ระบบประกันสุขภาพในต่างประเทศเปรียบเทียบกับในประเทศไทยพบว่า ระบบประกันส การแปล - ระบบประกันสุขภาพในต่างประเทศเปรียบเทียบกับในประเทศไทยพบว่า ระบบประกันส อังกฤษ วิธีการพูด

ระบบประกันสุขภาพในต่างประเทศเปรียบเ

ระบบประกันสุขภาพในต่างประเทศ
เปรียบเทียบกับในประเทศไทยพบว่า ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทยยังไม่มีประสิทธิภาพ
เท่าที่ควรเนื่องจากมีการบริหารจัดการของกองทุนแต่ละกองทุนแบบแยกส่วน ทำให้มีต้นทุนในการ
บริหารที่ซ้ำซ้อน นอกจากนี้แล้ว การขาดการบริหารจัดการกองทุนประกันสุขภาพที่มีอยู่
หลากหลายอย่างบูรณาการทำให้เกิดปัญหาความเหลื่อมล้ำของสิทธิในการรักษาพยาบาลและภาระ
ค่าใช้จ่ายในการได้มาซึ่งสิทธิดังกล่าวทำให้มีการเรียกร้องให้มีการปรับปรุงระบบเพื่อให้เกิดความ
เท่าเทียมกันของประชาชนทุกคนไม่ว่าจะอยู่ภายใต้กองทุนใด
คณะผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะในการปฏิรูประบบประกันสุขภาพของไทยเพื่อที่จะเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและลดความเหลื่อมล้ำของสิทธิในการรักษาพยาบาลดังนี้
ประการแรก ประเทศไทยจำเป็นต้องเลือกระบบประกันสุขภาพของประเทศที่พึงปรารถนา
ว่าต้องการให้เป็นระบบที่อิงกับระบบประกันสังคม เช่นเดียวกับประเทศฝรั่งเศส ประเทศเยอรมนี
และประเทศญี่ปุ่น หรือระบบที่ไม่อิงกับระบบประกันสังคม เช่นเดียวกับประเทศอังกฤษและ
ประเทศออสเตรเลีย คณะผู้วิจัยเห็นว่า ระบบประกันสังคมอาจไม่เหมาะสมนักสำหรับประเทศไทย
เพราะในปัจจุบันระบบประกันสังคมครอบคลุมจำนวนแรงงานเพียง 10 ล้านคน นอกจากนี้แล้ว
ระบบประกันสังคมให้สิทธิในการรักษาพยาบาลแก่ผู้ประกันตนเฉพาะช่วงเวลาที่ยังไม่เกษียณอายุ
การทำงานเท่านั้น ทำให้ภาครัฐต้องมีระบบระบบประกันสุขภาพแห่งชาติเข้ามารองรับประชาชน
จำนวนมากที่ไม่ได้เป็นผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมและผู้เกษียณอายุการทำงาน
ประการที่สอง ในประเด็นของการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพนั้น คณะผู้วิจัยมี
ความเห็นว่า ควรมีการโอนย้ายภารกิจในการกำหนดนโยบาย และในการกำกับดูแลระบบประกัน
สุขภาพทั้งสามระบบให้อยู่ภายใต้หน่วยงานเดียวกัน ซึ่งควรเป็นกระทรวงสาธารณสุข เนื่องจากเป็น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ระบบประกันสุขภาพในต่างประเทศเปรียบเทียบกับในประเทศไทยพบว่า ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทยยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรเนื่องจากมีการบริหารจัดการของกองทุนแต่ละกองทุนแบบแยกส่วน ทำให้มีต้นทุนในการบริหารที่ซ้ำซ้อน นอกจากนี้แล้ว การขาดการบริหารจัดการกองทุนประกันสุขภาพที่มีอยู่หลากหลายอย่างบูรณาการทำให้เกิดปัญหาความเหลื่อมล้ำของสิทธิในการรักษาพยาบาลและภาระค่าใช้จ่ายในการได้มาซึ่งสิทธิดังกล่าวทำให้มีการเรียกร้องให้มีการปรับปรุงระบบเพื่อให้เกิดความเท่าเทียมกันของประชาชนทุกคนไม่ว่าจะอยู่ภายใต้กองทุนใดคณะผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะในการปฏิรูประบบประกันสุขภาพของไทยเพื่อที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและลดความเหลื่อมล้ำของสิทธิในการรักษาพยาบาลดังนี้ประการแรก ประเทศไทยจำเป็นต้องเลือกระบบประกันสุขภาพของประเทศที่พึงปรารถนาว่าต้องการให้เป็นระบบที่อิงกับระบบประกันสังคม เช่นเดียวกับประเทศฝรั่งเศส ประเทศเยอรมนีและประเทศญี่ปุ่น หรือระบบที่ไม่อิงกับระบบประกันสังคม เช่นเดียวกับประเทศอังกฤษและประเทศออสเตรเลีย คณะผู้วิจัยเห็นว่า ระบบประกันสังคมอาจไม่เหมาะสมนักสำหรับประเทศไทยเพราะในปัจจุบันระบบประกันสังคมครอบคลุมจำนวนแรงงานเพียง 10 ล้านคน นอกจากนี้แล้วระบบประกันสังคมให้สิทธิในการรักษาพยาบาลแก่ผู้ประกันตนเฉพาะช่วงเวลาที่ยังไม่เกษียณอายุการทำงานเท่านั้น ทำให้ภาครัฐต้องมีระบบระบบประกันสุขภาพแห่งชาติเข้ามารองรับประชาชนจำนวนมากที่ไม่ได้เป็นผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมและผู้เกษียณอายุการทำงานประการที่สอง ในประเด็นของการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพนั้น คณะผู้วิจัยมีความเห็นว่า ควรมีการโอนย้ายภารกิจในการกำหนดนโยบาย และในการกำกับดูแลระบบประกันสุขภาพทั้งสามระบบให้อยู่ภายใต้หน่วยงานเดียวกัน ซึ่งควรเป็นกระทรวงสาธารณสุข เนื่องจากเป็น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ระบบประกันสุขภาพในต่างประเทศ
เปรียบเทียบกับในประเทศไทยพบว่า ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทยยังไม่มีประสิทธิภาพ
เท่าที่ควรเนื่องจากมีการบริหารจัดการของกองทุนแต่ละกองทุนแบบแยกส่วน ทำให้มีต้นทุนในการ
บริหารที่ซ้ำซ้อน นอกจากนี้แล้ว การขาดการบริหารจัดการกองทุนประกันสุขภาพที่มีอยู่
หลากหลายอย่างบูรณาการทำให้เกิดปัญหาความเหลื่อมล้ำของสิทธิในการรักษาพยาบาลและภาระ
ค่าใช้จ่ายในการได้มาซึ่งสิทธิดังกล่าวทำให้มีการเรียกร้องให้มีการปรับปรุงระบบเพื่อให้เกิดความ
เท่าเทียมกันของประชาชนทุกคนไม่ว่าจะอยู่ภายใต้กองทุนใด
คณะผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะในการปฏิรูประบบประกันสุขภาพของไทยเพื่อที่จะเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและลดความเหลื่อมล้ำของสิทธิในการรักษาพยาบาลดังนี้
ประการแรก ประเทศไทยจำเป็นต้องเลือกระบบประกันสุขภาพของประเทศที่พึงปรารถนา
ว่าต้องการให้เป็นระบบที่อิงกับระบบประกันสังคม เช่นเดียวกับประเทศฝรั่งเศส ประเทศเยอรมนี
และประเทศญี่ปุ่น หรือระบบที่ไม่อิงกับระบบประกันสังคม เช่นเดียวกับประเทศอังกฤษและ
ประเทศออสเตรเลีย คณะผู้วิจัยเห็นว่า ระบบประกันสังคมอาจไม่เหมาะสมนักสำหรับประเทศไทย
เพราะในปัจจุบันระบบประกันสังคมครอบคลุมจำนวนแรงงานเพียง 10 ล้านคน นอกจากนี้แล้ว
ระบบประกันสังคมให้สิทธิในการรักษาพยาบาลแก่ผู้ประกันตนเฉพาะช่วงเวลาที่ยังไม่เกษียณอายุ
การทำงานเท่านั้น ทำให้ภาครัฐต้องมีระบบระบบประกันสุขภาพแห่งชาติเข้ามารองรับประชาชน
จำนวนมากที่ไม่ได้เป็นผู้ประกันตนในระบบประกันสังคมและผู้เกษียณอายุการทำงาน
ประการที่สอง ในประเด็นของการบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพนั้น คณะผู้วิจัยมี
ความเห็นว่า ควรมีการโอนย้ายภารกิจในการกำหนดนโยบาย และในการกำกับดูแลระบบประกัน
สุขภาพทั้งสามระบบให้อยู่ภายใต้หน่วยงานเดียวกัน ซึ่งควรเป็นกระทรวงสาธารณสุข เนื่องจากเป็น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Health insurance systems in foreign countries
compare with in found. In health insurance system was not effective
as it should be because there is the management of the fund fund split the cost of
.The redundancy management. In addition, the lack of health insurance fund management exists
หลากหลายอย่าง integrated problem inequality of rights in medical care and burden
.The cost to acquire such rights to claim to have improved the system so that the purity of the People
everyone whether under any fund
.The researchers suggest in the reform of health insurance system in order to increase the efficiency and reduce the inequality: management of rights in health care:
.Firstly, the need to choose health insurance systems of countries that want a desirable
system that based on the social security system. Like France, Germany
.And Japan, or systems that are not based on the social security system. In England and Australia, as well as
researchers see The social security system may be inappropriate for Thailand
.The current social security system covering labor only 10 million people. In addition,
the social security system grant medical treatment to a specific time period are not insured retirement
.Work only. The government must be a national health insurance system to support the People
A is not insured in the social security system, the retirement work
.Secondly, in the issue of the management of the health insurance system. The researchers have
the opinion that Should transfer the mission in policy formulation. And in the regulation of insurance system
.Three health system under the same agency Which should be the Ministry of health. Because it is
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: