บทความ เรื่อง การพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัยเด็กปฐมวัยเรียนรู้ภาษา จา การแปล - บทความ เรื่อง การพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัยเด็กปฐมวัยเรียนรู้ภาษา จา อังกฤษ วิธีการพูด

บทความ เรื่อง การพัฒนาการทางภาษาของ

บทความ
เรื่อง การพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย
เด็กปฐมวัยเรียนรู้ภาษา จากสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวทั้งสิ่งแวดล้อมที่บ้าน และโรงเรียน เด็กจะเรียนรู้การฟังและการพูดก่อน เพราะการฟังและการพูดเป็นของคู่กัน เป็นพื้นฐาน ทางภาษา กล่าวคือ เมื่อฟังแล้วก็ย่อมต้องพูดสนทนาโต้ตอบได้ การเรียนภาษาของเด็กปฐมวัยไม่จำเป็นต้องอาศัยการสอนอย่างเป็นทางการ หรือตามหลักไวยกรณ์ แต่จะเป็นการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้างหรือสิ่งแวดล้อมรอบตัว หรือเป็นการสอนแบบธรรมชาติ
ช่วงอายุ 3-4 ปี เด็กส่วนมากจะสามารถพูดเป็นประโยคยาวๆ และค่อยๆ เล่าเรื่องอย่างเป็นเรื่องเป็นราวได้ที่อายุประมาณ 4 ปี คำพูดเกือบทั้งหมดมีความหมายชัดเจนที่อายุประมาณ 4 ปี หารเด็กได้รับการส่งเสริมพัฒนาการทางภาษามาอย่างต่อเนื่อง และไม่มีความล่าช้าทางพัฒนาการทางภาษาจากสาเหตุอื่นใด เด็กในช่วงวัยนี้จะมีความสามารถในการใช้ภาษาพูดสื่อสารได้เป็นอย่างดีใกล้ เคียงกับเด็กในวัยเรียนทั่วไป เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมต่อการพัฒนาทักษะในด้านการอ่าน เด็กควรรับการสอนให้คุ้นเคยกับคำพ้องเสียง โดยผ่านการฟังบทอาขยานสั้นๆ ง่ายๆ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษมีความคล้ายคลึงกันในส่วนที่ภาษาอ่านและเขียนโดยตั้ง อยู่บนหลักการของระบบเสียง (phonetics) คำแต่ลำคำจะประกอบด้วยเสียงย่อยต่างๆ ในสังคมที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลักจึงมักส่งเสริมให้เด็กในวัยนี้ได้มีโอกาส เรียนรู้ทักษะก่อนการอ่าน ด้วยการฝึกหัดใช้ภาษาที่เป็นคำคล้องจอง ทำนองเดียวกับบทอาขยานของไทย ตั้งนี้ไม่ได้มีความหมายว่าเด็กวัยนี้ต้องอ่านหนังสือเป็น ผู้ใหญ่ สามารถเล่าเรื่องหรืออ่านให้ฟังหรือร้องเล่นเป็นทำนองเพลงก็สามารถช่วยให้ เด็กเรียนรู้พื้นฐานของระบบเสียงที่เกี่ยวข้องกับการอ่านได้ง่ายขึ้น ทักษะพื้นฐานทางภาษาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสติปัญญาจะรวมถึงความเข้าใจเรื่องของลำดับก่อนหลัง สิ่งที่เป็นนามธรรมมากขึ้น ได้แก่ สี ขนาด จำนวน แม้สิ่งต่างๆ เหล่านี้จะเรียนรู้ผ่านการท่องจำได้ แต่ถ้าขาดความเข้าใจพื้นฐานสำคัญ เด็กจะเรียนรู้ต่อเนื่องด้วยตนเองได้ยากลำบาก เช่น แม้เด็กจะท่องจำสีได้หลายสี แต่เมื่อเห็นสีอื่นซึ่งไม่เคยเห็นแต่มีลักษณะใกล้เคียงกับสีเดิม (เขียวอ่อนกับเขียวแก่) เด็กที่มีความเข้าใจอย่างถูกต้องตั้งแต่แรก จะสามารถเชื่อมโยงและบอกได้ถูกต้องมากกว่า
เด็กในช่วงวัย 3-4 ปี ที่มีพัฒนาการทางภาษาปกติ มักมีข้อสงสัยและคำถามมากมาย เมื่อเด็กซักถามสิ่งที่ตนเองสงสัย ผู้เลี้ยงดูควรพยายามตอบคำถามอย่างง่ายๆ สั้นๆ และกระตุ้นให้เด็กใฝ่รู้และค้นคว้าเพิ่มเติม ในกรณีที่เด็กถามซ้ำๆ เรื่องเดิม อาจหมายถึงความไม่เข้าใจของเด็ก การอธิบายซ้ำโดยใช้คำพูดที่ง่ายขึ้นหรือหาสื่ออื่นช่วยอธิบายประกอบ จะช่วยให้เด็กสามารถเข้าใจมากขึ้น ในบางกรณีเด็กที่เข้าใจคำตอบแล้วแต่ยังถามคำถามเดิมซ้ำๆ อาจสะท้อนถึงความกังวลหรือต้องการความสนใจจากผู้ใหญ่ ซึ่งผู้ที่เลี้ยงดูใกล้ชิดอาจพอบอกได้โดยการสังเกตพฤติกรรมอื่นร่วมดัวย
ช่วงอายุ 4-5 ปี เด็กส่วนใหญ่ในวัยนี้มักเข้าสู่ระบบการศึกษาและเริ่มเรียนรู้ทักษะทางภาษา อื่นๆ นอกจากภาษาพูด ได้แก่ ภาษาอ่าน ภาษาเขียน การสอนให้เด็กพัฒนาทักษะดังกล่าวไม่ควรเน้นที่การอ่านแบบท่องจำหรือเขียนให้ ถูกต้องสวยงาม ควรใช้วิธีการสอนที่เชื่อมโยงจากความเข้าใจเป็นพื้นฐาน เด็กที่มีทักษะด้านความจำหรือพูดโต้ตอบได้อย่างดี อาจใช้วิธีจำสัญลักษณ์หรือตัวหนังสือที่เขียนเป็นคำๆ แต่ผู้สอนไม่ควรละเลยการเรียนรู้เรื่องพื้นฐานระบบเสียงที่เชื่อมโยงกับ สัญลักษณ์ ซึ่งหมายถึงการสะกดคำอย่างง่ายๆ ซึ่งเป็นลักษณะที่คล้ายภาษาอังกฤษ ในโรงเรียนอนุบาลบางแห่งใช้การเล่นเกมส์เป็นวิธีสอนเด็ก เช่น ถ้าเด็กรู้จักเสียงพยัญชนะต้นง่ายๆ บางตัวแล้ว ก็ให้หัดกันแข่งขันสร้างคำจากเสียงพยัญชนะตัวนั้น เป็นต้น
ทักษะพื้นฐานที่สำคัญทางภาษาเพื่อการเรียนรู้อีกเรื่องหนึ่ง คือ จำนวนหรือตัวเลข แม้คณิตศาสตร์เป็นแขนงวิชาที่ต่างจากภาษาศาสตร์ แต่การเรียนรู้ในช่วงปฐมวัยจำเป็นต้องใช้ภาษาซึ่งเด็กพูดได้เป็นสื่อกลาง พ่อแม่หรือผู้สอนไทยควรมีความเข้าใจก่อนว่า พื้นฐานความเข้าใจในเรื่องของจำนวนหรือตัวเลขมีความสำคัญอย่างยิ่ง เด็กจำนวนมากอาจท่องจำ 1-10 หรือ 1-50 ได้ โดยชาดความเข้าใจเรียงลำดับ การเพิ่มจำนวน หรือแม้แต่เรื่องของจำนวนพื้นฐาน เด็กควรเรียนรู้หลักการของจำนวน 1-10 หรือ 20 ได้อย่างแม่นยำก่อนที่จะหัดบวกลบเลขจากโจทย์ ในชีวิตประจำวันเด็กควรถูกสอนให้เข้าใจจำนวนจากสิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น ขนม 1 ชิ้น นก 2 ตัว การเพิ่มหรือการลดจำนวนสวนจากภาษาที่ใช้ เช่น "ได้เพิ่มมาอีก" "บินหายไป" เป็นต้น เมื่อเด็กมีความเข้าใจพื้นฐานสิ่งเหล่านี้ได้ถูกต้องแม่นยำแล้วการเชื่อมโยง ไปสู่ความหมายของสัญลักษณ์และการเรียนรู้คณิตศาสตร์ขั้นถัดไปจะเกิดได้อย่าง ต่อเนื่องถูกต้องตามขั้นตอน
นอกจากนี้ การที่เด็กในวัยดังกล่าวเริ่มเข้าสู่ระบบโรงเรียนมากขึ้น พ่อแม่ควรให้ความสนใจกับทักษะทางที่จะช่วยทำให้เด็กสื่อสารกับเพื่อนๆ หรือคนอื่นๆ ได้อย่างเหมาะสมตามวัยด้วย หากสังเกตได้ว่าเด็กบางคนมี พัฒนาการในการใช้ภาษาเพื่อสื่อสารกับคนอื่นได้ไม่ดีนัก ความเอาใจใส่และช่วยส่งเสริมเพื่อฝึกทักษะด้านนี้อย่างต่อเนื่อง จะช่วยลดปัญหาทางสังคมหรืออารมณ์ให้แก่เด็กได้ในช่วงวัยต่อๆ ไป
การส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาของเด็กวัย 3-4 ปี
- เด็กมักสงสัยและมีคำถามมากมาย ควรตอบคำถาม ด้วยคำตอบง่ายๆ สั้นๆ และใช้ภาษาที่ถูกต้อง
- อ่านหนังสือให้เด็กฟัง และใช้หนังสือภาพ (Picture books) มาประกอบการเล่าเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น และกระตุ้นให้เด็กใฝ่รู้มากขึ้น
- บทอาขยานสั้นๆ ง่ายๆ หรือคำคล้องจอง จะช่วยให้เด็กเรียนรู้พื้นฐานของระบบเสียงที่เกี่ยวข้องกับการอ่านได้ง่ายขึ้น
- สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง เรื่องลำดับก่อนหลัง สิ่งที่เป็นนามธรรม ได้แก่ สี ขนาด จำนวน เป็นต้น
- สอนให้เด็กรู้จักคำศัพท์หรือคำพูดที่บอกอารมณ์ความรู้สึกทั้งของตนเองและผู้อื่น เช่น ถ้าเด็กรู้สึกโกรธ เมื่อถูกแย่งของเล่น ควรสอนให้เด็กเข้าใจว่า อารมณ์ที่เกิดขึ้นคือ อารมณ์โกรธ โดยพูดว่า “หนูรู้สึกโกรธที่ถูกแย่งของเล่น”
- เมื่อเด็กพูดคำหยาบ ไม่ควรดุหรือลงโทษ เพราะเด็กยังไม่เข้าใจความหมายของคำหยาบ ควรสอนให้ใช้คำอื่นแทน


กา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทความ เรื่อง การพัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัยเด็กปฐมวัยเรียนรู้ภาษา จากสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวทั้งสิ่งแวดล้อมที่บ้าน และโรงเรียน เด็กจะเรียนรู้การฟังและการพูดก่อน เพราะการฟังและการพูดเป็นของคู่กัน เป็นพื้นฐาน ทางภาษา กล่าวคือ เมื่อฟังแล้วก็ย่อมต้องพูดสนทนาโต้ตอบได้ การเรียนภาษาของเด็กปฐมวัยไม่จำเป็นต้องอาศัยการสอนอย่างเป็นทางการ หรือตามหลักไวยกรณ์ แต่จะเป็นการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้างหรือสิ่งแวดล้อมรอบตัว หรือเป็นการสอนแบบธรรมชาติ ช่วงอายุ 3-4 ปี เด็กส่วนมากจะสามารถพูดเป็นประโยคยาวๆ และค่อยๆ เล่าเรื่องอย่างเป็นเรื่องเป็นราวได้ที่อายุประมาณ 4 ปี คำพูดเกือบทั้งหมดมีความหมายชัดเจนที่อายุประมาณ 4 ปี หารเด็กได้รับการส่งเสริมพัฒนาการทางภาษามาอย่างต่อเนื่อง และไม่มีความล่าช้าทางพัฒนาการทางภาษาจากสาเหตุอื่นใด เด็กในช่วงวัยนี้จะมีความสามารถในการใช้ภาษาพูดสื่อสารได้เป็นอย่างดีใกล้ เคียงกับเด็กในวัยเรียนทั่วไป เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมต่อการพัฒนาทักษะในด้านการอ่าน เด็กควรรับการสอนให้คุ้นเคยกับคำพ้องเสียง โดยผ่านการฟังบทอาขยานสั้นๆ ง่ายๆ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษมีความคล้ายคลึงกันในส่วนที่ภาษาอ่านและเขียนโดยตั้ง อยู่บนหลักการของระบบเสียง (phonetics) คำแต่ลำคำจะประกอบด้วยเสียงย่อยต่างๆ ในสังคมที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลักจึงมักส่งเสริมให้เด็กในวัยนี้ได้มีโอกาส เรียนรู้ทักษะก่อนการอ่าน ด้วยการฝึกหัดใช้ภาษาที่เป็นคำคล้องจอง ทำนองเดียวกับบทอาขยานของไทย ตั้งนี้ไม่ได้มีความหมายว่าเด็กวัยนี้ต้องอ่านหนังสือเป็น ผู้ใหญ่ สามารถเล่าเรื่องหรืออ่านให้ฟังหรือร้องเล่นเป็นทำนองเพลงก็สามารถช่วยให้ เด็กเรียนรู้พื้นฐานของระบบเสียงที่เกี่ยวข้องกับการอ่านได้ง่ายขึ้น ทักษะพื้นฐานทางภาษาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสติปัญญาจะรวมถึงความเข้าใจเรื่องของลำดับก่อนหลัง สิ่งที่เป็นนามธรรมมากขึ้น ได้แก่ สี ขนาด จำนวน แม้สิ่งต่างๆ เหล่านี้จะเรียนรู้ผ่านการท่องจำได้ แต่ถ้าขาดความเข้าใจพื้นฐานสำคัญ เด็กจะเรียนรู้ต่อเนื่องด้วยตนเองได้ยากลำบาก เช่น แม้เด็กจะท่องจำสีได้หลายสี แต่เมื่อเห็นสีอื่นซึ่งไม่เคยเห็นแต่มีลักษณะใกล้เคียงกับสีเดิม (เขียวอ่อนกับเขียวแก่) เด็กที่มีความเข้าใจอย่างถูกต้องตั้งแต่แรก จะสามารถเชื่อมโยงและบอกได้ถูกต้องมากกว่า เด็กในช่วงวัย 3-4 ปี ที่มีพัฒนาการทางภาษาปกติ มักมีข้อสงสัยและคำถามมากมาย เมื่อเด็กซักถามสิ่งที่ตนเองสงสัย ผู้เลี้ยงดูควรพยายามตอบคำถามอย่างง่ายๆ สั้นๆ และกระตุ้นให้เด็กใฝ่รู้และค้นคว้าเพิ่มเติม ในกรณีที่เด็กถามซ้ำๆ เรื่องเดิม อาจหมายถึงความไม่เข้าใจของเด็ก การอธิบายซ้ำโดยใช้คำพูดที่ง่ายขึ้นหรือหาสื่ออื่นช่วยอธิบายประกอบ จะช่วยให้เด็กสามารถเข้าใจมากขึ้น ในบางกรณีเด็กที่เข้าใจคำตอบแล้วแต่ยังถามคำถามเดิมซ้ำๆ อาจสะท้อนถึงความกังวลหรือต้องการความสนใจจากผู้ใหญ่ ซึ่งผู้ที่เลี้ยงดูใกล้ชิดอาจพอบอกได้โดยการสังเกตพฤติกรรมอื่นร่วมดัวย ช่วงอายุ 4-5 ปี เด็กส่วนใหญ่ในวัยนี้มักเข้าสู่ระบบการศึกษาและเริ่มเรียนรู้ทักษะทางภาษา อื่นๆ นอกจากภาษาพูด ได้แก่ ภาษาอ่าน ภาษาเขียน การสอนให้เด็กพัฒนาทักษะดังกล่าวไม่ควรเน้นที่การอ่านแบบท่องจำหรือเขียนให้ ถูกต้องสวยงาม ควรใช้วิธีการสอนที่เชื่อมโยงจากความเข้าใจเป็นพื้นฐาน เด็กที่มีทักษะด้านความจำหรือพูดโต้ตอบได้อย่างดี อาจใช้วิธีจำสัญลักษณ์หรือตัวหนังสือที่เขียนเป็นคำๆ แต่ผู้สอนไม่ควรละเลยการเรียนรู้เรื่องพื้นฐานระบบเสียงที่เชื่อมโยงกับ สัญลักษณ์ ซึ่งหมายถึงการสะกดคำอย่างง่ายๆ ซึ่งเป็นลักษณะที่คล้ายภาษาอังกฤษ ในโรงเรียนอนุบาลบางแห่งใช้การเล่นเกมส์เป็นวิธีสอนเด็ก เช่น ถ้าเด็กรู้จักเสียงพยัญชนะต้นง่ายๆ บางตัวแล้ว ก็ให้หัดกันแข่งขันสร้างคำจากเสียงพยัญชนะตัวนั้น เป็นต้น
ทักษะพื้นฐานที่สำคัญทางภาษาเพื่อการเรียนรู้อีกเรื่องหนึ่ง คือ จำนวนหรือตัวเลข แม้คณิตศาสตร์เป็นแขนงวิชาที่ต่างจากภาษาศาสตร์ แต่การเรียนรู้ในช่วงปฐมวัยจำเป็นต้องใช้ภาษาซึ่งเด็กพูดได้เป็นสื่อกลาง พ่อแม่หรือผู้สอนไทยควรมีความเข้าใจก่อนว่า พื้นฐานความเข้าใจในเรื่องของจำนวนหรือตัวเลขมีความสำคัญอย่างยิ่ง เด็กจำนวนมากอาจท่องจำ 1-10 หรือ 1-50 ได้ โดยชาดความเข้าใจเรียงลำดับ การเพิ่มจำนวน หรือแม้แต่เรื่องของจำนวนพื้นฐาน เด็กควรเรียนรู้หลักการของจำนวน 1-10 หรือ 20 ได้อย่างแม่นยำก่อนที่จะหัดบวกลบเลขจากโจทย์ ในชีวิตประจำวันเด็กควรถูกสอนให้เข้าใจจำนวนจากสิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น ขนม 1 ชิ้น นก 2 ตัว การเพิ่มหรือการลดจำนวนสวนจากภาษาที่ใช้ เช่น "ได้เพิ่มมาอีก" "บินหายไป" เป็นต้น เมื่อเด็กมีความเข้าใจพื้นฐานสิ่งเหล่านี้ได้ถูกต้องแม่นยำแล้วการเชื่อมโยง ไปสู่ความหมายของสัญลักษณ์และการเรียนรู้คณิตศาสตร์ขั้นถัดไปจะเกิดได้อย่าง ต่อเนื่องถูกต้องตามขั้นตอน
นอกจากนี้ การที่เด็กในวัยดังกล่าวเริ่มเข้าสู่ระบบโรงเรียนมากขึ้น พ่อแม่ควรให้ความสนใจกับทักษะทางที่จะช่วยทำให้เด็กสื่อสารกับเพื่อนๆ หรือคนอื่นๆ ได้อย่างเหมาะสมตามวัยด้วย หากสังเกตได้ว่าเด็กบางคนมี พัฒนาการในการใช้ภาษาเพื่อสื่อสารกับคนอื่นได้ไม่ดีนัก ความเอาใจใส่และช่วยส่งเสริมเพื่อฝึกทักษะด้านนี้อย่างต่อเนื่อง จะช่วยลดปัญหาทางสังคมหรืออารมณ์ให้แก่เด็กได้ในช่วงวัยต่อๆ ไป
การส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาของเด็กวัย 3-4 ปี
- เด็กมักสงสัยและมีคำถามมากมาย ควรตอบคำถาม ด้วยคำตอบง่ายๆ สั้นๆ และใช้ภาษาที่ถูกต้อง
- อ่านหนังสือให้เด็กฟัง และใช้หนังสือภาพ (Picture books) มาประกอบการเล่าเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น และกระตุ้นให้เด็กใฝ่รู้มากขึ้น
- บทอาขยานสั้นๆ ง่ายๆ หรือคำคล้องจอง จะช่วยให้เด็กเรียนรู้พื้นฐานของระบบเสียงที่เกี่ยวข้องกับการอ่านได้ง่ายขึ้น
- สร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง เรื่องลำดับก่อนหลัง สิ่งที่เป็นนามธรรม ได้แก่ สี ขนาด จำนวน เป็นต้น
- สอนให้เด็กรู้จักคำศัพท์หรือคำพูดที่บอกอารมณ์ความรู้สึกทั้งของตนเองและผู้อื่น เช่น ถ้าเด็กรู้สึกโกรธ เมื่อถูกแย่งของเล่น ควรสอนให้เด็กเข้าใจว่า อารมณ์ที่เกิดขึ้นคือ อารมณ์โกรธ โดยพูดว่า “หนูรู้สึกโกรธที่ถูกแย่งของเล่น”
- เมื่อเด็กพูดคำหยาบ ไม่ควรดุหรือลงโทษ เพราะเด็กยังไม่เข้าใจความหมายของคำหยาบ ควรสอนให้ใช้คำอื่นแทน


กา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Articles
about the language development of early childhood
preschool children learn language. From the environment around them, both at home and school environment, children will learn to listen and speak before. Because listening and speaking, as well as the basis of language, that is to say when the hearing would discuss it. Early learning does not require formal instruction. Or by grammatical. But he's learning from interaction with peers or the environment around them. Green or teaching
3-4 years old, most children can say a long sentence and gradually the story earnestly at the age of about four years, almost all the words have meant a clear division 4 years old. Children have been promoting language development continues. And without developmental delays in language from any other cause. Children in this age group will have the ability to communicate using spoken language as well close. With school-age children in general. To prepare for the development of skills in reading. Children should be taught to become familiar with the homonym. Through listening, praying a short, simple language, Thailand and English have similarities in language, reading and writing by location. On the principles of sound system (phonetics) words, but the aircraft will consist of a subsidiary. In a society where English is the primary so often encourage children in this age group have a chance. Before reading skills With practice and use the language as rhyming words. Similarly, a recitation of Thailand. This is not to mean that children this age need an adult to read or listen to stories or singing a song, it can help. Children learn the basics of a sound system that involves reading easier. Basic skills in other languages Related intelligence will include understanding the priority. What is more abstract, color, size, number, although these things can be learned through repetition. But the lack of understanding of fundamental importance. Children learn their continued despite difficulties such children to memorize the color of many colors. But when they have not seen other colors, but looks close to the original color. (Light green to green), children are understood correctly from the beginning. Can be linked to more accurate and telling
children ages 3-4 years old with normal language development. Always have doubts and questions. When children ask what self-doubt. Caregivers should try to answer the simple question briefly and motivate children learning and researching. When the children asked repeatedly about the same may mean the child does not understand. Repeatedly described using simple words or find other medium allows annotations. It helps children to understand more. In some cases, children understand the answer, but still asked the same question repeatedly. May reflect the concerns or needs attention from adults. The person raising the closer could not tell by observing the behavior associated mounting with
4-5 years of age, most children at this age are into the education system and begin to learn language skills other than English are spoken. English language reading, writing, teaching children to develop these skills should not focus on rote reading or writing them. Be beautiful Should use teaching methods that are linked by a rudimentary understanding. Children with speech or memory skills to interact well. You may use a word, symbol or lettering. But teachers should not neglect to learn the basics of sound system linked to the symbol which represents the spelling easily. Which is similar to English. In kindergarten, some of the games as a way to teach children, as if children know some simple initial consonants and then to learn to race to create words from the sound of it. Etc.
The basic skills important to learning another language is the number or numbers. Even mathematics is a branch of linguistics. But learning in early childhood, which requires children to speak the language as a medium. Thailand parent or teacher should understand that. Basic understanding of numbers are particularly important. Many children may retain 1-10 or 1-50 by Chad understanding sort. Multiplication Or even on the basis of Children should learn the principles of 1-10 or 20 precisely before they learn to add, subtract the number from prosecution. In daily life, children should be taught to understand a number of things around like candy, one piece Bird 2 increasing or reducing the number of sections from the language used, such as "add another" "fly away" so the child. A basic understanding of these things accurately and links. To the symbols and math learning the next step will be. The correct procedure
also. The kids are getting into the school system more. Parents should pay attention to the skills that will help children to communicate with friends or other people with age-appropriate. If you notice that some children. Developments in the use of language to communicate with others not so good. The attention and help to promote this practice continues. Reduces social or emotional problems for the child later in life. To
promote the language development of children aged 3-4 years
- Children often have many questions and concerns should answer questions with simple answers brief and use the correct language
- listening, reading to children. The picture book (Picture books) attributed the story easier to understand. And motivate children to want to know more
- a brief recitation of simple rhymes. It helps children learn the basics of sound involving easier reading
- to the correct understanding. The priority Abstraction color, size, etc.
- Teach children to recognize words or words that tell the emotions of oneself and others, as if the child was angry. After snatching toys Children should be taught to understand Happens is angry by saying, "I feel angry that spoiled toys"
- when a child profanity. Do not scold or punish Because children do not understand the meaning of words. Should be taught to use another word instead of a check.


การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!

article about the development of the language of preschool children
.Young children learn language. From the environment close to the environment at home and school. Children will learn English listening and speaking. Because of listening and speaking in a pair of basic language policy.Study of preschool children don't need to rely on official or according to the principle of teaching grammar. But it will also learn from the interaction with other people or the environment around. Or it is teaching nature
.At the age of 3-4 years, most children will be able to say is very long sentences and it is about the story about at around the age of 4 years. Almost all words meaningful at the age of about 4 years.And no delay in language development from other causes. The children in this age will have the ability to use language to communicate, as well as near. Side by side with the children in general.Children should be taught to familiarize yourself with the homophone. Through listening to recitation brief and simple English and Thai have similarities in the language reading and written by set. Based on the principle of sound system (phonetics).In a society where English is the main often encourage children at this age have the opportunity to learn ทักษะก่อน reading. With training, language is a rhyme. The same way of recitation competition.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: