ดาวเทียม SPOTเป็นดาวเทียมสำรวจทรัพยากรโลกดวงแรกของยุโรป ที่พัฒนาขึ้นตา การแปล - ดาวเทียม SPOTเป็นดาวเทียมสำรวจทรัพยากรโลกดวงแรกของยุโรป ที่พัฒนาขึ้นตา อังกฤษ วิธีการพูด

ดาวเทียม SPOTเป็นดาวเทียมสำรวจทรัพย

ดาวเทียม SPOT
เป็นดาวเทียมสำรวจทรัพยากรโลกดวงแรกของยุโรป ที่พัฒนาขึ้นตามความร่วมมือระหว่างประเทศของสถาบันอวกาศแห่งชาติฝรั่งเศส (Centre NATIONAL D’ E’TUDES SPTIALS - CNES) กับประเทศเบลเยี่ยมและประเทศสวีเดน ดาวเทียม SPOT จะบรรจุอุปกรณ์บันทึกข้อมูล HRV จำนวน 2 กล้องขึ้นไปในวงโคจรความสูงที่แตกต่างกัน เป็นดาวเทียมที่ออกแบบให้มีความสามารถให้รายละเอียดภาคพื้นดินดีขึ้น กล่าวคือ ให้ความแตกต่างทางพื้นที่ในระบบกล้องหลายช่วงคลื่น 20 เมตร และในระบบช่วงคลื่นเดียว
10 เมตร ประกอบด้วย อุปกรณ์ถ่ายภาพด้านข้าง จึงทำให้สามารถถ่ายภาพบริเวณเดิมได้ซ้ำกันหลายๆ วัน สามารถนำมาทำภาพสามมิติ (Stereo image) ได้ นอกจากนี้แล้วก็ยังสามารถนำมาเปรียบเทียบกับแผนที่มาตราส่วน 1 : 50,000 ได้โดยอัตโนมัติ
ในระหว่างปี พ.ศ. 2529 จนกระทั่งถึงปัจจุบันนี้ มีดาวเทียม SPOT สี่ดวงที่ส่งเข้าไปในวงโคจรตามลำดับ ดังนี้
SPOT -1 ส่งเข้าสู่วงโคจรในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2529 มีน้ำหนักประมาณ 1,750 กิโลกรัม มีขนาด 2x2x3.5 เมตร มีแผงรับพลังงานจากดวงอาทิตย์ยาว 15.6 เมตร โคจรในลักษณะสัมพันธ์ดับดวงอาทิตย์ ทำมุมเอียง 97 องศา ในระดับความสูง 830 กิโลเมตร โคจรผ่านเส้นศูนย์สูตรเวลาประมาณ 10.30 น. และโคจรกลับมาบันทึกภาพบริเวณเดิมทุก 26 วัน โดยมีวงโคจรรอบโลก 369 รอบ SPOT -1 ประกอบด้วยตัวดาวเทียม ระบบกล้อง และระบบการส่งสัญญาณระยะไกล ระบบกล้อง ประกอบด้วย HRV จำนวน 2 ตัว คือ ระบบกล้องหลายช่วงคลื่น และระบบช่วงคลื่นเดียว สามารถใช้บันทึกได้ทั้ง 2 ระบบไปพร้อมๆ กัน
SPOT -2 ส่งเข้าสู่วงโคจรเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2533 มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับ SPOT -1 ส่วน SPOT -3 มีอุปสรรคไม่สามารถปฏิบัติงานได้ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 เป็นต้นมา จนกระทั่งถึงปลายปี พ.ศ. 2539 ภาพข้อมูลที่ได้รับจากดาวเทียม SPOT ทั้งสามดวงนี้มีมากกว่า 5 ล้านภาพที่ครอบคลุมพื้นที่ 60 x 60 กม2 ในช่วงเวลาที่ให้บริการข้อมูล 12 ปี
SPOT -4 ได้พัฒนา ขึ้นมาใช้งานแล้วในปัจจุบัน และได้รับการออกแบบให้มีประสิทธิภาพดีกว่าดาวเทียม SPOT รุ่นก่อนๆ คือ
- การเพิ่มช่วงคลื่นอินฟราเรดคลื่นสั้น (Short wave infrared) เข้ามาทำให้สามารถแบ่งแยก
พืชพันธุ์ออกจากดินได้ดีขึ้น
- การเพิ่มขีดความสามารถในการบันทึกข้อมูล
- การเพิ่มอุปกรณ์สำหรับบันทึกข้อมูลพืชในมุมกว้าง (Wide angle vegetation instrument) สามารถตรวจสอบการปกคลุมและพืชพันธุ์ของโลกในระยะเวลาสั้น คือ เป็นรายวันได้
- การปรับปรุงการบันทึกข้อมูลเชิงตำแหน่ง โดยฟังก์ชันของเครื่องบันทึกข้อมูลสัญญาณดาวเทียม ระบบ DORIS
นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมให้ความสนใจ ระบบ SPOT เพราะการเพิ่มกระจกไปบนอุปกรณ์ HRV เป็นผลทำให้อุปกรณ์บันทึก ชี้ทำมุม +27 องศา กับพื้นที่สำรวจ ทำให้เกิดข้อให้ได้เปรียบขึ้นมา 3 ประการ ดังนี้

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ดาวเทียม SPOTเป็นดาวเทียมสำรวจทรัพยากรโลกดวงแรกของยุโรป ที่พัฒนาขึ้นตามความร่วมมือระหว่างประเทศของสถาบันอวกาศแห่งชาติฝรั่งเศส (Centre NATIONAL D’ E’TUDES SPTIALS - CNES) กับประเทศเบลเยี่ยมและประเทศสวีเดน ดาวเทียม SPOT จะบรรจุอุปกรณ์บันทึกข้อมูล HRV จำนวน 2 กล้องขึ้นไปในวงโคจรความสูงที่แตกต่างกัน เป็นดาวเทียมที่ออกแบบให้มีความสามารถให้รายละเอียดภาคพื้นดินดีขึ้น กล่าวคือ ให้ความแตกต่างทางพื้นที่ในระบบกล้องหลายช่วงคลื่น 20 เมตร และในระบบช่วงคลื่นเดียว10 เมตร ประกอบด้วย อุปกรณ์ถ่ายภาพด้านข้าง จึงทำให้สามารถถ่ายภาพบริเวณเดิมได้ซ้ำกันหลายๆ วัน สามารถนำมาทำภาพสามมิติ (Stereo image) ได้ นอกจากนี้แล้วก็ยังสามารถนำมาเปรียบเทียบกับแผนที่มาตราส่วน 1 : 50,000 ได้โดยอัตโนมัติในระหว่างปี พ.ศ. 2529 จนกระทั่งถึงปัจจุบันนี้ มีดาวเทียม SPOT สี่ดวงที่ส่งเข้าไปในวงโคจรตามลำดับ ดังนี้SPOT -1 ส่งเข้าสู่วงโคจรในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2529 มีน้ำหนักประมาณ 1,750 กิโลกรัม มีขนาด 2x2x3.5 เมตร มีแผงรับพลังงานจากดวงอาทิตย์ยาว 15.6 เมตร โคจรในลักษณะสัมพันธ์ดับดวงอาทิตย์ ทำมุมเอียง 97 องศา ในระดับความสูง 830 กิโลเมตร โคจรผ่านเส้นศูนย์สูตรเวลาประมาณ 10.30 น. และโคจรกลับมาบันทึกภาพบริเวณเดิมทุก 26 วัน โดยมีวงโคจรรอบโลก 369 รอบ SPOT -1 ประกอบด้วยตัวดาวเทียม ระบบกล้อง และระบบการส่งสัญญาณระยะไกล ระบบกล้อง ประกอบด้วย HRV จำนวน 2 ตัว คือ ระบบกล้องหลายช่วงคลื่น และระบบช่วงคลื่นเดียว สามารถใช้บันทึกได้ทั้ง 2 ระบบไปพร้อมๆ กันSPOT -2 ส่งเข้าสู่วงโคจรเมื่อวันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2533 มีคุณสมบัติคล้ายคลึงกับ SPOT -1 ส่วน SPOT -3 มีอุปสรรคไม่สามารถปฏิบัติงานได้ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 เป็นต้นมา จนกระทั่งถึงปลายปี พ.ศ. 2539 ภาพข้อมูลที่ได้รับจากดาวเทียม SPOT ทั้งสามดวงนี้มีมากกว่า 5 ล้านภาพที่ครอบคลุมพื้นที่ 60 x 60 กม2 ในช่วงเวลาที่ให้บริการข้อมูล 12 ปีSPOT -4 ได้พัฒนา ขึ้นมาใช้งานแล้วในปัจจุบัน และได้รับการออกแบบให้มีประสิทธิภาพดีกว่าดาวเทียม SPOT รุ่นก่อนๆ คือ- การเพิ่มช่วงคลื่นอินฟราเรดคลื่นสั้น (Short wave infrared) เข้ามาทำให้สามารถแบ่งแยกพืชพันธุ์ออกจากดินได้ดีขึ้น- การเพิ่มขีดความสามารถในการบันทึกข้อมูล- การเพิ่มอุปกรณ์สำหรับบันทึกข้อมูลพืชในมุมกว้าง (Wide angle vegetation instrument) สามารถตรวจสอบการปกคลุมและพืชพันธุ์ของโลกในระยะเวลาสั้น คือ เป็นรายวันได้- การปรับปรุงการบันทึกข้อมูลเชิงตำแหน่ง โดยฟังก์ชันของเครื่องบันทึกข้อมูลสัญญาณดาวเทียม ระบบ DORISนักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมให้ความสนใจ ระบบ SPOT เพราะการเพิ่มกระจกไปบนอุปกรณ์ HRV เป็นผลทำให้อุปกรณ์บันทึก ชี้ทำมุม +27 องศา กับพื้นที่สำรวจ ทำให้เกิดข้อให้ได้เปรียบขึ้นมา 3 ประการ ดังนี้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ที่รักคุณมี ?ที่รักคุณมี ?ที่รักคุณมี ?ที่รักคุณมี ?ที่รักคุณมี ?ที่รักคุณมี ?ที่รักคุณมี ?ที่รักคุณมี ?ที่รักคุณมี ?ที่รักคุณมี ?ที่รักคุณมี ?ที่รักคุณมี ?ที่รักคุณมี ?ที่รักคุณมี ?ที่รักคุณมี ?
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: