สถานการณ์สงครามอิรัก (หลังการโค่นล้มซัดดัม ฮุสเซ็น)เหตุและผลของการทำสง การแปล - สถานการณ์สงครามอิรัก (หลังการโค่นล้มซัดดัม ฮุสเซ็น)เหตุและผลของการทำสง อังกฤษ วิธีการพูด

สถานการณ์สงครามอิรัก (หลังการโค่นล้

สถานการณ์สงครามอิรัก (หลังการโค่นล้มซัดดัม ฮุสเซ็น)
เหตุและผลของการทำสงครามรุกรานอิรักของสหรัฐอเมริกา ก่อนที่สหรัฐอเมริกาจะทำสงครามรุกรานประเทศอิรักเพื่อโค่นอำนาจประธานาธิบดี ซัดดัม ฮุสเซ็น นั้น ประธานาธิบดี จอร์จ บุช ได้อ้างเหตุผลหลัก 2 ประการต่อชาวอเมริกันและชาวโลกคือ
1. อิรักมีอาวุธทำลายร้ายแรง (Weapons of Mass Destruction – WMD) ไว้ในครอบครอง
2. ซัดดัม ฮุสเซ็น ผู้นำของอิรักให้การสนับสนุน กลุ่มก่อการร้ายอัลกออิดะ (Al-Qaeda) ของ โอซามะ บิน ลาเด็น

แต่หลังจากสหรัฐอเมริกาได้โค่นล้มประธานาธิบดีซัดดัมและได้เข้ายึดครองอิรักเป็นเวลานานกว่าหนึ่งปี ปรากฏว่าไม่พบหลักฐานดังกล่าวตามที่ประธานาธิบดีบุชได้กล่าวอ้างแต่อย่างใด คณะกรรมาธิการข่าวกรองของวุฒิสภาของสหรัฐอเมริกา (Senate Intelligence Committee) ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ ได้ข้อสรุปและเปิดเผยต่อคนอเมริกันและชาวโลกอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ.2547 ว่า สหรัฐอเมริกาได้รุกรานอิรักโดยอาศัยข้อมูลข่าวกรองที่ล้าสมัย ไม่ถูกต้อง และเป็นข้อมูลที่ไม่ชอบธรรมที่ ประธานาธิบดีบุชใช้อ้างในการทำสงคราม นอกจากนี้ คณะกรรมาธิการชุดนี้ยังพบว่า สำนักข่าวกรองกลาง (CIA) ไม่สามารถหาหลักฐานที่น่าเชื่อมาแสดงว่า ซัดดัมกับอัลกออิดะ เป็นพันธมิตรกันไม่ว่าจะมองในแง่มุมใดก็ตาม

อย่างไรก็ตาม ฮันส์ บลิกซ์ (Hans Blix) อดีตหัวหน้าผู้ตรวจสอบอาวุธในอิรักของสหประชาชาติ (UNMOVIC) ได้แสดงความเห็นโดยการให้สัมภาษณ์หนังสือพิมพ์รายวันฉบับหนึ่งของประเทศสเปนเมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ.2546 ว่า ผู้นำของสหรัฐอเมริกาและอังกฤษได้วางแผนที่จะรุกรานอิรักไว้ล่วงหน้ามาเป็นเวลานานแล้ว และผู้นำทั้งสองประเทศนี้โดยพื้นฐานแล้วไม่ได้สนใจว่าคณะตรวจสอบอาวุธของสหประชาชาติจะค้นหาอาวุธ WMD ในอิรักพบหรือไม่ (The Nation, April 10, 2003) ด้วยเหตุนี้จึงเป็นเรื่องไม่น่าแปลกที่ผู้นำสหรัฐอเมริกาและอังกฤษไม่ปรารถนาให้คณะผู้ตรวจสอบอาวุธของสหประชาชาติได้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป เพื่อพิสูจน์ว่าอิรักมีอาวุธที่มีอานุภาพทำลายร้ายแรงอันจะเป็นภัยคุกคามต่อสหรัฐอเมริกา ต่อภูมิภาค และต่อโลกตามข้อกล่าวหา ทั้งนี้เพราะเกรงว่าหากให้เจ้าหน้าที่ของสหประชาชาติในอิรักปฏิบัติหน้าที่ต่อไป และไม่สามารถค้นพบอาวุธดังกล่าว ผู้นำของทั้งสองประเทศนี้จะไม่สามารถมีข้ออ้างอันชอบธรรมเพื่อทำสงคราม “รุกราน” อิรักได้

แม้ว่าในที่สุดสหรัฐอเมริกาจะประสบผลสำเร็จในการใช้กำลังโค่นล้มประธานาธิบดีซัดดัมของอิรักแล้วก็ตาม แต่ผู้นำของสหรัฐอเมริกากลับต้องเผชิญกับปัญหาสำคัญมากขึ้น โดยในเดือนมิถุนายน พ.ศ.2547 ชาวอเมริกาส่วนใหญ่ (ร้อยละ 54) เริ่มมีความเห็นว่าการทำสงครามของสหรัฐอเมริกาในอิรักนั้นเป็นสิ่งที่ผิดพลาด และมากกว่าครึ่งหนึ่ง (ร้อยละ 51) ของชาวอเมริกากลับมีความเห็นว่าไม่รู้สึกปลอดภัยขึ้นหลังจาก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Iraq war situation (after the overthrow Saddam Hussein's signature.)Cause and effect of the United States invasion of Iraq war. Before the United States invaded Iraq to make war to overthrow a country to presidential powers. Saddam Hussein, then President George Bush signed the main reason cited for 2 reasons: the Americans and the people of the world is.1. Iraq has destroyed deadly weapons (Weapons of Mass Destruction WMD –) possession.2. Saddam Hussein's signature. The leader of Iraq, support Al-Qaida terrorist groups (Al-Qaeda) of Osaka, Umeda, Fukushima flight la dentist.แต่หลังจากสหรัฐอเมริกาได้โค่นล้มประธานาธิบดีซัดดัมและได้เข้ายึดครองอิรักเป็นเวลานานกว่าหนึ่งปี ปรากฏว่าไม่พบหลักฐานดังกล่าวตามที่ประธานาธิบดีบุชได้กล่าวอ้างแต่อย่างใด คณะกรรมาธิการข่าวกรองของวุฒิสภาของสหรัฐอเมริกา (Senate Intelligence Committee) ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อตรวจสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ ได้ข้อสรุปและเปิดเผยต่อคนอเมริกันและชาวโลกอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ.2547 ว่า สหรัฐอเมริกาได้รุกรานอิรักโดยอาศัยข้อมูลข่าวกรองที่ล้าสมัย ไม่ถูกต้อง และเป็นข้อมูลที่ไม่ชอบธรรมที่ ประธานาธิบดีบุชใช้อ้างในการทำสงคราม นอกจากนี้ คณะกรรมาธิการชุดนี้ยังพบว่า สำนักข่าวกรองกลาง (CIA) ไม่สามารถหาหลักฐานที่น่าเชื่อมาแสดงว่า ซัดดัมกับอัลกออิดะ เป็นพันธมิตรกันไม่ว่าจะมองในแง่มุมใดก็ตามอย่างไรก็ตาม ฮันส์ บลิกซ์ (Hans Blix) อดีตหัวหน้าผู้ตรวจสอบอาวุธในอิรักของสหประชาชาติ (UNMOVIC) ได้แสดงความเห็นโดยการให้สัมภาษณ์หนังสือพิมพ์รายวันฉบับหนึ่งของประเทศสเปนเมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ.2546 ว่า ผู้นำของสหรัฐอเมริกาและอังกฤษได้วางแผนที่จะรุกรานอิรักไว้ล่วงหน้ามาเป็นเวลานานแล้ว และผู้นำทั้งสองประเทศนี้โดยพื้นฐานแล้วไม่ได้สนใจว่าคณะตรวจสอบอาวุธของสหประชาชาติจะค้นหาอาวุธ WMD ในอิรักพบหรือไม่ (The Nation, April 10, 2003) ด้วยเหตุนี้จึงเป็นเรื่องไม่น่าแปลกที่ผู้นำสหรัฐอเมริกาและอังกฤษไม่ปรารถนาให้คณะผู้ตรวจสอบอาวุธของสหประชาชาติได้ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป เพื่อพิสูจน์ว่าอิรักมีอาวุธที่มีอานุภาพทำลายร้ายแรงอันจะเป็นภัยคุกคามต่อสหรัฐอเมริกา ต่อภูมิภาค และต่อโลกตามข้อกล่าวหา ทั้งนี้เพราะเกรงว่าหากให้เจ้าหน้าที่ของสหประชาชาติในอิรักปฏิบัติหน้าที่ต่อไป และไม่สามารถค้นพบอาวุธดังกล่าว ผู้นำของทั้งสองประเทศนี้จะไม่สามารถมีข้ออ้างอันชอบธรรมเพื่อทำสงคราม “รุกราน” อิรักได้In the end, even though the United States will succeed in Iraq President Saddam's overthrow, the leader of the United States returns to face the issue more important. By June 2547 (2004) American majority (54 per cent) is of the opinion that the war in Iraq is the United States's mistakes, and more than half (51 percent) of the back is of the opinion that American doesn't feel safe.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
The Iraq war (After the overthrow of Saddam. Hussain)
causes and effects of the war, the US invasion of Iraq. Prior to the US invasion of Iraq to overthrow President Saddam Hussein that President George Bush had cited two main reasons why the Americans and the world is
one. Iraq has weapons of mass destruction (Weapons of Mass Destruction - WMD) in possession of
two. Saddam Hussein's Iraqi leaders for support. The terrorist group Al-Qaeda (Al-Qaeda) O sama bin Laden after the US toppled president Saddam Hussein and occupied Iraq for more than a year. It appears that no such evidence, as President Bush has claimed it. Committee on Intelligence of the US Senate (Senate Intelligence Committee) was set up to check on this. Concluded and disclosed to the American people and the world is on 9th July 2547 that the United States invaded Iraq based on intelligence information, outdated and incorrect information is not justified. President Bush cited the war In addition, this commission has found. Central Intelligence Agency (CIA) could not find convincing evidence to show that. Saddam and Al-Qaeda. Allied whether optimism any angle , however, Hans B. Alix (Hans Blix), former chief weapons inspector in Iraq, the United Nations (UNMOVIC) commented on an interview with daily newspaper edition. Spain, on 9 April 2546 that the leaders of the US and British plans to invade Iraq in advance for a long time already. And the two leaders this country basically does not care if the weapons inspectors of the UN search for weapons, WMD in Iraq met or not (The Nation, April 10, 2003) For this reason, it is not surprising that the United States and. England did not wish to give the UN weapons inspectors have the following duties. To prove that Iraq had weapons of mass destruction is a grave threat to the United States, the region and the world, according to the allegations. The fear that if the UN officials in Iraq continue to perform duties. And can not find such weapons. Leaders of the two countries can not be a legitimate pretext for war "invasion" of Iraq by the United States will eventually succeed in using force to topple Iraqi President Saddam Hussein remains. But the leaders of the United States to face the increasingly important issues. In June 2547, most Americans (54 percent) are of the opinion that the start of the US war in Iraq was a mistake. And more than half (51 percent) of the US to have an opinion that does not feel safe after.





การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: