บทคัดย่อ ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาเรื่อง การศึกษาพัฒนารูปแบบ การแปล - บทคัดย่อ ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาเรื่อง การศึกษาพัฒนารูปแบบ อังกฤษ วิธีการพูด

บทคัดย่อ ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจั

บทคัดย่อ
ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาเรื่อง การศึกษาพัฒนารูปแบบและกระบวนการจัดตั้งกลุ่ม จักสานบ้านดงสระแก้วใต้ หมู่ที่ 5 ตำบลไผ่ล้อม อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบและกระบวนการจัดตั้งกลุ่มจักสาน เพื่อประเมินผลความพร้อมของการจัดตั้งกลุ่ม จักสานบ้านดงสระแก้วใต้ หมู่ที่ 5 ตำบลไผ่ล้อม อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยใช้วิธีการ ดำเนินงานวิจัย 1. เชิงปริมาณ (quantitative) เป็นการใช้แบบสอบถาม และการสำรวจโดยมีการเก็บข้อมูลจำนวน 18 คนจากประชากรกลุ่มตัวอย่าง 2. เชิงคุณภาพ (qualitative) โดยมีการเก็บข้อมูลจาก การจัดประชุม การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มจักสาน, แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi-structured interviews), สัมภาษณ์เชิงลึก (Interview) โดยมีประชากรกลุ่มตัวอย่างจำนวน 18 คน คือ สมาชิกกลุ่มจักสาน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง และวิธีการจัดทำ ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS (IBM SPSS Statistics 21) โดยมีผลการศึกษาดังนี้
ผลการศึกษาพบว่า 1. ผลการประเมินความพึงพอใจเชิงปริมาณ สถานภาพทั่วไปของสมาชิกกลุ่มจักสาน ที่เข้าร่วมประชุม พบว่า สมาชิกกลุ่มจักสานส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีช่วงอายุเฉลี่ยมากกว่า 61 ปี มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ส่วนใหญ่กลุ่มตัวอย่างไม่มีสถานการณ์เป็นผู้นำทางสังคม มีประสบการมากกว่า 5 ปี ซึ่งส่วนใหญ่จักสานไซมากที่สุด กลุ่มตัวอย่างเคยเข้าร่วมอบรมเกี่ยวกับการจักสาน การจัดตั้งกลุ่มจักสานกลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นว่ามีความเหมาะสมมากที่สุด มีการนำความรู้มาแลกเปลี่ยนเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่ม เมื่อมีความรู้ประสบการณ์จะนำไปถ่ายทอดต่อซึ่งกลุ่มตัวอย่างมีการติดต่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือขอคำแนะนำจากกลุ่มจักสานในชุมชน หลังจากการประชุมจะมีการปรึกษากันในกลุ่ม สรุปประเด็นระดับความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจักสาน และระดับความคิดเห็นของความพร้อม ของการจัดตั้งกลุ่มจักสาน มีค่าเฉลี่ย 3.54444 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. = 0.4368

ผลการศึกษาพบว่า 2. ระดับความความคิดเห็นของความพร้อม (ตามความจำเป็น) ของกลุ่ม จักสาน การศึกษาการพัฒนารูปแบบและกระบวนการจัดตั้งกลุ่มจักสาน มีความเห็นของความพร้อมของกลุ่มจักสาน บ้านดงสระแก้วใต้ มีค่าเฉลี่ย 2.382 อยู่ในระดับปานกลาง และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. = 0.5013
ผลการศึกษาพบว่า 3. ระดับความพึงพอใจเชิงปริมาณ ต่อการเข้าร่วมประชุม การศึกษาการพัฒนารูปแบบและกระบวนการจัดตั้งกลุ่มจักสาน มีความพึงพอใจต่อการมีส่วนร่วมของผู้ที่มีความรู้ในเรื่องจักสาน มีค่าเฉลี่ย 3.915 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. = 0.6247
ผลการศึกษาพบว่า 4. ผลการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ 1. แกนนำ ประกอบไปด้วย ผู้นำมีกระบวนการเรียนรู้ ได้รับการศึกษา มีภาวการณ์เป็นผู้นำ มีวิสัยทัศน์กว้างไกล มีทักษะการคิดที่ดี มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี อารมณ์ดียิ้มแย้มแจ่มใส ตรงต่อเวลา เป็นผู้ที่มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ไม่เจ็บไม่ป่วย มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่การงาน เคารพกฎกติกาของกลุ่ม และเป็นผู้ที่ชาวบ้านสามารถเชื่อถือได้ เพราะเป็นคนพูดจริง ทำจริง 2. ระบบความสัมพันธ์ และการสื่อสาร ประกอบด้วย ผู้ส่งสาร สาร ผู้รับสาร สาร และสื่อ ซึ่งความสัมพันธ์ของกลุ่มส่วนใหญ่ จะเป็นแบบเครือญาติ ซึ่งการติดต่อประสานงานไม่ค่อยมีปัญหา การกระจายข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ ก็จะเป็นการบอกต่อหรือไปบอกถึงบ้าน 3. การตั้งเป้าหมายตามหลักสมาท (SMART) เป้าหมายที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง เป้าหมายที่วัดได้ คือ เป้าหมายที่มีความชัดเจน และเรียบง่ายซึ่งสมาชิกกลุ่มจักสานบ้านดงสระแก้วใต้มี 18 คน มีเป้าหมายการดำเนินงาน เป้าหมายเป็นจริง คือ การกำหนดกิจกรรม ต้องมีกรอบระยะเวลาที่ชัดเจนในการทำกิจกรรมของกลุ่ม เพื่อพัฒนากลุ่มให้เข้มแข็ง และยั่งยืน 4. การมีส่วนร่วม และการแลกเปลี่ยน ประกอบด้วย การมีอิสรภาพในการเข้าร่วมกลุ่ม มีความเสมอภาคในการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นการเปิดโอกาสให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมการจักสาน โดยไม่แบ่งชนชั้นวรรณะ ผู้เข้าร่วมต้องมีความสามารถพอที่จะเข้าร่วมกิจกรรมในการแสดงความสามารถร่วมกันเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเพื่อที่จะพัฒนากลุ่มต่อไป 5. องค์ประกอบของสมาชิก ประกอบด้วย หน่วยสมาชิกหรือชีวิต หลักธรรมชาติที่สรรพสิ่งจะต้องพึ่งพาอาศัยกัน ในการทำกิจกรรมจะต้องมีการพึ่งพาอาศัยกัน เช่น การตัดไม้ การจักตอก เป็นต้น เพื่อส่งผลต่อการทำกิจกรรมทุกรูปแบบให้เกิดประสิทธิผล เกิดความสำเร็จ และการบรรลุจุดหมาย สมาชิกกลุ่มจักสานนั้นมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน เพื่อร่วมกันจักสานผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ 6. บทบาทหน้าที่ของสมาชิก และแกนนำ ประกอบด้วย มีการรับรู้ และมุมมองที่เหมือนกันสมาชิกมีความสนใจหรือมีผลประโยชน์ร่วมกัน มีเป้าหมาย มีวัตถุประสงค์ และผลประโยชน์ที่ได้ร่วมกัน การมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคนในกลุ่มเป็นการขับเคลื่อนพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายสูงสุด มีปฏิสัมพันธ์กันในเชิงแลกเปลี่ยนกันอยู่เสมอเพื่อให้เกิดแนวคิดนวัตกรรมใหม่ของกลุ่ม


ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
1. ควรมีการศึกษาวิจัยในการพัฒนากลุ่มให้มีความเข้มแข็งมากขึ้นรวมทั้งการขยายผลจาก หมูที่ 5 ตำบลไผ่ล้อม อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ไปยังหมู่อื่น ๆ ให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้านในตำบลไผ่ล้อม
2. องค์กรส่วนท้องถิ่นควรเข้ามาสนับสนุนในเรื่องของการจัดงบประมาณมาให้กลุ่มจักสาน ของตำบลไผ่ล้อม อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อให้ทางกลุ่มสามารถนำไปจัดสรรสร้างสถานที่เพื่อทำกิจกรรมส่วนร่วม หรือนำไปซื้อเครื่องมือ ที่สามารถนำเป็นของส่วนรวมได้ เพื่อให้ได้มีปัจจัยการผลิตเพิ่มมากขึ้น

ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย
จากผลการวิจัยที่กล่าวมาแล้วข้างต้นทีมวิจัยใคร่เสนอแนะต่อผู้ที่สนใจ และมีส่วนเกี่ยวข้อง ดังนี้
1. ควรมีการออกแบบการลงพื้นที่ที่ไม่ลงบ่อยครั้งจนทำให้ชุมชนเกิดความบอบช้ำ
2. ควรมีการออกแบบการเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งในเชิงสัมภาษณ์ และการเก็บแบบสอบถามให้เป็นภาษาที่ง่ายต่อการสื่อสารกับคนในชุมชน
3. ควรระวังการลงสำรวจข้อมูลจากในชุมชน ต้องทำการเช็คความพร้อม วันเวลาที่ชาวบ้านพร้อมเพื่อไม่ให้เกิดการลงพื้นที่สำรวจโดยเสียเปล่า

ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
1. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Abstract ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ศึกษาเรื่อง การศึกษาพัฒนารูปแบบและกระบวนการจัดตั้งกลุ่ม จักสานบ้านดงสระแก้วใต้ หมู่ที่ 5 ตำบลไผ่ล้อม อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบและกระบวนการจัดตั้งกลุ่มจักสาน เพื่อประเมินผลความพร้อมของการจัดตั้งกลุ่ม จักสานบ้านดงสระแก้วใต้ หมู่ที่ 5 ตำบลไผ่ล้อม อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยใช้วิธีการ ดำเนินงานวิจัย 1. เชิงปริมาณ (quantitative) เป็นการใช้แบบสอบถาม และการสำรวจโดยมีการเก็บข้อมูลจำนวน 18 คนจากประชากรกลุ่มตัวอย่าง 2. เชิงคุณภาพ (qualitative) โดยมีการเก็บข้อมูลจาก การจัดประชุม การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการจัดตั้งกลุ่มจักสาน, แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi-structured interviews), สัมภาษณ์เชิงลึก (Interview) โดยมีประชากรกลุ่มตัวอย่างจำนวน 18 คน คือ สมาชิกกลุ่มจักสาน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง และวิธีการจัดทำ ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS (IBM SPSS Statistics 21) โดยมีผลการศึกษาดังนี้ ผลการศึกษาพบว่า 1. ผลการประเมินความพึงพอใจเชิงปริมาณ สถานภาพทั่วไปของสมาชิกกลุ่มจักสาน ที่เข้าร่วมประชุม พบว่า สมาชิกกลุ่มจักสานส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีช่วงอายุเฉลี่ยมากกว่า 61 ปี มีระดับการศึกษาอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ส่วนใหญ่กลุ่มตัวอย่างไม่มีสถานการณ์เป็นผู้นำทางสังคม มีประสบการมากกว่า 5 ปี ซึ่งส่วนใหญ่จักสานไซมากที่สุด กลุ่มตัวอย่างเคยเข้าร่วมอบรมเกี่ยวกับการจักสาน การจัดตั้งกลุ่มจักสานกลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นว่ามีความเหมาะสมมากที่สุด มีการนำความรู้มาแลกเปลี่ยนเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อกลุ่ม เมื่อมีความรู้ประสบการณ์จะนำไปถ่ายทอดต่อซึ่งกลุ่มตัวอย่างมีการติดต่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือขอคำแนะนำจากกลุ่มจักสานในชุมชน หลังจากการประชุมจะมีการปรึกษากันในกลุ่ม สรุปประเด็นระดับความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจักสาน และระดับความคิดเห็นของความพร้อม ของการจัดตั้งกลุ่มจักสาน มีค่าเฉลี่ย 3.54444 อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. = 0.4368 ผลการศึกษาพบว่า 2. ระดับความความคิดเห็นของความพร้อม (ตามความจำเป็น) ของกลุ่ม จักสาน การศึกษาการพัฒนารูปแบบและกระบวนการจัดตั้งกลุ่มจักสาน มีความเห็นของความพร้อมของกลุ่มจักสาน บ้านดงสระแก้วใต้ มีค่าเฉลี่ย 2.382 อยู่ในระดับปานกลาง และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. = 0.5013 ผลการศึกษาพบว่า 3. ระดับความพึงพอใจเชิงปริมาณ ต่อการเข้าร่วมประชุม การศึกษาการพัฒนารูปแบบและกระบวนการจัดตั้งกลุ่มจักสาน มีความพึงพอใจต่อการมีส่วนร่วมของผู้ที่มีความรู้ในเรื่องจักสาน มีค่าเฉลี่ย 3.915 อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. = 0.6247 ผลการศึกษาพบว่า 4. ผลการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ 1. แกนนำ ประกอบไปด้วย ผู้นำมีกระบวนการเรียนรู้ ได้รับการศึกษา มีภาวการณ์เป็นผู้นำ มีวิสัยทัศน์กว้างไกล มีทักษะการคิดที่ดี มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี อารมณ์ดียิ้มแย้มแจ่มใส ตรงต่อเวลา เป็นผู้ที่มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ไม่เจ็บไม่ป่วย มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่การงาน เคารพกฎกติกาของกลุ่ม และเป็นผู้ที่ชาวบ้านสามารถเชื่อถือได้ เพราะเป็นคนพูดจริง ทำจริง 2. ระบบความสัมพันธ์ และการสื่อสาร ประกอบด้วย ผู้ส่งสาร สาร ผู้รับสาร สาร และสื่อ ซึ่งความสัมพันธ์ของกลุ่มส่วนใหญ่ จะเป็นแบบเครือญาติ ซึ่งการติดต่อประสานงานไม่ค่อยมีปัญหา การกระจายข่าวสาร ประชาสัมพันธ์ ก็จะเป็นการบอกต่อหรือไปบอกถึงบ้าน 3. การตั้งเป้าหมายตามหลักสมาท (SMART) เป้าหมายที่มีลักษณะเฉพาะเจาะจง เป้าหมายที่วัดได้ คือ เป้าหมายที่มีความชัดเจน และเรียบง่ายซึ่งสมาชิกกลุ่มจักสานบ้านดงสระแก้วใต้มี 18 คน มีเป้าหมายการดำเนินงาน เป้าหมายเป็นจริง คือ การกำหนดกิจกรรม ต้องมีกรอบระยะเวลาที่ชัดเจนในการทำกิจกรรมของกลุ่ม เพื่อพัฒนากลุ่มให้เข้มแข็ง และยั่งยืน 4. การมีส่วนร่วม และการแลกเปลี่ยน ประกอบด้วย การมีอิสรภาพในการเข้าร่วมกลุ่ม มีความเสมอภาคในการเข้าร่วมกิจกรรมเป็นการเปิดโอกาสให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมการจักสาน โดยไม่แบ่งชนชั้นวรรณะ ผู้เข้าร่วมต้องมีความสามารถพอที่จะเข้าร่วมกิจกรรมในการแสดงความสามารถร่วมกันเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันเพื่อที่จะพัฒนากลุ่มต่อไป 5. องค์ประกอบของสมาชิก ประกอบด้วย หน่วยสมาชิกหรือชีวิต หลักธรรมชาติที่สรรพสิ่งจะต้องพึ่งพาอาศัยกัน ในการทำกิจกรรมจะต้องมีการพึ่งพาอาศัยกัน เช่น การตัดไม้ การจักตอก เป็นต้น เพื่อส่งผลต่อการทำกิจกรรมทุกรูปแบบให้เกิดประสิทธิผล เกิดความสำเร็จ และการบรรลุจุดหมาย สมาชิกกลุ่มจักสานนั้นมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน เพื่อร่วมกันจักสานผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ 6. บทบาทหน้าที่ของสมาชิก และแกนนำ ประกอบด้วย มีการรับรู้ และมุมมองที่เหมือนกันสมาชิกมีความสนใจหรือมีผลประโยชน์ร่วมกัน มีเป้าหมาย มีวัตถุประสงค์ และผลประโยชน์ที่ได้ร่วมกัน การมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคนในกลุ่มเป็นการขับเคลื่อนพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายสูงสุด มีปฏิสัมพันธ์กันในเชิงแลกเปลี่ยนกันอยู่เสมอเพื่อให้เกิดแนวคิดนวัตกรรมใหม่ของกลุ่มข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 1. ควรมีการศึกษาวิจัยในการพัฒนากลุ่มให้มีความเข้มแข็งมากขึ้นรวมทั้งการขยายผลจาก หมูที่ 5 ตำบลไผ่ล้อม อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ไปยังหมู่อื่น ๆ ให้ครอบคลุมทุกหมู่บ้านในตำบลไผ่ล้อม 2. องค์กรส่วนท้องถิ่นควรเข้ามาสนับสนุนในเรื่องของการจัดงบประมาณมาให้กลุ่มจักสาน ของตำบลไผ่ล้อม อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ เพื่อให้ทางกลุ่มสามารถนำไปจัดสรรสร้างสถานที่เพื่อทำกิจกรรมส่วนร่วม หรือนำไปซื้อเครื่องมือ ที่สามารถนำเป็นของส่วนรวมได้ เพื่อให้ได้มีปัจจัยการผลิตเพิ่มมากขึ้นข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย จากผลการวิจัยที่กล่าวมาแล้วข้างต้นทีมวิจัยใคร่เสนอแนะต่อผู้ที่สนใจ และมีส่วนเกี่ยวข้อง ดังนี้
1. ควรมีการออกแบบการลงพื้นที่ที่ไม่ลงบ่อยครั้งจนทำให้ชุมชนเกิดความบอบช้ำ
2. ควรมีการออกแบบการเก็บรวบรวมข้อมูล ทั้งในเชิงสัมภาษณ์ และการเก็บแบบสอบถามให้เป็นภาษาที่ง่ายต่อการสื่อสารกับคนในชุมชน
3. ควรระวังการลงสำรวจข้อมูลจากในชุมชน ต้องทำการเช็คความพร้อม วันเวลาที่ชาวบ้านพร้อมเพื่อไม่ให้เกิดการลงพื้นที่สำรวจโดยเสียเปล่า

ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
1. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Abstract
In this research The researchers studied Study design and development group. Woven among the five southern Ban Dong Sa Phai Lom Uttaradit Province. The objective The group was established to develop a model and basketry. To evaluate the readiness of the group. Woven among the five southern Ban Dong Sa Phai Lom Uttaradit Province. By the way 1. The quantitative research (quantitative) as a query. The survey collected data from 18 population samples 2. qualitative (qualitative), with the retention of conferences organized activities to promote the establishment of basketry, semi-structured interviews. (Semi-structured interviews), interview (Interview) by a population sample of 18 people is woven membership. The specific sampling. And how to prepare Data using SPSS (IBM SPSS Statistics 21) The results of the
study showed that: 1. The quantitative satisfaction. General status of members of wicker The participants were mostly female members of basketry. With the average age of over 61 years with a degree in elementary education, four years of a sample without the social leadership. Has experienced more than five years, mostly woven at most. The samples have attended workshops on weaving. The establishment of woven samples opinions that are most appropriate. A knowledge exchange for the benefit of the group. The knowledge and experience which will be broadcast on the sample, a contact exchange or ask advice from the basket in the community. After the meeting there will be discussed in groups. Summary of cognition in the basket. And the opinion of availability. The group has an average basket of 3.54444 in the very satisfied. And standard deviation, SD = 0.4368 2. The results showed that levels of readiness reviews. (As necessary) of the woven pattern and process development study groups basketry. The opinion of a group of wicker. Ban Dong Sa Kaeo under averaged 2.382 is moderate. And the standard deviation, SD = 0.5013 3. The results showed that the quantitative level of satisfaction. To attend Development of forms and processes established basketry. There is satisfaction on the part of those with knowledge of the basket averaged 3.915 in the most satisfaction. And the standard deviation, SD = 0.6247 4. The study found that the results of qualitative research 1. vocal leader comprising a learning process. Be educated There are situations Leadership A visionary Good thinking skills Have a good relationship Punctuality is good beaming, healthy body, healthy not sick. A responsible job. Respect the rules of And those people can be trusted. It is truthful to 2. relations system. Communication consists of a sender and receiver, material, material and media relations of the majority. It is relative This coordination is rarely a problem. Broadcasting Public relations It will tell you to go home or 3. The primary aim of the treatment (SMART) goals with specific characteristics. Measurable goals are goals that are clear. And simple wicker Ban Dong Sa Kaeo under which members have 18 people with the goal of operating. The goal is to determine the actual activity. Must have a clear time frame in the activities of the group. 4. The development of a strong and sustained participation. The exchange includes the freedom to join the group. There is equality in participation provides an opportunity for anyone to participate in the activities of basketry. The caste divide Participants must be able to participate in a talent show together to share and learn together to develop the next 5 elements consist of a member or members of lives. What will be the nature of dependence. The activities would have to rely on each other like cutting wood to be nailed on to affect all forms of productive activities. Achievement And Goal Attainment Groups that have woven a common purpose. To weave together various products 6. Role of members and leaders include the recognition and view the same members are interested or have common interests with the goal intended. And benefit-sharing. The participation of all members of the group are driven development to achieve the ultimate goal. In exchange interaction is always to achieve innovative concept of policy recommendations first. Should a study group to develop a much stronger, including the extension from five pigs Phai Lom Uttaradit Province. Go to the other to cover all villages in Phai Lom 2. Then local organizations in support of the budget to the basket. Phai Lom of Uttaradit Province. So that the group can be allocated to create a place for activities involved. Or to buy Which can be taken as a collective. To get more inputs recommendations based on findings from the study mentioned above, researchers would like to recommend to those interested. And is involved as follows : 1. There should design a space that does not often make the community an impairment 2. Should be designed to collect data. In an interview, Collection and questionnaires to a language that is easy to communicate with people in the community 3. Should a survey of the community. To check availability It is the local people, to avoid the waste of space exploration by suggestions in the study next one. There should be a study on the

















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Abstract
.In this research, we studied the subject. The study and development and the process of establishing group of woven Home Dong SA under the 5 District ไผ่ล้, Uttaradit, Uttaradit province. The objectiveTo evaluate the readiness of the establishment of the woven ban Dong SA under the 5 District bamboo surrounded by means of Uttaradit, Uttaradit province. The research 1.Quantitative quantitative) is a questionnaire and survey data were 18 from population samples 2.Qualitative (Qualitative) by the data from conferences, activities to promote establishing group, woven with semi-structured interview. (Semi-structured interviews),Depth interviews Interview) was populated by a sample of 18 people is a group member woven by ways of random sampling specific. And how to make the program SPSS (IBM SPSS Statistics 21), effective education as follows:
.The results showed that the 1.The quantitative assessment of satisfaction General status of group member woven attending the meeting, it was found that the members of the group, mainly woven females, age average more than 61 years.Most of them were not 4 situation lead social experience than 5 years, which mainly woven recycle as much as possible. Subjects participated in the training of weavingKnowledge exchange to achieve benefit to the group. When knowledge and experience will lead to which the relay contact learning or advice from woven group in the community.Conclusion the knowledge level about weaving The opinions of the readiness of the establishment of the woven average 3.54444 in level of satisfaction, and standard deviation S.D. = 0.4368

. The results showed that the 2.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: