The ancient characters of Indonesia Phatra research group, February 24, 2010 nuapraron information. The author has come across the article subject "Bali Age People" written by Terima http://balitouring.com see Web site interesting but this article has discussed the comprehensive development encompassing Indonesia letter yo, but it gives an overview of all the ancient alphabet and development consistent with the entire alphabet of Thailand and the countries development. Other neighbors in the same region. Author of the article, just the opportunity to keep this arrangement easier to understand in case there will be some benefits for those who are interested in the subject of ancient inscriptions and letters in this region and get to know a country Indonesia, which is one of the neighboring countries, on the other hand, one of the aspects of our. Indonesia's modern history began with the discovery of "The inscription built East Kalimantan" in Gu Tai (Kutai) about 20th century 5 which is similar to the Devanagari font format, and may come to India with the Hindu in Indonesia. Professor j. JI. De khat parity (Prof. J.G. de Casparis) Davis, one of the experts on ancient culture development in Indonesia Indonesia has concluded a letter range of styles and eras font. Is as follows: LWA pan letter. อักษรปัลลวะในอินโดนีเซียแบ่งเป็น 2 รุ่น คือรุ่นแรก และรุ่นหลัง ตัวอย่างจารึกอักษรปัลลวะรุ่นแรกนี้ พบที่ยูปา (Yupa) ในเขตกุไต (Kutai) อักษรจารึกมีรูปร่างสวยงาม เส้นอักษรยาว ตรง และตั้งฉากทำมุมพอดี โดยรวมของอักษรจะค่อนข้างกลม และโค้งสวย ตัว ม (ma) จะเขียนเป็นตัวเล็กอยู่ในระดับต่ำกว่าอักษรตัวอื่นๆ และตัว ต (ta) มีรูปร่างเป็นขดคล้ายก้นหอย ซึ่งเป็นรูปแบบที่เก่า และใกล้เคียงมากกับอักษรที่ใช้ในอาณาจักร อิกษวากุ (Iksavakus) แห่งอันธะระ ประเทศ (Andhara Pradesh), อักษรที่สถูปเจดีย์นาคารชุนโกณฑะ (Nagarjunakonda), จารึกของพระเจ้าภัทรวรมัน (Badravarman) ใน โช ดินห์ (Cho Dinh) ที่มีอายุอยู่ในช่วง ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 4 จารึกแห่งโช ดินห์ นี้มีความคล้ายคลึงอย่างมากกับจารึกของรุวันวะลิสะยะ (Ruvanvalisaya) แห่งอเมระธะปุระ (Ameradhapura) ประเทศศรีลังกา (Srilangka) ที่สร้างโดยพระเจ้าพุทธะ สาสะ (Buddhasasa) ในปี ค.ศ. 337 – 365 Photos inscriptions found at u Spa (from the website http://en.wikipedia.org). A version of the letter section pan LWA. There is quite a lot to resolve. Born "same height" or writing a letter to the same height. The education development through both in South India and South Asia, believe that this kind of letter is likely to be in the range of 8-9 at the century with both formats and is a beautiful multicolored stripes. Photo engraved stripes from Tuk Mas near Magelang (from website http://bureketo.blogspot.com) The second letter. The difference between the letter and the letter is the second pan pan LWA LWA will often return to a stone. The second letter will usually return section on the Palm, the word "second" refers to the author but later used to refer to ancient Javanese alphabet and ancient Javanese language. Most of the inscriptions are in Sanskrit language. อักษรกวิก็แบ่งเป็นสองรุ่นเช่นเดียวกัน คือ รุ่นแรก และรุ่นหลัง, รุ่นแรกจะอยู่ในช่วง ค.ศ. 750 – 925 อักษรกวิรุ่นแรกที่เก่าที่สุดพบที่ฐานประติมากรรมพระพิฆเณศ พบที่ปลุมปุงัน (Plumpungan) ใกล้กับสาลาติกะ (Salatika) ที่ดิโนโย (Dinoyo) ซึ่งมีอายุ ค.ศ. 760 สิ่งที่น่าสนใจคือ ตัวอักษรเป็นเส้นคู่ จารลงที่ฐานประติมากรรม มีจารึกยุคสมัยเดียวกันนี้หลายหลัก หลักหนึ่งพบที่ลิกอร์ (Ligor) ภาคใต้ของประเทศไทย (หมายถึงจารึกวัด เสมาเมือง นครศรีธรรมราช – ผู้เรียบเรียง) ซึ่งสร้างโดยกษัตริย์อาณาจักรศรีวิชัย ใน ค.ศ. 775 นอกจากนั้นยังมี จารึกอักษรกวิรุ่นแรกชนิดที่เรียกว่า “อักษรกวิแบบมีระเบียบ” เป็นรูปแบบอักษรที่พบในสมัยพระเจ้าราไก กะยู วังคิ (ค.ศ. 856 – 882) จารบนแผ่นทองสัมฤทธิ์และศิลา อักษรจารอย่างเป็นระเบียบ มีช่องไฟที่สมดุล และเส้น นอนของอักษรแต่ละตัวจะตรงเป็นแนวเดียวกันทุกตัวอักษร ปลายยุคแรกนี้ อักษรจะเริ่มหัก ตั้งตรง และทำมุม มากขึ้น พบในจารึกที่สร้างโดยพระเจ้าบาลิตุง (King Balitung, ค.ศ. 910), พระเจ้าทักษะ (King Daksa, ค.ศ. 919) ในช่วง ค.ศ. 925 – 1250 ปรากฏรูปแบบอักษรกวิรุ่นหลัง ซึ่งมีทั้งหมด 3 แบบด้วยกัน คือ แบบแรกอยู่ ในสมัยพระเจ้าทักษะ (King Daksa, ค.ศ. 910 – 921), พระเจ้าตูโลดง (King Tulodong, ค.ศ. 919 – 921), พระ เจ้าวะวะ (King Wawa, ค.ศ. 921 – 929) และพระเจ้าซินดก (King Sindok, ค.ศ. 929 – 947) เส้นอักษรทั่วๆ ไปจะเป็นเส้นเดี่ยว และเป็นระเบียบ แบบที่สองพัฒนามาจากจารึกของพระเจ้าเอรลังคะ (King Erlangga, ค.ศ. 1019 – 1042) และจารึกในกัลกัตตา อายุหลัง ค.ศ. 1041 อักษรในจารึกมีความสมดุล สมส่วน และสวยงาม เรียกอักษรชนิดนี้ว่า อักษรรูปสี่เหลี่ยม อักษรชนิดนี้มีการใช้อย่างแพร่หลายในชวา จารึกบางหลักมีรูปแบบการ จารคล้ายกับจารึกที่รูปปั้นพระพิฆเณศ ที่กะรังเรโช (Karangrejo) ค.ศ. 1124 เขตโควะ คะชะ (Gowa Gajah) และจารึกพบที่หมู่บ้านงันตัง (Ngantang) อายุ ค.ศ. 1057 ซึ่งมีการกล่าวถึง อาณาจักรปันชะลุ (Panjalu) ว่าเป็น ศัตรู สร้างโดยพระเจ้าชยภยะ (King Jayabhaya) ผู้ซึ่งมีชื่อเสียงมากในเรื่องของการทำนายอนาคตของ อินโดนีเซีย และทรงมีวิสัยทัศน์ที่พิสูจน์แล้วว่าถูกต้องแม่นยำ Modern alphabet mat Spa hit Kingdom (r. 1250 – 1450). ช่วงนี้ อักษรมีหลากหลายรูปแบบ และดูราวกับมีการพัฒนาเป็นรูปแบบเฉพาะในแต่ละท้องที่ เช่น อักษรของพระเจ้าเกรตะระชะสะ (King Kretarajasa) อายุหลัง ค.ศ. 1292, อักษรจารึกพบที่จิเรบอน (Cirebon) และต้นฉบับตัวเขียนแห่งกุนชะระกะรนะ (Kunjakarna) หรือพุทธประวัติ อักษรจารึกเกือบทั้งหมดจารเป็นเส้น เดี่ยว รูปสี่เหลี่ยม, อักษรจารึกแห่งอาณาจักรปะชะชะรัน (Pajajaran, ปัจจุบันอยู่ชวาตะวันตก หรือ ซุนดา แลนด์) ใช้ ภาษาซุนดา อายุประมาณ ค.ศ. 1333, อักษรจารึกจากสุมาตราตะวันตก ใกล้กับบุกิต ติงคิ (Bukit Tinggi) สร้างโดย พระเจ้าอาทิตยวรมัน (King Adityawarman, ค.ศ. 1356 – 1375) มีรูปแบบใกล้เคียงกับ อักษรของอาณาจักรมัชปาหิตมากกว่า เมื่อเทียบกับของอาณาจักรปะชะชะรัน อักษรจารึกเป็นรูปสี่เหลี่ยม ส่วน มุมอักษรเป็นรูปโค้งมน ไม่หยัก, อักษรอารบิก ค.ศ. 1297 สร้างโดยสุลต่านมาลิก อัล ซาเลห์ (Sultan Malik Al Saleh), อักษรจารึกของประเทศมาเลเซียที่ได้รับอิทธิพลจากอักษรอารบิก และอักษรจารึกพบที่บาหลี ได้แก่ จารึกเจมปะคะ 100 (Cempaga C, ค.ศ. 1324) และจารึกปะนุลิซัน (Panulisan, ค.ศ. 1430) จารึกเหล่านี้ สวยงามมาก รูปร่างเป็นรูปสี่เหลี่ยม The letter later in the inscription Indonesia The oldest letter found in Indonesia There is a close relationship in the product chip.
การแปล กรุณารอสักครู่..