บทคัดย่อการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาองค์ประกอบที่เกี่ยว การแปล - บทคัดย่อการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาองค์ประกอบที่เกี่ยว อังกฤษ วิธีการพูด

บทคัดย่อการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประส

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2)เพื่อพัฒนารูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย3)เพื่อประเมินประสิทธิผลของรูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายมีตัวแปรแฝง1ตัวได้แก่ พฤติกรรมสุขภาพตัวแปรที่สังเกตได้ภายนอกจำนวน6ตัวแปรได้แก่ ด้านบุคลิกภาพ ด้านเทคโนโลยี ด้านความเชื่อ ด้านการปฏิบัติ ด้านทัศนคติ ด้านความรู้ และมีตัวแปรที่สังเกตได้ภายใน จำนวน 24 ตัวแปรใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนา?(Research and Development)ด้วยการวิจัยแบบผสมผสานวิธี(Mixed Methods Research) มี3ระยะ ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ระยะที่2 พัฒนารูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพองค์ประกอบด้านความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ระยะที่ 3ประเมินประสิทธิผลของรูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายมีการทดสอบก่อนและหลังการใช้รูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่พัฒนาขึ้นกับกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน336 คนได้มาจากการสุ่มแบบบุ๊คเลทเมทริกซ์(Book Matrix Sampling) วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์โมเดลเชิงสาเหตุ และตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างรูปแบบตามทฤษฏีกับข้อมูลเชิงประจักษ์ใช้โปรแกรมลิสเรล(Version9.10) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่รูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพองค์ประกอบด้านความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย คู่มือครู แบบทดสอบความรู้ คู่มือนักเรียน และแบบประเมินประสิทธิผลของรูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ผลการวิจัยพบว่า
1.องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้แก่ด้านบุคลิกภาพ องค์ประกอบด้านเทคโนโลยี องค์ประกอบด้านความเชื่อ องค์ประกอบด้านการปฏิบัติองค์ประกอบด้านทัศนคติ องค์ประกอบด้านความรู้
2.ผลการพัฒนาได้รูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพองค์ประกอบด้านความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเป็นการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ วัตถุประสงค์ คือเพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกันทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ขั้นตอนของรูปแบบ 5 ขั้น คือขั้นที่ 1การให้ความรู้และการสร้างความตระหนัก(Knowledge and Awareness: KA) ขั้นที่ 2 การสร้างเสริมความรู้
(Enhancement :E) ขั้นที่ 3 การสร้างผลงาน(Construction : C) ขั้นที่ 4 การนำเสนอผลงาน(Presentation : P)อ และขั้นที่5 การประเมินผลการเรียนรู้และการสะท้อนกลับ (Assessment and Reflection : AR)ในทุกขั้นตอนมีการดำเนินการขั้นตอนย่อย คือขั้นเตรียมการ (Preparing : P) ขั้นปฏิบัติ (Doing : D) ขั้นสรุป(Summarizing : S) โดยมีเงื่อนไขการนำรูปแบบไปใช้ ประกอบด้วย หลักการตอบสนอง ระบบสังคมและระบบสนับสนุน
3. การประเมินประสิทธิผลของรูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพองค์ประกอบด้านความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพองค์ประกอบด้านความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อรูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพองค์ประกอบด้านความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
AbstractThis research aims to study 1) elements related to health behaviors of high school students in grade 2) to develop model projects to develop healthy behaviors of high school students in grade 3) to evaluate the effectiveness of the development project, phriti.The health of students, high school class has namely option 1 alias variables. Health behaviour variables observed outside of 6 variables: the personality of our security technology, practices, attitude, knowledge, and there is a variable that variable within 24 days using the methodology research and development? (Research and Development) by the research team.Newly renovated Koh blending method (Mixed Research Methods) with 3 phases. Phase 1 studies the elements related to the health behavior of high school graders phase 2. Development of a project to develop healthy behaviors element knowledge of high school level students. Phase 3 evaluation of the effectiveness of the project to develop healthy behaviors of high school graders be tested before and after using the project to develop improved health behaviors with a sample of the student's high school class. The number 336 People have come from the book Le thamet rik (Book Matrix Sampling) Quantitative data analysis with the standard deviation of the average percent. Analysis of the causal model and verify the consistency between the data according to the format with the hypothesis seemed to use Li saren (VersionNN9D1) Tools used in research, including a project to develop models of health behavior and knowledge elements of high school graders includes teachers guide. Student Guide knowledge quiz and assess the effectiveness of a project to develop healthy behaviors of students in high school classes. The results showed that 1. elements related to health behaviors of high school level students: personality. Technology element. The elements of faith. The elements of the elements operating attitude. Knowledge element. 2. the results of the development project has developed a behavioral health knowledge elements of high school graders are learning to participate, to contribute to the creation of new knowledge. The objective is to make learners participate in collaborative learning experiences provide a better quality of life. Step 5 format step 1 step is education and awareness (Knowledge and Awareness: KA) Step 2 create knowledge(Enhancement: E) step 3 creating work (Construction: C) step 4 presentations (Presentation: P) to cooperate and step 5. Assessment of learning and reflection (Assessment and Reflection: AR) at every step there is a sub procedure is a preparation stage (Preparing: P) operating procedures (Doing: D) final summary (Summarizing: S) is leading format to include principles of response. Social systems and support systems. 3. evaluation of the effectiveness of the project, the development of health knowledge element behaviors of students in high school classes. Students using the project model to develop healthy behaviors element knowledge of high school graders had achievement after school is higher than before the study significantly different at .01 level statistics and student satisfaction in the project to develop healthy behaviors element knowledge of high school level students. In the picture is included in the high level.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2)เพื่อพัฒนารูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย3)เพื่อประเมินประสิทธิผลของรูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายมีตัวแปรแฝง1ตัวได้แก่ พฤติกรรมสุขภาพตัวแปรที่สังเกตได้ภายนอกจำนวน6ตัวแปรได้แก่ ด้านบุคลิกภาพ ด้านเทคโนโลยี ด้านความเชื่อ ด้านการปฏิบัติ ด้านทัศนคติ ด้านความรู้ และมีตัวแปรที่สังเกตได้ภายใน จำนวน 24 ตัวแปรใช้ระเบียบวิธีการวิจัยและพัฒนา?(Research and Development)ด้วยการวิจัยแบบผสมผสานวิธี(Mixed Methods Research) มี3ระยะ ระยะที่ 1 ศึกษาองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ระยะที่2 พัฒนารูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพองค์ประกอบด้านความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ระยะที่ 3ประเมินประสิทธิผลของรูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายมีการทดสอบก่อนและหลังการใช้รูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่พัฒนาขึ้นกับกลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน336 คนได้มาจากการสุ่มแบบบุ๊คเลทเมทริกซ์(Book Matrix Sampling) วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์โมเดลเชิงสาเหตุ และตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างรูปแบบตามทฤษฏีกับข้อมูลเชิงประจักษ์ใช้โปรแกรมลิสเรล(Version9.10) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่รูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพองค์ประกอบด้านความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย คู่มือครู แบบทดสอบความรู้ คู่มือนักเรียน และแบบประเมินประสิทธิผลของรูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ผลการวิจัยพบว่า
1.องค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้แก่ด้านบุคลิกภาพ องค์ประกอบด้านเทคโนโลยี องค์ประกอบด้านความเชื่อ องค์ประกอบด้านการปฏิบัติองค์ประกอบด้านทัศนคติ องค์ประกอบด้านความรู้
2.ผลการพัฒนาได้รูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพองค์ประกอบด้านความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเป็นการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้ใหม่ วัตถุประสงค์ คือเพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ร่วมกันทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ขั้นตอนของรูปแบบ 5 ขั้น คือขั้นที่ 1การให้ความรู้และการสร้างความตระหนัก(Knowledge and Awareness: KA) ขั้นที่ 2 การสร้างเสริมความรู้
(Enhancement :E) ขั้นที่ 3 การสร้างผลงาน(Construction : C) ขั้นที่ 4 การนำเสนอผลงาน(Presentation : P)อ และขั้นที่5 การประเมินผลการเรียนรู้และการสะท้อนกลับ (Assessment and Reflection : AR)ในทุกขั้นตอนมีการดำเนินการขั้นตอนย่อย คือขั้นเตรียมการ (Preparing : P) ขั้นปฏิบัติ (Doing : D) ขั้นสรุป(Summarizing : S) โดยมีเงื่อนไขการนำรูปแบบไปใช้ ประกอบด้วย หลักการตอบสนอง ระบบสังคมและระบบสนับสนุน
3. การประเมินประสิทธิผลของรูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพองค์ประกอบด้านความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียนที่เรียนโดยใช้รูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพองค์ประกอบด้านความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรียนมีความพึงพอใจต่อรูปแบบโครงการการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพองค์ประกอบด้านความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Abstract
.The purpose of this research is 1) to study the factors related to health behaviors of high school students.Health behavior variables observed outside the 6 parameters such as personality, technology and belief, the practice, the attitude. Knowledge and the variables observed within the 24.(Research and Development) with integrated research method (Mixed Methods Research) is 3 phase phase 1 study factors associated with health behaviors. The second phase of the high school students.That stage.3 evaluate the effectiveness of the model development of health behavior of high school students are tested before and after using the pattern of development of health behavior development depends on the secondary school Prof.Deep education students.The 336 were analyzed by matrix (Book booklet Matrix Sampling) analysis of quantitative data, percentage, mean, standard deviation. An analysis of the causal model10 instruments including the development of health behavior pattern composition knowledge of high school students. Consists of a teacher's manual, test knowledge, Student HandbookThe results showed that 1
.Factors related to health behaviors of high school students, including the personality factors, technology, the faith. The performance of the attitude.2.The development model of development of health behavior factors, knowledge of the upper secondary school students as a participatory learning to leading to the creation of new knowledge Objective.Steps of the model is 5 step step 1 knowledge and awareness (Knowledge and Awareness:KA) step 2 promoting knowledge
(Enhancement: E) step 3 building works (Construction: C) step 4 presentation ผลงาน(Presentation. : P) and step 5 learning evaluation and reflection (Assessment and Reflection:AR) at every step are the steps which are preparation, Preparing: P) practice stage (Doing: D) step สรุป(Summarizing. : S) under the condition of using the model consists of the principle of response, social system and support system
3.Assessment of the effectiveness of the model development of health behavior factors, knowledge of high school students.No statistically significant.01 and students were satisfied with the development of health behavior factors, knowledge of high school students. Overall level
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: