บทความ เรื่อง กลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาให้เข้าสู่ประชาคมอาเซียนก การแปล - บทความ เรื่อง กลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาให้เข้าสู่ประชาคมอาเซียนก อังกฤษ วิธีการพูด

บทความ เรื่อง กลยุทธ์การบริหารจัดกา

บทความ เรื่อง กลยุทธ์การบริหารจัดการสถานศึกษาให้เข้าสู่ประชาคมอาเซียน
การรวมตัวของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นประชาคมอาเซียน สามารถเพิ่มอำนาจต่อรองกับประชาคมอื่นๆ ในโลกมากขึ้น อันจะนำไปสู่ความเป็นหนึ่งเดียวในอาเซียน ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องกำหนดกลยุทธ์เพื่อให้สถานศึกษาเข้าสู่ประชาคมอาเซียนได้ ดังต่อไปนี้
กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาองค์กรให้พร้อมบริการ
1. พัฒนาภูมิทัศน์ของโรงเรียน มีการบริหารจัดการด้านอาคารสถานที่ให้สะอาด ร่มรื่น สวยงามปลอดภัย มีกิจกรรมด้านการจัดสิ่งแวดล้อม เสริมสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และการปฏิบัติงาน นักเรียนเรียนอย่างมีความสุข และเป็นองค์กรพร้อมให้บริการ
2. สำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ สถานศึกษาต้องเป็นองค์กรที่ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่ายในการบริหารจัดการด้านเอกสาร การติดต่อสื่อสาร การตรวจสอบ และรายงานผลข้อมูลระหว่างสถานศึกษากับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งหน่วยงานภายในสถานศึกษา เพื่อให้บุคลากรในหน่วยงานสามารถปฏิบัติงานได้สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่าย อย่างมีคุณภาพ และประสิทธิภาพ
3. การดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง จัดหา สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ที่เกี่ยวกับการดำเนินการด้านการศึกษา การจัดการเรียนการสอน โดยดำเนินการด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ได้สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ที่มีคุณภาพ ใช้ในการจัดการศึกษา ส่งผลต่อครูและนักเรียน
กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาวิชาการเพื่อการเรียนรู้
1. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ ICT หมายถึง การบริการการใช้ข้อมูล การศึกษาค้นคว้า จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น การสืบค้นข้อมูล การจัดทำข้อมูล การสร้างแหล่งเรียนรู้จากอินเตอร์เน็ต โดยเน้นการใช้ e-Learning ซึ่งเป็นกระบวนการและการใช้ประโยชน์จากการเรียน การสอนผ่านเว็บคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เสมือนห้องเรียน และการเรียนรู้ด้วยเครื่องมือดิจิตอลต่างๆ รวมถึงการเรียนผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ระบบอินทราเน็ต ระบบเครือข่าย การเรียนด้วยระบบเสียง ระบบภาพ ระบบดาวเทียม ระบบโทรทัศน์ และซีดีรอม
2. พัฒนากระบวนการคิด โดยการพัฒนาครูให้มีทักษะกระบวนการคิด เป็นการสร้างเสริมให้เกิด การปฏิบัติงานที่เป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีคุณภาพเกิดผลดีต่อการจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลให้ผู้เรียน มีทักษะ กระบวนการคิด ตามมาตรฐานคุณภาพการศึกษาอย่างยั่งยืน
3. พัฒนาการอ่าน การเขียน สถานศึกษาต้องพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ การอ่านคล่อง เขียนคล่องและการอ่านเป็น เขียนเป็น ซึ่งผู้บริหาร ครูผู้สอนทุกคนของโรงเรียน ร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน จัดกิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่าน รวมทั้งการแก้ปัญหา และพัฒนาผู้เรียนให้อ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง ด้วยกิจกรรมที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง จนผู้เรียนมีความสามารถในการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ อันนำไปสู่การอ่านเป็น เขียนเป็น ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารเป็นภาษาที่สอง และส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ภาษาเพื่อนบ้านในกลุ่มสมาชิกประชาคมอาเซียน
4. ห้องเรียนคุณภาพ สถานศึกษาต้องขับเคลื่อนการบริหารและการจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School Base Management : SBM) ตามแนวทางโรงเรียนผู้นำการเปลี่ยนแปลง เพื่อรองรับการกระจายอำนาจประกอบด้วย 5 ด้าน คือ ด้านการนำการเปลี่ยนแปลง ด้านหลักสูตร ด้านการวิจัยในชั้นเรียนและการวางแผนพัฒนาตนเอง ( ID Plan ) ด้านการใช้ ICT ด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และด้านการส่งเสริมอาชีพอิสระ เพื่อการมีรายได้ระหว่างเรียน
กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาครูและบุคลากรเพื่อการปฏิบัติงาน
1. พัฒนาครูและบุคลากรเพื่อการปฏิบัติงาน ให้มีคุณธรรมนำความรู้ การจัดการศึกษา โดยยึดหลัก “คุณธรรมนำความรู้” เป็นการจัดการศึกษาที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีความรู้ และอยู่ดีมีสุข เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ โดยใช้คุณธรรมเป็นพื้นฐานของกระบวนการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงความร่วมมือกันของสถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา โดยมุ่งเน้นให้โรงเรียนจัดกิจกรรม คุณธรรมนำความรู้ นำหลักธรรม และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต
2. พัฒนาผลงานครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อความสำเร็จประกวดในโครงการต่าง ๆ ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา คิดค้นแสวงหา จัดทำหรือดัดแปลงขึ้น ทั้งในลักษณะของกระบวนการ เทคนิควิธีการ หรือสื่อ เครื่องมือ พร้อมทั้งทำให้ครูและบุคลากรได้รับรางวัลต่าง ๆ และมีการเลื่อนวิทยฐานะที่สูงขึ้น ซึ่งเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจต่อไป
3. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยการอบรมสัมมนาพัฒนาตนเอง เป็นการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนทุกคน จะต้องได้รับการฝึกอบรม ประชุม สัมมนา อย่างน้อย ไม่ต่ำว่าปีละ 20 ชั่วโมง เพื่อจะได้นำความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาการจัดการศึกษาให้มีความก้าวหน้า ทั้งงานในหน้าที่และการพัฒนาตนเอง โดยเฉพาะทักษะการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษที่เป็นภาษาสากล เพื่อให้รองรับการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน
กลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาคุณภาพสู่มาตรฐานสากล
1. การบริหาร โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ( School Based Management ) การบริหารการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน( S.B.M.) เป็นกลยุทธ์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการกระจายอำนาจ การจัดการศึกษา ให้โรงเรียนมีอำนาจอิสระและคล่องตัวในการตัดสินใจ การบริหารงานด้านวิชาการ ด้านการบริหารงานงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคลและด้านการบริหารทั่วไป ที่สอดคล้องกับคุณลักษณะ และบริบทที่เหมาะสมของโรงเรียน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ส่งผลให้การบริหารมีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลอย่างแท้จริง
2. การพัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล (World Class Standard School) เป็นการจัดโรงเรียนในโครงการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล โดยมุ่งหวังไว้ว่านักเรียนมีศักยภาพ เป็นพลเมืองโลก
3. การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ขับเคลื่อนและเตรียมการเพื่อก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียนที่จะเกิดขึ้น ใน ปี พ.ศ. 2558 ในทุกมิติอย่างเป็นรูปธรรม และจริงจังมากขึ้น จัดการเรียนรู้ เกี่ยวกับอาเซียน โดยการนำเรื่องอาเซียนเข้ามาบูรณาการ เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้เกิดความตระหนัก อันจะนำสู่ห้องเรียนและวิถีปฏิบัติในโรงเรียน ฉะนั้นโรงเรียนจะต้องผลิตเยาวชนคนรุ่นใหม่ที่
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Article management education strategies into ASEAN communityIntegration of the countries in Southeast Asia, the ASEAN community. Can add power to negotiate with any other community in the world, more and more will lead to a one in ASEAN. Executive Education is a strategy to provide educational access to the ASEAN community. Any of the following:1 development of the strategy, with1. the development of the school. With building management, security, clean boulevards, beautiful. There are activities organized environment. Foster an atmosphere conducive to learning and performance. Students and classes are available.2. the electronic office. Education must be an organization that uses computer and networking technology in document management. Communications monitoring and reporting data between education with relevant agencies, including agencies within the school so that people in authority can perform fast. Save time and money with quality and efficiency.3. procurement operation to supply the materials on education teaching management by performing with transparency, accountability, quality materials. Used to manage the study affect teachers and students.2 development of technical strategies to learn.1. managing education using ICT stands for information, education, services, research. From a variety of sources to learn, for example, tracing information to make data to create learning from Internet sources. By using e-Learning, which is the process of and utilization of learning. Computer assisted instruction teaching through virtual classroom web and digital learning tools, learning through the Internet. Intranet networking system through sound images. Satellite television systems, and CD-ROM.2. the development of the thought process by skilled teachers, thought process is to encourage birth. That is the system. Creative, quality happened and good learning management that resulted in participants. There is a thought process based on skills, education, sustainable quality standards.3. พัฒนาการอ่าน การเขียน สถานศึกษาต้องพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ การอ่านคล่อง เขียนคล่องและการอ่านเป็น เขียนเป็น ซึ่งผู้บริหาร ครูผู้สอนทุกคนของโรงเรียน ร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน จัดกิจกรรมสร้างนิสัยรักการอ่าน รวมทั้งการแก้ปัญหา และพัฒนาผู้เรียนให้อ่านออก เขียนได้ อ่านคล่อง เขียนคล่อง ด้วยกิจกรรมที่หลากหลายอย่างต่อเนื่อง จนผู้เรียนมีความสามารถในการใช้ภาษาไทยอย่างมีประสิทธิภาพ อันนำไปสู่การอ่านเป็น เขียนเป็น ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารเป็นภาษาที่สอง และส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้ภาษาเพื่อนบ้านในกลุ่มสมาชิกประชาคมอาเซียน 4. ห้องเรียนคุณภาพ สถานศึกษาต้องขับเคลื่อนการบริหารและการจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School Base Management : SBM) ตามแนวทางโรงเรียนผู้นำการเปลี่ยนแปลง เพื่อรองรับการกระจายอำนาจประกอบด้วย 5 ด้าน คือ ด้านการนำการเปลี่ยนแปลง ด้านหลักสูตร ด้านการวิจัยในชั้นเรียนและการวางแผนพัฒนาตนเอง ( ID Plan ) ด้านการใช้ ICT ด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และด้านการส่งเสริมอาชีพอิสระ เพื่อการมีรายได้ระหว่างเรียน กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาครูและบุคลากรเพื่อการปฏิบัติงาน1. พัฒนาครูและบุคลากรเพื่อการปฏิบัติงาน ให้มีคุณธรรมนำความรู้ การจัดการศึกษา โดยยึดหลัก “คุณธรรมนำความรู้” เป็นการจัดการศึกษาที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีความรู้ และอยู่ดีมีสุข เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ โดยใช้คุณธรรมเป็นพื้นฐานของกระบวนการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงความร่วมมือกันของสถาบันครอบครัว ชุมชน สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา โดยมุ่งเน้นให้โรงเรียนจัดกิจกรรม คุณธรรมนำความรู้ นำหลักธรรม และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต 2. พัฒนาผลงานครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อความสำเร็จประกวดในโครงการต่าง ๆ ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและบุคลากรทางการศึกษา คิดค้นแสวงหา จัดทำหรือดัดแปลงขึ้น ทั้งในลักษณะของกระบวนการ เทคนิควิธีการ หรือสื่อ เครื่องมือ พร้อมทั้งทำให้ครูและบุคลากรได้รับรางวัลต่าง ๆ และมีการเลื่อนวิทยฐานะที่สูงขึ้น ซึ่งเป็นการสร้างขวัญและกำลังใจต่อไป3. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยการอบรมสัมมนาพัฒนาตนเอง เป็นการพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนทุกคน จะต้องได้รับการฝึกอบรม ประชุม สัมมนา อย่างน้อย ไม่ต่ำว่าปีละ 20 ชั่วโมง เพื่อจะได้นำความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาการจัดการศึกษาให้มีความก้าวหน้า ทั้งงานในหน้าที่และการพัฒนาตนเอง โดยเฉพาะทักษะการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษที่เป็นภาษาสากล เพื่อให้รองรับการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียนกลยุทธ์ที่ 4 การพัฒนาคุณภาพสู่มาตรฐานสากล
1. การบริหาร โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ( School Based Management ) การบริหารการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน( S.B.M.) เป็นกลยุทธ์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการกระจายอำนาจ การจัดการศึกษา ให้โรงเรียนมีอำนาจอิสระและคล่องตัวในการตัดสินใจ การบริหารงานด้านวิชาการ ด้านการบริหารงานงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคลและด้านการบริหารทั่วไป ที่สอดคล้องกับคุณลักษณะ และบริบทที่เหมาะสมของโรงเรียน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ส่งผลให้การบริหารมีประสิทธิภาพเกิดประสิทธิผลอย่างแท้จริง
2. การพัฒนาโรงเรียนสู่มาตรฐานสากล (World Class Standard School) เป็นการจัดโรงเรียนในโครงการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล โดยมุ่งหวังไว้ว่านักเรียนมีศักยภาพ เป็นพลเมืองโลก
3. การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ขับเคลื่อนและเตรียมการเพื่อก้าวสู่การเป็นประชาคมอาเซียนที่จะเกิดขึ้น ใน ปี พ.ศ. 2558 ในทุกมิติอย่างเป็นรูปธรรม และจริงจังมากขึ้น จัดการเรียนรู้ เกี่ยวกับอาเซียน โดยการนำเรื่องอาเซียนเข้ามาบูรณาการ เพื่อให้นักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา ได้เกิดความตระหนัก อันจะนำสู่ห้องเรียนและวิถีปฏิบัติในโรงเรียน ฉะนั้นโรงเรียนจะต้องผลิตเยาวชนคนรุ่นใหม่ที่
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Article on management strategy of school to ASEAN
.The integration of the country in Southeast Asia as the ASEAN community. Can increase the power to the other in the world more and more. This can lead to the unity ในอาเซียน.Following
.The strategy 1 development for service with
1.Development of the landscape of school. Management on building, clean, beautiful and safe, there are activities related to จัดสิ่งแวดล้อม. Strengthen the atmosphere conducive to learning and practice.And it is the enterprise available
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: