เรื่องของอาสวกิเลส-จิตถูกขัง โดยคุณ ปราโมทย์วันพุธ ที่ 12 เมษายน 2543  การแปล - เรื่องของอาสวกิเลส-จิตถูกขัง โดยคุณ ปราโมทย์วันพุธ ที่ 12 เมษายน 2543  อังกฤษ วิธีการพูด

เรื่องของอาสวกิเลส-จิตถูกขัง โดยคุณ

เรื่องของอาสวกิเลส-จิตถูกขัง

โดยคุณ ปราโมทย์วันพุธ ที่ 12 เมษายน 2543 11:21:57

ผมสังเกตเห็นอย่างหนึ่งว่า ...
พวกเรามักกล่าวถึง กิเลส และนิวรณ์กันบ่อยครั้ง
แต่ไม่ค่อยได้กล่าวถึง อาสวกิเลส กันมากนัก
แทบไม่เคยเห็นกล่าวถึงกันทีเดียว


แท้ที่จริง อาสวกิเลส เป็นเรื่องสำคัญมาก
ถ้าสังเกตธรรมในพระไตรปิฎก จะเห็นได้ชัดเจนว่า
เมื่อท่านกล่าวถึงความหลุดพ้น ท่านมักจะกล่าวว่า
หลุดพ้นจากอาสวกิเลส
ไม่กล่าวว่า หลุดพ้นจากกิเลส หรือนิวรณ์

อันที่จริง กิเลส นิวรณ์ และอาสวกิเลส ต่างก็เป็นกิเลสด้วยกัน
แต่มีความหยาบและความละเอียดแตกต่างกัน
กิเลส คือราคะ โทสะ และโมหะนั้น เป็นของหยาบๆ
มันพลุ่งๆ วูบวาบขึ้นมาครอบงำจิต
ในลักษณะเป็นสิ่งแปลกปลอมเข้ามาเป็นครั้งคราว
ส่วนนิวรณ์ มักจะแทรกเข้ามานิ่มๆ ตามหลังความคิดเข้ามา

นักปฏิบัติด้วยการดูจิต หรือเจริญจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
สามารถรู้เห็นกิเลสได้ไม่ยากเลย
แม้แต่ผู้หัดดูจิตวันแรก ก็มักมองเห็นได้แล้ว
โดยเฉพาะโทสะนั้น เป็นอารมณ์ที่รุนแรง สังเกตง่ายที่สุด
ราคะมีความประณีตกว่าโทสะ แต่ก็ยังเป็นสิ่งแปลกปลอมที่มองเห็นง่าย

ส่วนโมหะ เป็นความหมอง ความมัวของจิต
เหมือนม่านควันที่ซึมซ่านเข้ามาทำให้จิตเสื่อมคุณภาพในการ
"รู้ตามความเป็นจริง" ตัวนี้สังเกตยากขึ้นไปอีก หน่อย

สำหรับ "นิวรณ์" มีความละเอียดประณีตยิ่งขึ้นไปอีก
เพราะมันซึมซ่านนิ่มๆ ตามหลังความคิดเข้าครอบงำจิตได้ง่ายๆ
โดยไม่ทันระวังตัว บางคราวถ้าไม่ชำนาญ จะดูไม่ออกเสียด้วยซ้ำ
ไปว่ามันเป็นนิวรณ์

ส่วนอาสวกิเลสนั้น ดูยากกว่านิวรณ์มากนัก
ในชั้นแรกนี้ ลองมาดูความหมายในทางปริยัติกันก่อน
พจนานุกรมของท่านเจ้าคุณพระธรรมปิฎก
ท่านอธิบายความหมายของอาสวกิเลสไว้ดังนี้

อาสวะ กิเลสที่หมักหมมหรือดองอยู่ในสันดาน
ไหลซึมซ่านไปย้อมจิตเมื่อประสบอารมณ์ต่างๆ
มี 3 อย่างคือ กามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ

กามาสวะ อาสวะคือกาม
กิเลสดองอยู่ในสันดาน ที่ทำให้เกิดความใคร่

ภวาสวะ อาสวะคือภพ
กิเลสที่หมักหมมหรือดองอยู่ในสันดาน
ทำให้อยากเป็น อยากเกิด อยากมีอยู่คงอยู่ตลอดไป

อวิชชาสวะ อาสวะคืออวิชชา
กิเลสที่หมักหมมหรือดองอยู่ในสันดาน ทำให้ไม่รู้ตามความเป็นจริง

คราวนี้เราลองหันมาพิจารณา
ถึงสภาวะของอาสวกิเลสในมุมมองของนักปฏิบัติบ้าง

อาสวกิเลสไม่ได้พลุ่งขึ้นมาเหมือนกิเลสหยาบ
ไม่ได้ซึมซ่านเข้ามาเหมือนนิวรณ์อันเป็นกิเลสชั้นกลาง
แต่เป็นกิเลสละเอียด ที่จิตจมแช่อยู่มาแต่ไหนแต่ไรแล้ว
โดยจมแช่อยู่ อย่างไม่รู้ตัวว่ากำลังจมแช่อยู่
ถ้าเปรียบเทียบให้เป็นรูปธรรมหยาบๆ
ก็คล้ายกับร่างกายนี้ จมแช่อยู่ในอากาศ
เราแช่ในอากาศมาตั้งแต่เกิด จนลืม จนไม่เคยนึกถึง
ถ้าไม่ลงไปแช่ในของหยาบยิ่งกว่านั้น เช่นแช่น้ำ
เราจะรู้สึกเหมือนร่างกายนี้เป็นอิสระ ไม่ได้จมแช่อยู่ในอะไรเลย
ทั้งที่ความจริง กายนี้จมแช่อยู่ในอากาศมาแต่ไหนแต่ไรแล้ว

จิตเองก็จมแช่หมักดองอยู่ในอาสวกิเลสโดยไม่รู้ตัว
แต่อาสวกิเลสที่จิตจมแช่อยู่นั้น มีถึง 3 ระดับ หรือ 3 ชนิด
สิ่งแรกคือกาม ถัดไปคือภพและอวิชชา

จิตของสรรพสัตว์ที่ยังไม่บรรลุพระอนาคามี ล้วนยังจมแช่อยู่ในกามทั้งสิ้น
ถ้าทำใจให้สบาย มีสติปัญญาระลีกรู้ไปในกาย
จะเห็นว่าจิตจมแช่อยู่ในกาม ซึมซ่านไปทั่วกายตลอดทุกขุมขน
ยินดีพอใจในผัสสะทางกายที่เป็นสุข
ระแวดระวัง เกลียดกลัวผัสสะทางกายที่เป็นทุกข์
ไม่ผิดอะไรกับสาวงามที่อาบน้ำใหม่ๆ ทาแป้งและของหอมเรียบร้อย
มีความอิ่มเอิบพอใจอยู่ทุกขุมขน
และเกลียดกลัวสิ่งสกปรกแม้เพียงเล็กน้อยที่จะมากระทบกาย

เครื่องดองชั้นหยาบนี้จะถูกทำลายไปเมื่อจิตบรรลุพระอนาคามี
เพราะจิตมีปัญญารู้แจ้งแทงตลอดในกาย
เห็นแต่ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เป็นอสุภะของกาย
จึงหมดยางใยที่จะยึดถือในความสุขและความทุกข์ทางกายลงอย่างเด็ดขาด

สำหรับภวาสวกิเลสนั้น พวกเราบางคนก็อาจจะเคยเห็นร่องรอยบ้าง
คือเมื่อเรามีสติสัมปชัญญะ มีธรรมเอกหรือจิตผู้รู้
เห็นอารมณ์เกิดดับหมุนเวียนไปเรื่อยๆ คือผ่านภพน้อยภพใหญ่นับไม่ถ้วนในที่สุดเมื่อจิตวางอารมณ์หยาบทั้งหมด มาหยุดรู้อยู่ที่จิตผู้รู้ ก็ยังเห็นอีกว่า จิตผู้รู้ที่กำลังรู้อยู่นั้น เอาเข้าจริงก็ยังเป็นภพอีกอันหนึ่งจิตจมแช่อยู่ในภพ โดยไม่เคยเห็นเลยว่า กระทั่งจิตที่ดูสะอาดหมดจดสุดขีดแล้วนั้นเอาเข้าจริงก็ยังหลงอยู่ในภพอันหนึ่ง ที่ดูสะอาดหมดจดสุดขีดนั้น

ผมเองเมื่อเจริญสติสัมปชัญญะ และเห็นจิตผู้รู้
จะรู้ชัดว่าจิตยังข้องอยู่ในภพ ยังผูกพันอยู่ในภพ
เหมือนคนที่ถูกขังอยู่ในห้องขังที่ฝาและเพดานเป็นกระจกใส
หรือเป็นแสงที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น
ดูผิวเผินเหมือนกับคนที่เป็นอิสระ ไม่ได้ถูกกักขัง
แต่เอาเข้าจริงแล้ว จิตไม่ได้เป็นอิสระจริง
ผู้ที่เคยเข้าถึงความหลุดพ้นชั่วขณะ จะเห็นจิตที่จมแช่ภวาสวกิเลสได้ชัดเจน เพราะสามารถเทียบกับสภาวะที่จิตเป็นอิสระ หลุดพ้นจากภพ ได้อย่างชัดเจน

สำหรับอวิชชาสวกิเลสนั้น โยงใยอยู่กับภวาสวกิเลส
คือที่จิตยังติดข้องอยู่ในภพ หรือจมแช่อยู่ด้วยภวาสวกิเลสนั้น
ก็เพราะจิตยังถูกย้อมด้วยอวิชชา และปราศจากวิชชา
คือยังมองไม่เห็น ทุกข์


มองไม่ออกว่า จิตผู้รู้ ก็คือก้อนทุกข์อันหนึ่ง ยังข้องอยู่ในภพอันหนึ่ง
ยังเป็นทุกข์ ยังแปรปรวน ยังไม่ใช่ที่พึ่งที่แท้จริง
หรือแม้ว่าจะพอรู้สึกบ้างว่า จิตผู้รู้เป็นจิตในภพอันหนึ่ง เป็นทุกข์อันหนึ่ง
ก็ยังมองไม่เห็นว่า สมุทัย ที่ทำให้ภพของจิตผู้รู้เกิดขึ้นนั้น อยู่ตรงไหน
คือมองไม่เห็นว่า เจตนา ที่จะประคองรักษาจิต
ทำให้มโนวิญญาณหยั่งลง และสร้างภพของผู้รู้ขึ้นมา
ครั้นจะ เจตนาที่จะไม่มีเจตนา มันก็ยังเป็นเจตนาอยู่อีก
จึงจนปัญญา จมแช่อยู่กับความไม่รู้ว่าจะรอดจากความทุกข์ได้อย่างไร

หนทางที่จะทำลายอาวสวกิเลสนั้น พระศาสดาทรงแสดงไว้ชัดเจน
วิธีที่มาตรฐานที่สุด ได้แก่การใช้จิตที่มีคุณภาพ คือมีสติสัมปชัญญะบริสุทธิ์แล้ว
น้อมไปเจริญปัญญาจนรู้แจ้งอริยสัจจ์ และรู้แจ้งอาสวกิเลส
ซึ่งพระองค์เองทรงใช้วิธีทำจิตจนถึงฌานที่ 4
แล้วน้อมจิตไปเจริญปัญญา ดังนี้

เรา(พระศาสดา)ก็เหมือนอย่างนั้นแล พราหมณ์
เมื่อประชาชนผู้ตกอยู่ในอวิชชา เกิดในฟอง อันกะเปาะฟองหุ้มห่อไว้
ผู้เดียวเท่านั้นในโลก ได้ทำลายกะเปาะฟอง คือ อวิชชา
แล้วได้ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณอัน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เรื่องของอาสวกิเลส-จิตถูกขัง โดยคุณ ปราโมทย์วันพุธ ที่ 12 เมษายน 2543 11:21:57 ผมสังเกตเห็นอย่างหนึ่งว่า ... พวกเรามักกล่าวถึง กิเลส และนิวรณ์กันบ่อยครั้ง แต่ไม่ค่อยได้กล่าวถึง อาสวกิเลส กันมากนัก แทบไม่เคยเห็นกล่าวถึงกันทีเดียว แท้ที่จริง อาสวกิเลส เป็นเรื่องสำคัญมาก ถ้าสังเกตธรรมในพระไตรปิฎก จะเห็นได้ชัดเจนว่า เมื่อท่านกล่าวถึงความหลุดพ้น ท่านมักจะกล่าวว่า หลุดพ้นจากอาสวกิเลส ไม่กล่าวว่า หลุดพ้นจากกิเลส หรือนิวรณ์ อันที่จริง กิเลส นิวรณ์ และอาสวกิเลส ต่างก็เป็นกิเลสด้วยกัน แต่มีความหยาบและความละเอียดแตกต่างกัน กิเลส คือราคะ โทสะ และโมหะนั้น เป็นของหยาบๆ
มันพลุ่งๆ วูบวาบขึ้นมาครอบงำจิต
ในลักษณะเป็นสิ่งแปลกปลอมเข้ามาเป็นครั้งคราว
ส่วนนิวรณ์ มักจะแทรกเข้ามานิ่มๆ ตามหลังความคิดเข้ามา

นักปฏิบัติด้วยการดูจิต หรือเจริญจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
สามารถรู้เห็นกิเลสได้ไม่ยากเลย
แม้แต่ผู้หัดดูจิตวันแรก ก็มักมองเห็นได้แล้ว
โดยเฉพาะโทสะนั้น เป็นอารมณ์ที่รุนแรง สังเกตง่ายที่สุด
ราคะมีความประณีตกว่าโทสะ แต่ก็ยังเป็นสิ่งแปลกปลอมที่มองเห็นง่าย

ส่วนโมหะ เป็นความหมอง ความมัวของจิต
เหมือนม่านควันที่ซึมซ่านเข้ามาทำให้จิตเสื่อมคุณภาพในการ
"รู้ตามความเป็นจริง" ตัวนี้สังเกตยากขึ้นไปอีก หน่อย

สำหรับ "นิวรณ์" มีความละเอียดประณีตยิ่งขึ้นไปอีก
เพราะมันซึมซ่านนิ่มๆ ตามหลังความคิดเข้าครอบงำจิตได้ง่ายๆ
โดยไม่ทันระวังตัว บางคราวถ้าไม่ชำนาญ จะดูไม่ออกเสียด้วยซ้ำ
ไปว่ามันเป็นนิวรณ์

ส่วนอาสวกิเลสนั้น ดูยากกว่านิวรณ์มากนัก
ในชั้นแรกนี้ ลองมาดูความหมายในทางปริยัติกันก่อน
พจนานุกรมของท่านเจ้าคุณพระธรรมปิฎก
ท่านอธิบายความหมายของอาสวกิเลสไว้ดังนี้

อาสวะ กิเลสที่หมักหมมหรือดองอยู่ในสันดาน
ไหลซึมซ่านไปย้อมจิตเมื่อประสบอารมณ์ต่างๆ
มี 3 อย่างคือ กามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ

กามาสวะ อาสวะคือกาม
กิเลสดองอยู่ในสันดาน ที่ทำให้เกิดความใคร่

ภวาสวะ อาสวะคือภพ
กิเลสที่หมักหมมหรือดองอยู่ในสันดาน
ทำให้อยากเป็น อยากเกิด อยากมีอยู่คงอยู่ตลอดไป

อวิชชาสวะ อาสวะคืออวิชชา
กิเลสที่หมักหมมหรือดองอยู่ในสันดาน ทำให้ไม่รู้ตามความเป็นจริง

คราวนี้เราลองหันมาพิจารณา
ถึงสภาวะของอาสวกิเลสในมุมมองของนักปฏิบัติบ้าง

อาสวกิเลสไม่ได้พลุ่งขึ้นมาเหมือนกิเลสหยาบ
ไม่ได้ซึมซ่านเข้ามาเหมือนนิวรณ์อันเป็นกิเลสชั้นกลาง
แต่เป็นกิเลสละเอียด ที่จิตจมแช่อยู่มาแต่ไหนแต่ไรแล้ว
โดยจมแช่อยู่ อย่างไม่รู้ตัวว่ากำลังจมแช่อยู่
ถ้าเปรียบเทียบให้เป็นรูปธรรมหยาบๆ
ก็คล้ายกับร่างกายนี้ จมแช่อยู่ในอากาศ
เราแช่ในอากาศมาตั้งแต่เกิด จนลืม จนไม่เคยนึกถึง
ถ้าไม่ลงไปแช่ในของหยาบยิ่งกว่านั้น เช่นแช่น้ำ
เราจะรู้สึกเหมือนร่างกายนี้เป็นอิสระ ไม่ได้จมแช่อยู่ในอะไรเลย
ทั้งที่ความจริง กายนี้จมแช่อยู่ในอากาศมาแต่ไหนแต่ไรแล้ว

จิตเองก็จมแช่หมักดองอยู่ในอาสวกิเลสโดยไม่รู้ตัว
แต่อาสวกิเลสที่จิตจมแช่อยู่นั้น มีถึง 3 ระดับ หรือ 3 ชนิด
สิ่งแรกคือกาม ถัดไปคือภพและอวิชชา

จิตของสรรพสัตว์ที่ยังไม่บรรลุพระอนาคามี ล้วนยังจมแช่อยู่ในกามทั้งสิ้น
ถ้าทำใจให้สบาย มีสติปัญญาระลีกรู้ไปในกาย
จะเห็นว่าจิตจมแช่อยู่ในกาม ซึมซ่านไปทั่วกายตลอดทุกขุมขน
ยินดีพอใจในผัสสะทางกายที่เป็นสุข
ระแวดระวัง เกลียดกลัวผัสสะทางกายที่เป็นทุกข์
ไม่ผิดอะไรกับสาวงามที่อาบน้ำใหม่ๆ ทาแป้งและของหอมเรียบร้อย
มีความอิ่มเอิบพอใจอยู่ทุกขุมขน
และเกลียดกลัวสิ่งสกปรกแม้เพียงเล็กน้อยที่จะมากระทบกาย

เครื่องดองชั้นหยาบนี้จะถูกทำลายไปเมื่อจิตบรรลุพระอนาคามี
เพราะจิตมีปัญญารู้แจ้งแทงตลอดในกาย
เห็นแต่ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เป็นอสุภะของกาย
จึงหมดยางใยที่จะยึดถือในความสุขและความทุกข์ทางกายลงอย่างเด็ดขาด

สำหรับภวาสวกิเลสนั้น พวกเราบางคนก็อาจจะเคยเห็นร่องรอยบ้าง
คือเมื่อเรามีสติสัมปชัญญะ มีธรรมเอกหรือจิตผู้รู้
เห็นอารมณ์เกิดดับหมุนเวียนไปเรื่อยๆ คือผ่านภพน้อยภพใหญ่นับไม่ถ้วนในที่สุดเมื่อจิตวางอารมณ์หยาบทั้งหมด มาหยุดรู้อยู่ที่จิตผู้รู้ ก็ยังเห็นอีกว่า จิตผู้รู้ที่กำลังรู้อยู่นั้น เอาเข้าจริงก็ยังเป็นภพอีกอันหนึ่งจิตจมแช่อยู่ในภพ โดยไม่เคยเห็นเลยว่า กระทั่งจิตที่ดูสะอาดหมดจดสุดขีดแล้วนั้นเอาเข้าจริงก็ยังหลงอยู่ในภพอันหนึ่ง ที่ดูสะอาดหมดจดสุดขีดนั้น

ผมเองเมื่อเจริญสติสัมปชัญญะ และเห็นจิตผู้รู้
จะรู้ชัดว่าจิตยังข้องอยู่ในภพ ยังผูกพันอยู่ในภพ
เหมือนคนที่ถูกขังอยู่ในห้องขังที่ฝาและเพดานเป็นกระจกใส
หรือเป็นแสงที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น
ดูผิวเผินเหมือนกับคนที่เป็นอิสระ ไม่ได้ถูกกักขัง
แต่เอาเข้าจริงแล้ว จิตไม่ได้เป็นอิสระจริง
ผู้ที่เคยเข้าถึงความหลุดพ้นชั่วขณะ จะเห็นจิตที่จมแช่ภวาสวกิเลสได้ชัดเจน เพราะสามารถเทียบกับสภาวะที่จิตเป็นอิสระ หลุดพ้นจากภพ ได้อย่างชัดเจน

สำหรับอวิชชาสวกิเลสนั้น โยงใยอยู่กับภวาสวกิเลส
คือที่จิตยังติดข้องอยู่ในภพ หรือจมแช่อยู่ด้วยภวาสวกิเลสนั้น
ก็เพราะจิตยังถูกย้อมด้วยอวิชชา และปราศจากวิชชา
คือยังมองไม่เห็น ทุกข์


มองไม่ออกว่า จิตผู้รู้ ก็คือก้อนทุกข์อันหนึ่ง ยังข้องอยู่ในภพอันหนึ่ง
ยังเป็นทุกข์ ยังแปรปรวน ยังไม่ใช่ที่พึ่งที่แท้จริง
หรือแม้ว่าจะพอรู้สึกบ้างว่า จิตผู้รู้เป็นจิตในภพอันหนึ่ง เป็นทุกข์อันหนึ่ง
ก็ยังมองไม่เห็นว่า สมุทัย ที่ทำให้ภพของจิตผู้รู้เกิดขึ้นนั้น อยู่ตรงไหน
คือมองไม่เห็นว่า เจตนา ที่จะประคองรักษาจิต
ทำให้มโนวิญญาณหยั่งลง และสร้างภพของผู้รู้ขึ้นมา
ครั้นจะ เจตนาที่จะไม่มีเจตนา มันก็ยังเป็นเจตนาอยู่อีก
จึงจนปัญญา จมแช่อยู่กับความไม่รู้ว่าจะรอดจากความทุกข์ได้อย่างไร

หนทางที่จะทำลายอาวสวกิเลสนั้น พระศาสดาทรงแสดงไว้ชัดเจน
วิธีที่มาตรฐานที่สุด ได้แก่การใช้จิตที่มีคุณภาพ คือมีสติสัมปชัญญะบริสุทธิ์แล้ว
น้อมไปเจริญปัญญาจนรู้แจ้งอริยสัจจ์ และรู้แจ้งอาสวกิเลส
ซึ่งพระองค์เองทรงใช้วิธีทำจิตจนถึงฌานที่ 4
แล้วน้อมจิตไปเจริญปัญญา ดังนี้

เรา(พระศาสดา)ก็เหมือนอย่างนั้นแล พราหมณ์
เมื่อประชาชนผู้ตกอยู่ในอวิชชา เกิดในฟอง อันกะเปาะฟองหุ้มห่อไว้
ผู้เดียวเท่านั้นในโลก ได้ทำลายกะเปาะฟอง คือ อวิชชา
แล้วได้ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณอัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
เรื่องของอาสวกิเลส-จิตถูกขัง

โดยคุณ ปราโมทย์วันพุธ ที่ 12 เมษายน 2543 11:21:57

ผมสังเกตเห็นอย่างหนึ่งว่า ...
พวกเรามักกล่าวถึง กิเลส และนิวรณ์กันบ่อยครั้ง
แต่ไม่ค่อยได้กล่าวถึง อาสวกิเลส กันมากนัก
แทบไม่เคยเห็นกล่าวถึงกันทีเดียว


แท้ที่จริง อาสวกิเลส เป็นเรื่องสำคัญมาก
ถ้าสังเกตธรรมในพระไตรปิฎก จะเห็นได้ชัดเจนว่า
เมื่อท่านกล่าวถึงความหลุดพ้น ท่านมักจะกล่าวว่า
หลุดพ้นจากอาสวกิเลส
ไม่กล่าวว่า หลุดพ้นจากกิเลส หรือนิวรณ์

อันที่จริง กิเลส นิวรณ์ และอาสวกิเลส ต่างก็เป็นกิเลสด้วยกัน
แต่มีความหยาบและความละเอียดแตกต่างกัน
กิเลส คือราคะ โทสะ และโมหะนั้น เป็นของหยาบๆ
มันพลุ่งๆ วูบวาบขึ้นมาครอบงำจิต
ในลักษณะเป็นสิ่งแปลกปลอมเข้ามาเป็นครั้งคราว
ส่วนนิวรณ์ มักจะแทรกเข้ามานิ่มๆ ตามหลังความคิดเข้ามา

นักปฏิบัติด้วยการดูจิต หรือเจริญจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
สามารถรู้เห็นกิเลสได้ไม่ยากเลย
แม้แต่ผู้หัดดูจิตวันแรก ก็มักมองเห็นได้แล้ว
โดยเฉพาะโทสะนั้น เป็นอารมณ์ที่รุนแรง สังเกตง่ายที่สุด
ราคะมีความประณีตกว่าโทสะ แต่ก็ยังเป็นสิ่งแปลกปลอมที่มองเห็นง่าย

ส่วนโมหะ เป็นความหมอง ความมัวของจิต
เหมือนม่านควันที่ซึมซ่านเข้ามาทำให้จิตเสื่อมคุณภาพในการ
"รู้ตามความเป็นจริง" ตัวนี้สังเกตยากขึ้นไปอีก หน่อย

สำหรับ "นิวรณ์" มีความละเอียดประณีตยิ่งขึ้นไปอีก
เพราะมันซึมซ่านนิ่มๆ ตามหลังความคิดเข้าครอบงำจิตได้ง่ายๆ
โดยไม่ทันระวังตัว บางคราวถ้าไม่ชำนาญ จะดูไม่ออกเสียด้วยซ้ำ
ไปว่ามันเป็นนิวรณ์

ส่วนอาสวกิเลสนั้น ดูยากกว่านิวรณ์มากนัก
ในชั้นแรกนี้ ลองมาดูความหมายในทางปริยัติกันก่อน
พจนานุกรมของท่านเจ้าคุณพระธรรมปิฎก
ท่านอธิบายความหมายของอาสวกิเลสไว้ดังนี้

อาสวะ กิเลสที่หมักหมมหรือดองอยู่ในสันดาน
ไหลซึมซ่านไปย้อมจิตเมื่อประสบอารมณ์ต่างๆ
มี 3 อย่างคือ กามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ

กามาสวะ อาสวะคือกาม
กิเลสดองอยู่ในสันดาน ที่ทำให้เกิดความใคร่

ภวาสวะ อาสวะคือภพ
กิเลสที่หมักหมมหรือดองอยู่ในสันดาน
ทำให้อยากเป็น อยากเกิด อยากมีอยู่คงอยู่ตลอดไป

อวิชชาสวะ อาสวะคืออวิชชา
กิเลสที่หมักหมมหรือดองอยู่ในสันดาน ทำให้ไม่รู้ตามความเป็นจริง

คราวนี้เราลองหันมาพิจารณา
ถึงสภาวะของอาสวกิเลสในมุมมองของนักปฏิบัติบ้าง

อาสวกิเลสไม่ได้พลุ่งขึ้นมาเหมือนกิเลสหยาบ
ไม่ได้ซึมซ่านเข้ามาเหมือนนิวรณ์อันเป็นกิเลสชั้นกลาง
แต่เป็นกิเลสละเอียด ที่จิตจมแช่อยู่มาแต่ไหนแต่ไรแล้ว
โดยจมแช่อยู่ อย่างไม่รู้ตัวว่ากำลังจมแช่อยู่
ถ้าเปรียบเทียบให้เป็นรูปธรรมหยาบๆ
ก็คล้ายกับร่างกายนี้ จมแช่อยู่ในอากาศ
เราแช่ในอากาศมาตั้งแต่เกิด จนลืม จนไม่เคยนึกถึง
ถ้าไม่ลงไปแช่ในของหยาบยิ่งกว่านั้น เช่นแช่น้ำ
เราจะรู้สึกเหมือนร่างกายนี้เป็นอิสระ ไม่ได้จมแช่อยู่ในอะไรเลย
ทั้งที่ความจริง กายนี้จมแช่อยู่ในอากาศมาแต่ไหนแต่ไรแล้ว

จิตเองก็จมแช่หมักดองอยู่ในอาสวกิเลสโดยไม่รู้ตัว
แต่อาสวกิเลสที่จิตจมแช่อยู่นั้น มีถึง 3 ระดับ หรือ 3 ชนิด
สิ่งแรกคือกาม ถัดไปคือภพและอวิชชา

จิตของสรรพสัตว์ที่ยังไม่บรรลุพระอนาคามี ล้วนยังจมแช่อยู่ในกามทั้งสิ้น
ถ้าทำใจให้สบาย มีสติปัญญาระลีกรู้ไปในกาย
จะเห็นว่าจิตจมแช่อยู่ในกาม ซึมซ่านไปทั่วกายตลอดทุกขุมขน
ยินดีพอใจในผัสสะทางกายที่เป็นสุข
ระแวดระวัง เกลียดกลัวผัสสะทางกายที่เป็นทุกข์
ไม่ผิดอะไรกับสาวงามที่อาบน้ำใหม่ๆ ทาแป้งและของหอมเรียบร้อย
มีความอิ่มเอิบพอใจอยู่ทุกขุมขน
และเกลียดกลัวสิ่งสกปรกแม้เพียงเล็กน้อยที่จะมากระทบกาย

เครื่องดองชั้นหยาบนี้จะถูกทำลายไปเมื่อจิตบรรลุพระอนาคามี
เพราะจิตมีปัญญารู้แจ้งแทงตลอดในกาย
เห็นแต่ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เป็นอสุภะของกาย
จึงหมดยางใยที่จะยึดถือในความสุขและความทุกข์ทางกายลงอย่างเด็ดขาด

สำหรับภวาสวกิเลสนั้น พวกเราบางคนก็อาจจะเคยเห็นร่องรอยบ้าง
คือเมื่อเรามีสติสัมปชัญญะ มีธรรมเอกหรือจิตผู้รู้
เห็นอารมณ์เกิดดับหมุนเวียนไปเรื่อยๆ คือผ่านภพน้อยภพใหญ่นับไม่ถ้วนในที่สุดเมื่อจิตวางอารมณ์หยาบทั้งหมด มาหยุดรู้อยู่ที่จิตผู้รู้ ก็ยังเห็นอีกว่า จิตผู้รู้ที่กำลังรู้อยู่นั้น เอาเข้าจริงก็ยังเป็นภพอีกอันหนึ่งจิตจมแช่อยู่ในภพ โดยไม่เคยเห็นเลยว่า กระทั่งจิตที่ดูสะอาดหมดจดสุดขีดแล้วนั้นเอาเข้าจริงก็ยังหลงอยู่ในภพอันหนึ่ง ที่ดูสะอาดหมดจดสุดขีดนั้น

ผมเองเมื่อเจริญสติสัมปชัญญะ และเห็นจิตผู้รู้
จะรู้ชัดว่าจิตยังข้องอยู่ในภพ ยังผูกพันอยู่ในภพ
เหมือนคนที่ถูกขังอยู่ในห้องขังที่ฝาและเพดานเป็นกระจกใส
หรือเป็นแสงที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น
ดูผิวเผินเหมือนกับคนที่เป็นอิสระ ไม่ได้ถูกกักขัง
แต่เอาเข้าจริงแล้ว จิตไม่ได้เป็นอิสระจริง
ผู้ที่เคยเข้าถึงความหลุดพ้นชั่วขณะ จะเห็นจิตที่จมแช่ภวาสวกิเลสได้ชัดเจน เพราะสามารถเทียบกับสภาวะที่จิตเป็นอิสระ หลุดพ้นจากภพ ได้อย่างชัดเจน

สำหรับอวิชชาสวกิเลสนั้น โยงใยอยู่กับภวาสวกิเลส
คือที่จิตยังติดข้องอยู่ในภพ หรือจมแช่อยู่ด้วยภวาสวกิเลสนั้น
ก็เพราะจิตยังถูกย้อมด้วยอวิชชา และปราศจากวิชชา
คือยังมองไม่เห็น ทุกข์


มองไม่ออกว่า จิตผู้รู้ ก็คือก้อนทุกข์อันหนึ่ง ยังข้องอยู่ในภพอันหนึ่ง
ยังเป็นทุกข์ ยังแปรปรวน ยังไม่ใช่ที่พึ่งที่แท้จริง
หรือแม้ว่าจะพอรู้สึกบ้างว่า จิตผู้รู้เป็นจิตในภพอันหนึ่ง เป็นทุกข์อันหนึ่ง
ก็ยังมองไม่เห็นว่า สมุทัย ที่ทำให้ภพของจิตผู้รู้เกิดขึ้นนั้น อยู่ตรงไหน
คือมองไม่เห็นว่า เจตนา ที่จะประคองรักษาจิต
ทำให้มโนวิญญาณหยั่งลง และสร้างภพของผู้รู้ขึ้นมา
ครั้นจะ เจตนาที่จะไม่มีเจตนา มันก็ยังเป็นเจตนาอยู่อีก
จึงจนปัญญา จมแช่อยู่กับความไม่รู้ว่าจะรอดจากความทุกข์ได้อย่างไร

หนทางที่จะทำลายอาวสวกิเลสนั้น พระศาสดาทรงแสดงไว้ชัดเจน
วิธีที่มาตรฐานที่สุด ได้แก่การใช้จิตที่มีคุณภาพ คือมีสติสัมปชัญญะบริสุทธิ์แล้ว
น้อมไปเจริญปัญญาจนรู้แจ้งอริยสัจจ์ และรู้แจ้งอาสวกิเลส
ซึ่งพระองค์เองทรงใช้วิธีทำจิตจนถึงฌานที่ 4
แล้วน้อมจิตไปเจริญปัญญา ดังนี้

เรา(พระศาสดา)ก็เหมือนอย่างนั้นแล พราหมณ์
เมื่อประชาชนผู้ตกอยู่ในอวิชชา เกิดในฟอง อันกะเปาะฟองหุ้มห่อไว้
ผู้เดียวเท่านั้นในโลก ได้ทำลายกะเปาะฟอง คือ อวิชชา
แล้วได้ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณอัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
About อาสวกิเลส - mind imprisoned

by you. Happy Wednesday, April 12 2543 11: 21: 57

. I noticed one thing...
we often mentioned, lust, and public safety are frequently
but rarely mentioned. อาสวกิเลส, much
.Almost never seen mentioned exactly the same


in reality อาสวกิเลส is very important
If observe in the Dharma will apparently
when you mentioned liberation he often said that out of the อาสวกิเลส

.Not to say that out of passion or sloth

actually, greed, sloth, and อาสวกิเลส are passion together
but roughness and resolution are different.
passion, lust, hatred and delusion, is roughly
.It's spring, flaring up over the mind. In a foreign object in the occasional

the sloth, usually inserted into the soft, ตามหลังความคิด in

action with the mind. Or the growth จิตตานุปัสสนา focuses
.Can see passion not hard
even those to mind first day always able to see
especially anger, extreme emotions. Observe the easiest.
sensuality sophisticated than rage. But it is also anything that is easy to see

.The rulers, a dull, dull of mind
like the smoke seeped into the dementia quality of
"know" this actually observe the harder. A

for "sloth" is even more finely
.It seeped soft after thoughts in mind easily
without careful, sometimes if not competent to look even
that it is sloth

. The อาสวกิเลส. Look harder matice much
.In this first class. Let's see meaning in the ecclesiastical first
. Your dictionary is raised fidget.
you explain the meaning of the อาสวกิเลส as follows:

อาสว. Passion to pile up or pickled in nature
.Ooze his dyed when experiencing emotions
have 3 is กามาสวะ ภวา trash, trash, and ignorance,

กามาส? อาสว is erotic
passion Dong in nature. That caused the libido

ภวา scum. อาสว is worlds
passion pile or pickled in nature
.Do want to be want to want to be forever.

ignorance of shit. อาสว is ignorance
passion pile or pickled in nature. Do not actually

. This time, we try to consider
.The state of อาสวกิเลส in view of practice?

. อาสวกิเลส not spring up like passion rough
. Not in the lust sloth seeped like middle
but passion detail, แช่อยู่ mind sink so
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: