต์สาหรับไมร์ซีนจะพบในส่วนอ่อนมากกว่าในส่วนแก่ของใบนอกจากนี้ไมร์ซีนจากตะไคร้ที่ปลูกในไร่จะมีประมาณ 4.3 เปอร์เซ็นต์มากกว่าตะไคร้ที่ปลูกในเรือนเพาะชามีไมร์ซีน 2.4 เปอร์เซ็นต์
5.1. ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
5.2. น้ามันหอมระเหยมีฤทธิ์ในการต้านเชื้อราซึ่งทาให้เกิดโรคพืชหลายชนิดในหลอดทดลอง
5.3. น้ามันหอมรเหยและสารเคมีในน้ามันหอมระเหยคือcitral, citronellolและgeraniolมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย5.4เมื่อใช้กระดาษสาหรับห่ออาหารทาด้วยอิมัลชั่นของน้ามันตะไคร้พบว่าสามารถกันแมวและ สุนัข ได้ดีหลังจากที่ได้ทาไว้ 7 วัน5.5สารสกัดด้วยแอลกอฮอล์ 75 เปอร์เซ็นต์จากทั้งต้นมีฤทธิ์ขับพยาธิไส้เดือนโดยทาให้เป็นอัมพาตภายใน 24 ชั่วโมงแต่พยาธิไม่ตาย5.6ใบและต้นแห้งมีฤทธิ์ลดการบีบตัวของลาไส้ส่วนปลายของกระต่ายตัดแยกจากลาตัวตะไคร้สามารถนามาใช้ในการดับกลิ่นคาวของอาหารสารที่พบได้แก่citraleugenol, geraniol, linalool, camphor (รุ่งรัตน์เหลืองนทีเทพ, 2540) ซึ่งสามารถไล่แมลงยุงและไรเนื่องจากตะไคร้มีกลิ่นฉุนและยังมีฤทธิ์ในการต้านแบคทีเรียเชื้อราและยีสต์ได้


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
1. herbal conditioner from lemon grass Company: Ta khrai (lemon grass is a plant, spices and herbs.) Scientific names Cymbopogon citrates (DC.exNees) Stapf. Name of the Gramineae family. The name Lemon grass, Citronella, British West Indian lemongrass. The name of the other sharp fragrance (Chan, bent-son), Kai (Malay, South) are consummate CAI (Northern), Angel lookin KOEI รย (Surin) sen a gate wrap the water TA (Karen-son) Hua Kai sing (Khmer-10). The root of the activity template. It was found that there are more volatile, it is about 0.16% more volatile, such as citraleugenol, geraniol, inalool, camphor.2. property. 2.1. gas-tight stomach bloating cure heartburn symptom resolution kreng and wind-driven sweat. 2.2.เป็นยาขับปัสสาวะแก้นิ่วแก้ปัสสาวะพิการแก้ปัสสาวะเป็นเลือด ลดความดันโลหิตสูง 2.3.ใช้ปรุงแต่งกลิ่นรสอาหารใช้ดับกลิ่นคาวของอาหารใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องแกงต่างๆ 3. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ตะไคร้เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวประเภทล้มลุกเจริญเติบโตรวมอยู่เป็นกอใบและหัวมีกลิ่นหอมรากเป็นระบบรากฝอยลำต้นอยู่บนดินรวมกันเป็นกอแน่นมีสีเขียวและม่วงอ่อนลาต้นเป็นรูปทรงกระบอกมีลักษณะแข็งเกลี้ยงตามปล้องมักมีไขปกคลุมลาต้นสูงได้ถึง 1 เมตรใบเป็นใบเดี่ยวมีลักษณะยาวเรียวคล้ายใบข้าวใบรูปขอบขนาดแคบใบกว้างประมาณ 2 เซนติเมตรยาวได้ถึง 100 เซนติเมตรปลายใบแหลมผิวใบทั้งสองด้านมีลักษณะสากมือเส้นกลางใบแข็งตรงรอยต่อระหว่างกากใบและตัวใบมีเกล็ดบางๆยาวประมาณ 2 มิลลิเมตรตามขอบใบมีขนเล็กน้อยดอกออกเป็นช่อขนาดใหญ่ช่อดอกย่อยมีก้านออกเป็นคู่ๆแต่ละคู่รองรับด้วยใบประดับช่อดอกย่อยประกอบด้วยดอกย่อยออกเป็นคู่ๆดอกหนึ่งมีก้านอีกดอกหนึ่งไม่มีก้านภายในดอกย่อยแต่ละดอกประกอบด้วยดอกเล็กๆ 2 ดอกดอกล่างลดรูปมีเพียงเกลีบเดี่ยวโปร่งแสงปลายแหลมเรียวดอกบนในดอกย่อยที่ไม่มีก้านจะเป็นดอกสมบูรณ์เพศส่วนดอกบนของดอกย่อยที่มีก้านจะเป็นดอกเพศผู้หรือเป็นหมันผลมีขนาดเล็กเปลือกบางๆห่อหุ้มเมล็ดมีแป้งสะสมค่อนข้างมาก 4. สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ตะไคร้เป็นพืชที่ปลูกง่ายงอกงามดีในดินเกือบทุกชนิดยกเว้นดินเหนียว 2.1.4 นิเวศวิทยาแหล่งกาเนิดที่แน่นอนไม่ทราบแน่ชัดคาดว่าน่าจะเป็นมาเลเซียตะไคร้เป็นพืชที่รู้จักและปลูกในหลายๆประเทศในเอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่อมามีการนาไปยังอเมริกาใต้และกลางและไปยังมาดากัสการ์หมู่เกาะใกล้เคียงจนกระทั่งในอัฟริกาปัจจุบันมีการปลูกทั่วไปในเขตร้อนและกึ่งร้อนอินเดียและใกล้เคียงหมู่เกาะของประเทศศรีลังกาคาบสมุทรมาเลย์แล้วแพร่กระจายไปปลูกในประเทศเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนในทวีปเอเชียอเมริกาอัฟริกาและอื่นๆตะไคร้ขึ้นในที่โล่งแจ้งดินร่วนทั่วๆไปในประเทศไทยปลูกเป็นพืชผักสวนครัวหรือการค้า 5. องค์ประกอบทางเคมี น้ำมันหอมระเหยมีสีเหลืองปริมาณแตกต่างกันขึ้นอยู่กับแหล่งปลูกอายุของพืชและส่วนของพืชที่นามาสกัดน้ามันระเหยจะพบมากที่สุดในส่วนของใบและมีปริมาณลดน้อยลงในส่วนที่แก่ของใบสารที่พบในน้ามันระเหยที่สาคัญได้แก่ซิตรอล (citral) มีประมาณมากที่สุดประมาณ 75 -85 เปอร์เซ็นต์หรืออาจพบมากถึง 90 -92 เปอร์เซ็นต์สารนี้เป็นอนุพันธ์ของเทอร์ปีน (terpene) นอกจากนี้ยังพบลินาลูล (linalool), เจอรานิออล (geraniol), ไมร์ซีน (myrcine) และเมธิลเฮปทีโน(methylheptenone) ซึ่งปริมาณของไมร์ซีซิตรอลจะแตกต่างไปอยู่กับแหล่งปลูกและอายุของพืชซิตรอลจะพบในปริมาณมากประมาณ 83 เปอร์เซ็นต์ในส่วนแก่ของใบและในส่วนอ่อนของใบประมาณ 77 -79 เปอร์เซ็นต์เท่านั้นโดยทั่วไปจะมีซิตรอล 75 -80 เปอร์เซ็นต์แต่ตะไคร้จากกัวเตมาลามีซิตรอลมากถึง 80 -85 เปอร์เซ็นต์สาหรับไมร์ซีนจะพบในส่วนอ่อนมากกว่าในส่วนแก่ของใบนอกจากนี้ไมร์ซีนจากตะไคร้ที่ปลูกในไร่จะมีประมาณ 4.3 เปอร์เซ็นต์มากกว่าตะไคร้ที่ปลูกในเรือนเพาะชามีไมร์ซีน 2.4 เปอร์เซ็นต์ 5.1. ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา 5.2. น้ามันหอมระเหยมีฤทธิ์ในการต้านเชื้อราซึ่งทาให้เกิดโรคพืชหลายชนิดในหลอดทดลอง 5.3. น้ามันหอมรเหยและสารเคมีในน้ามันหอมระเหยคือcitral, citronellolและgeraniolมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย5.4เมื่อใช้กระดาษสาหรับห่ออาหารทาด้วยอิมัลชั่นของน้ามันตะไคร้พบว่าสามารถกันแมวและ สุนัข ได้ดีหลังจากที่ได้ทาไว้ 7 วัน5.5สารสกัดด้วยแอลกอฮอล์ 75 เปอร์เซ็นต์จากทั้งต้นมีฤทธิ์ขับพยาธิไส้เดือนโดยทาให้เป็นอัมพาตภายใน 24 ชั่วโมงแต่พยาธิไม่ตาย5.6ใบและต้นแห้งมีฤทธิ์ลดการบีบตัวของลาไส้ส่วนปลายของกระต่ายตัดแยกจากลาตัวตะไคร้สามารถนามาใช้ในการดับกลิ่นคาวของอาหารสารที่พบได้แก่citraleugenol, geraniol, linalool, camphor (รุ่งรัตน์เหลืองนทีเทพ, 2540) ซึ่งสามารถไล่แมลงยุงและไรเนื่องจากตะไคร้มีกลิ่นฉุนและยังมีฤทธิ์ในการต้านแบคทีเรียเชื้อราและยีสต์ได้

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
1. Herbs conditioning of Lemongrass Lemongrass lemongrass khrai
: Ta (both plants, herbs and spices)
scientific name Cymbopogon. Citrates (DC.exNees) Stapf.

English name family name Gramineae, Lemon grass Citronella West Indian, lemongrass
other name sharp aroma. (Shan.Crooked - son) and (south, Malay) and (northern) - run aground. The Tigray (ESL) wrapped Vaught. Po Surin (Karen - son) cotton plant. (Khmer - Prachin Buri)
the root, stem, leaf, rhizome volatile substances found it it is about 0.16% aunt is essential, such as,,, citraleugenol geraniol inalool camphor

.
. 2 properties 2.1 flatulence flatulence tight colic expel solve spasticity and sweaty
. 2.2. As a diuretic, solve solve solve urine urine stone with blood, high blood pressure 2.3
.Use the food flavor smell of food used to use a mixture of spices (

3. Botanical characteristic
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: