อานาปานสติภาวนาคือ วิธีพัฒนาสติ สมาธิ ปัญญา ด้วยการใช้ลมหายใจเป็น เครื การแปล - อานาปานสติภาวนาคือ วิธีพัฒนาสติ สมาธิ ปัญญา ด้วยการใช้ลมหายใจเป็น เครื อังกฤษ วิธีการพูด

อานาปานสติภาวนาคือ วิธีพัฒนาสติ สมา

อานาปานสติภาวนา
คือ วิธีพัฒนาสติ สมาธิ ปัญญา ด้วยการใช้ลมหายใจเป็น เครื่องกำหนดหรืออีกนัยหนึ่ง เป็นวิธีการนำความจริงของธรรมชาติมาใคร่ครวญพิจารณาอยู่ทุกขณะของลมหายใจเข้าและลมหายใจออก ความจริงของธรรมชาติที่ควรนำมาพิจารณาใคร่ครวญ คือ ความจริงเกี่ยวกับเรื่องของกาย ของเวทนา ของจิตและเรื่องของธรรมฉะนั้น อานาปานสติภาวนาจึงแบ่งออกเป็น ๔ หมวด หมวดละ ๔ ขั้น รวมทั้งหมดเป็น ๑๖ ขั้น
การปฏิบัติตามลำดับขั้นของแต่ละหมวดของอานาปานสติภาวนา
มีทั้งหมด ๔ หมวด ๑๖ ขั้นตอน ดังนี้
หมวดที่ ๑ : กายานุปัสสนาภาวนา
การปฏิบัติในหมวดนี้ คือ การศึกษาเรื่องของกายโดยเฉพาะกายลม คือ ลมหายใจ ต้องศึกษาจนรู้จักธรรมชาติของลมหายใจทุกอย่างทุกชนิดอย่างถี่ถ้วนจนสามารถรู้ชัดว่า กายลมนี้ปรุงแต่งกายเนื้ออย่างไรและสามารถใช้กายลมบังคับกายเนื้อ (ร่างกาย) ได้ตามต้องการ (ปฏิบัติอยู่ทุกขณะที่หายใจเข้าและหายใจออก)
จุดประสงค์ของการฝึกปฏิบัติหมวดที่ ๑ คือ กายานุปัสสนาภาวนานั้น เพื่อฝึกอบรมจิตให้มีความมั่นคงหนักแน่นอยู่ด้วย กำลังของสมาธิ
ขั้นที่ 1 ตามลมหายใจยาว
ขั้นที่ 2 ตามลมหายใจสั้น
ขั้นที่ 3 ตามรู้จัก - ศึกษาลมหายใจทุกชนิดที่ปรุงแต่งกายจนเห็นชัดว่าลมหายใจเป็น “กายสังขาร”
ขั้นที่ 4 ทำลมหายใจให้สงบระงับด้วยการเฝ้าดูจิตสงบนิ่ง
พร้อมอยู่ด้วยสติ- สมาธิอย่างหนักแน่น
หมวดที่ ๒ : เวทนานุปัสสนาภาวนา
การปฏิบัติหมวดนี้ คือการศึกษาเรื่องของเวทนาที่มีอำนาจอิทธิพลปรุงแต่งจิตของมนุษย์ให้ดิ้นรนระส่ำระสายมิให้มีความสงบเย็น จึงต้องศึกษาให้รู้ลักษณะอาการของเวทนาทุกอย่างทั้งสุขเวทนาและทุกขเวทนาอย่างละเอียดจนสามารถบังคับควบคุมเวทนาได้(ปฏิบัติทุกอย่างขณะที่หายใจเข้าและหายใจออก)
จุดประสงค์ของการฝึกปฏิบัติหมวดที่๒ คือเวทนานุปัสสนาภาวนานั้น เพื่อฝึกอบรมจิตให้สามารถควบคุมเวทนา มิให้เวทนามีอิทธิพลปรุงแต่งจิตได้
ขั้นที่ 5 ศึกษาปีติแล้วทำปีติให้สงบระงับ
ขั้นที่ 6 ศึกษาสุขแล้วทำสุขเวทนานั้นให้สงบระงับ ขั้นที่ 7 ศึกษาเวทนาทุกชนิดจนประจักษ์ชัดว่า เวทนาเป็น จิตตสังขาร
ขั้นที่ 8 ทำเวทนาให้สงบระงับ
หมวดที่ ๓ : จิตตานุปัสสนาภาวนา
การปฏิบัติในหมวดนี้ คือ การศึกษาเรื่องธรรมชาติของจิต เพื่อรู้จักลักษณะอาการของจิตให้ละเอียดถี่ถ้วนทุกแง่มุม แล้วฝึกทดสอบกำลังในการบังคับจิต เพื่อเตรียมจิตให้เป็นจิตที่สงบ มั่นคง ว่องไวพร้อมที่จะพิจารณาธรรมต่อไป (ปฏิบัติอยู่ทุกขณะที่หายใจเข้าและหายใจออก)
จุดประสงค์ของการฝึกปฏิบัติหมวดที่๓ คือ จิตตานุปัสสนาภาวนานั้น เพื่อศึกษาธรรมชาติของจิตจนรู้จักชัดเจน แล้วสามารถควบคุมบังคับจิตได้
ขั้นที่ 9 ศึกษาจิตจนรู้จักธรรมชาติของจิต
ขั้นที่ 10 บังคับจิตให้บันเทิงปราโมทย์
ขั้นที่ 11 บังคับจิตให้นิ่งตั้งมั่นเป็นสมาธิ
ขั้นที่ 12 บังคับจิตให้ปล่อยเป็นอิสระจากความยึดมั่นถือมั่นทั้งปวง
หมวดที่ ๔ : ธัมมานุปัสสนาภาวนา
การปฏิบัติในหมวดนี้ คือ การศึกษาเรื่องธรรมที่เป็นสัจจะของธรรม หรือ กฎของธรรมชาติ คือกฎไตรลักษณ์ กฎอิทัปปัจจยตา จนประจักษ์แจ้งในความจริงของธรรมชาติ แล้วจิตจะจางคลายจากความยึดมั่นถือมั่น จนถึงที่สุดคือดับเสียซึ่งความยึดมั่นถือมั่น (อุปาทาน) ในสิ่งทั้งปวงมีจิตที่เป็นอิสระมีความสุขสงบเย็นอยู่ด้วยสุญญาตาวิหาร(ปฏิบัติอยู่ทุกขณะที่หายใจเข้าและหายใจออก)
จุดประสงค์ของการฝึกปฏิบัติหมวดที่ ๔ คือ ธัมมานุปัสสนาภาวนานั้น เพื่อศึกษาธรรม (กฎธรรมชาติ) จนประจักษ์แจ้ง จิตหลุดพ้นจากความยึดมั่นถือมั่น (อุปาทาน) ทั้งปวง เป็นจิตที่มีแต่ความสุขสงบเย็นเยือกเย็นอันเกษมด้วยสุญญตาวิหาร
ขั้นที่ 13 ใคร่ครวญธรรม (ไตรลักษณ์-อิทัปปัจจยตา) จนประจักษ์ใจในธรรมนั้น
ขั้นที่ 14 เพ่งดูความจางคลาย (วิราคะ) ที่เกิดขึ้นในจิต
ขั้นที่ 15 เพ่งดูความดับ (นิโรธะ) ที่เกิดขึ้นในจิต
ขั้นที่ 16 เพ่งดูความสลัดคืน (ปฏินิสสัคคะ) ที่เกิดขึ้นในจิต
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Anapanasati meditation
Is a way to develop consciousness. Wisdom meditation using breath as a set, or in other words as a way to bring the truth of nature is thoughtfully considered every moment of breath in and breath out. Is the truth on the subject of our pity and affection of the notion of Dharma; Anapanasati meditation, it is divided into 4 sections per Chapter 4 step total 16 step
.The compliance stage of each category of anapanasati meditation, there are 16 Chapter 4
all steps. As follows: 1 section-check
com
prayer worth I pat.Compliance in this category are the subject of study, as a body, only the wind is breath. Must learn to recognize the nature of breath all kinds of everything thoroughly until you know what? (The body) as required (all the while breathing in and breathing out)
.The purpose of the walkthrough Chapter 1: check ya Nui pat training so it's worth I mental prayer, is a steadily stable. Concentration of
step 1 by step 2
long breath by breath short.
.Step 3 according to recognize all types of breath-education prepared her dress until it evident that the breath is "body saṅkhāra"
step 4 place the breath suspended peaceful, by watching the mind with consciousness and with steady concentration of
-
emphatic Chapter 2: Veda na ul pat worth I prayer
This practice is to study the subject of pity powers influence human minds prepared, struggling in a State of chaos, the cold peace. The purpose of the walkthrough Chapter 2 is a private prayer to an na worth I pat mental training to be able to control their pity pity that influence mental prepared.
step 5 study can Rapture and can Rapture, suspended peaceful
.Step 6 education health and happiness to sympathize with them, and hold. Step 7 until all kinds of vedanā studies seemed to sympathize with what is chitot doing step 8
saṅkhāra to sympathize with, and hold
section 3: mental prayer an eyes worth I pat
.Practices in this category is to study the nature of the mind to recognize the signs and symptoms characteristic of mind, carefully all aspects and practice tests are in the mental force to calm the mind, mental preparation is stable. (All the while breathing in and breathing out)
.The purpose of the walkthrough Chapter 3 is worth I pat the eye centered meditation to learn the nature of the mind to recognize the clear. Can control the mind. compulsory education until step 9
mental recognize the nature of the mind
?Step 10 to force the mind to entertain the mental force 11 step
pramote, establish a steady concentration of
step 12 mental force, independent release from adhering to your whole confidence
Chapter 4: pat tham Nui worth I came to meditate
.Compliance in this category are the ethical education that is the truth of the teachings or law of nature is the three marks of existence rule-rule in Thap chayata pat until it seemed the natural truth and minds will fade from adhering to your confidence. (Upādāna) in all things with independent minds happy and cool with the ancient temple of GIA TA (all the while breathing in and breathing out)
.The purpose of the walkthrough Chapter 4 is approved, then it's worth I had pat tham prayer to study Dharma (laws of nature) to mental pursuit from the advice seemed to adhere to your confidence (both) whole. Step 13 thoughtfully Dharma (the three marks of existence-Thap-pat chayata) until it seemed the fairest in
I see step 14 after Zhang (wirakha), which occurs in the stage I see
15-(new rose, THA) that happen in the mind
.Step 16-centered view salad night (new nuclear reactor, sasakkha) that happens in the mind
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
อานาปานสติภาวนา
คือ วิธีพัฒนาสติ สมาธิ ปัญญา ด้วยการใช้ลมหายใจเป็น เครื่องกำหนดหรืออีกนัยหนึ่ง เป็นวิธีการนำความจริงของธรรมชาติมาใคร่ครวญพิจารณาอยู่ทุกขณะของลมหายใจเข้าและลมหายใจออก ความจริงของธรรมชาติที่ควรนำมาพิจารณาใคร่ครวญ คือ ความจริงเกี่ยวกับเรื่องของกาย ของเวทนา ของจิตและเรื่องของธรรมฉะนั้น อานาปานสติภาวนาจึงแบ่งออกเป็น ๔ หมวด หมวดละ ๔ ขั้น รวมทั้งหมดเป็น ๑๖ ขั้น
การปฏิบัติตามลำดับขั้นของแต่ละหมวดของอานาปานสติภาวนา
มีทั้งหมด ๔ หมวด ๑๖ ขั้นตอน ดังนี้
หมวดที่ ๑ : กายานุปัสสนาภาวนา
การปฏิบัติในหมวดนี้ คือ การศึกษาเรื่องของกายโดยเฉพาะกายลม คือ ลมหายใจ ต้องศึกษาจนรู้จักธรรมชาติของลมหายใจทุกอย่างทุกชนิดอย่างถี่ถ้วนจนสามารถรู้ชัดว่า กายลมนี้ปรุงแต่งกายเนื้ออย่างไรและสามารถใช้กายลมบังคับกายเนื้อ (ร่างกาย) ได้ตามต้องการ (ปฏิบัติอยู่ทุกขณะที่หายใจเข้าและหายใจออก)
จุดประสงค์ของการฝึกปฏิบัติหมวดที่ ๑ คือ กายานุปัสสนาภาวนานั้น เพื่อฝึกอบรมจิตให้มีความมั่นคงหนักแน่นอยู่ด้วย กำลังของสมาธิ
ขั้นที่ 1 ตามลมหายใจยาว
ขั้นที่ 2 ตามลมหายใจสั้น
ขั้นที่ 3 ตามรู้จัก - ศึกษาลมหายใจทุกชนิดที่ปรุงแต่งกายจนเห็นชัดว่าลมหายใจเป็น “กายสังขาร”
ขั้นที่ 4 ทำลมหายใจให้สงบระงับด้วยการเฝ้าดูจิตสงบนิ่ง
พร้อมอยู่ด้วยสติ- สมาธิอย่างหนักแน่น
หมวดที่ ๒ : เวทนานุปัสสนาภาวนา
การปฏิบัติหมวดนี้ คือการศึกษาเรื่องของเวทนาที่มีอำนาจอิทธิพลปรุงแต่งจิตของมนุษย์ให้ดิ้นรนระส่ำระสายมิให้มีความสงบเย็น จึงต้องศึกษาให้รู้ลักษณะอาการของเวทนาทุกอย่างทั้งสุขเวทนาและทุกขเวทนาอย่างละเอียดจนสามารถบังคับควบคุมเวทนาได้(ปฏิบัติทุกอย่างขณะที่หายใจเข้าและหายใจออก)
จุดประสงค์ของการฝึกปฏิบัติหมวดที่๒ คือเวทนานุปัสสนาภาวนานั้น เพื่อฝึกอบรมจิตให้สามารถควบคุมเวทนา มิให้เวทนามีอิทธิพลปรุงแต่งจิตได้
ขั้นที่ 5 ศึกษาปีติแล้วทำปีติให้สงบระงับ
ขั้นที่ 6 ศึกษาสุขแล้วทำสุขเวทนานั้นให้สงบระงับ ขั้นที่ 7 ศึกษาเวทนาทุกชนิดจนประจักษ์ชัดว่า เวทนาเป็น จิตตสังขาร
ขั้นที่ 8 ทำเวทนาให้สงบระงับ
หมวดที่ ๓ : จิตตานุปัสสนาภาวนา
การปฏิบัติในหมวดนี้ คือ การศึกษาเรื่องธรรมชาติของจิต เพื่อรู้จักลักษณะอาการของจิตให้ละเอียดถี่ถ้วนทุกแง่มุม แล้วฝึกทดสอบกำลังในการบังคับจิต เพื่อเตรียมจิตให้เป็นจิตที่สงบ มั่นคง ว่องไวพร้อมที่จะพิจารณาธรรมต่อไป (ปฏิบัติอยู่ทุกขณะที่หายใจเข้าและหายใจออก)
จุดประสงค์ของการฝึกปฏิบัติหมวดที่๓ คือ จิตตานุปัสสนาภาวนานั้น เพื่อศึกษาธรรมชาติของจิตจนรู้จักชัดเจน แล้วสามารถควบคุมบังคับจิตได้
ขั้นที่ 9 ศึกษาจิตจนรู้จักธรรมชาติของจิต
ขั้นที่ 10 บังคับจิตให้บันเทิงปราโมทย์
ขั้นที่ 11 บังคับจิตให้นิ่งตั้งมั่นเป็นสมาธิ
ขั้นที่ 12 บังคับจิตให้ปล่อยเป็นอิสระจากความยึดมั่นถือมั่นทั้งปวง
หมวดที่ ๔ : ธัมมานุปัสสนาภาวนา
การปฏิบัติในหมวดนี้ คือ การศึกษาเรื่องธรรมที่เป็นสัจจะของธรรม หรือ กฎของธรรมชาติ คือกฎไตรลักษณ์ กฎอิทัปปัจจยตา จนประจักษ์แจ้งในความจริงของธรรมชาติ แล้วจิตจะจางคลายจากความยึดมั่นถือมั่น จนถึงที่สุดคือดับเสียซึ่งความยึดมั่นถือมั่น (อุปาทาน) ในสิ่งทั้งปวงมีจิตที่เป็นอิสระมีความสุขสงบเย็นอยู่ด้วยสุญญาตาวิหาร(ปฏิบัติอยู่ทุกขณะที่หายใจเข้าและหายใจออก)
จุดประสงค์ของการฝึกปฏิบัติหมวดที่ ๔ คือ ธัมมานุปัสสนาภาวนานั้น เพื่อศึกษาธรรม (กฎธรรมชาติ) จนประจักษ์แจ้ง จิตหลุดพ้นจากความยึดมั่นถือมั่น (อุปาทาน) ทั้งปวง เป็นจิตที่มีแต่ความสุขสงบเย็นเยือกเย็นอันเกษมด้วยสุญญตาวิหาร
ขั้นที่ 13 ใคร่ครวญธรรม (ไตรลักษณ์-อิทัปปัจจยตา) จนประจักษ์ใจในธรรมนั้น
ขั้นที่ 14 เพ่งดูความจางคลาย (วิราคะ) ที่เกิดขึ้นในจิต
ขั้นที่ 15 เพ่งดูความดับ (นิโรธะ) ที่เกิดขึ้นในจิต
ขั้นที่ 16 เพ่งดูความสลัดคืน (ปฏินิสสัคคะ) ที่เกิดขึ้นในจิต
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Anapanasati
.Is a way to develop mindfulness, meditation and wisdom with the use of breath, in other words, the machine set As a way to bring the truth of nature think consider every moment of the breath and breath.The truth about the body of the perception of mental and moral so Anapanasati is divided into 4 categories, each category 4 steps total 16 step
.The stages of practice of each category of anapanasati
all 4 section 16 stages as follows: Section 1: Gaia นุป modulus fortune pray
.In practice, this section is the study of the body, especially the body wind is breath, to study the จนรู้จัก nature of breath everything all kinds carefully to know clearly that(body) as needed (the practice every inhale and exhale)
.The purpose of the practice of the 1st platoon is นุป. Pray that fate is To train the mind have security firm, is concentration
step by step 1 long breath
at 2 according to short of breath!Step 3 according to know - study all kinds of breath prepared body and apparently breath as "body of สังข"
step 4 do breath to calm suspension with watching the mind calm
equipped with consciousness. Meditation firmly
section 2:Pity นุป modulus fortune pray
.Practice of this category. The study of perception with the power to influence the additives of mind to struggling litigants MI for calm cool.The purpose of the practice in Section 2. Is a pity นุป modulus the fate of prayer. To training of mental control compassion. From perception influence prepared mind
step 5 study and make peace joy joy suspension
.Step 6 study health and ทำสุ B perception to calm suspended step 7 study all kinds of ประจักษ์ชัดว่า, perception is perception and contemplative. Body
step 8 do pity to peaceful suspension
category. 3: จิตตานุปัสสนา pray
.Practice in this section is to study the nature of the mind. To know the symptoms of mental thorough all the aspects. Then the train was tested in the compulsion. To prepare the mind as mental calm, steady.(the practice every inhale and exhale)
.The purpose of practice section 3 is จิตตานุปัสสนา pray that to study the nature psycho to known clearly. It can control the spirits
step 9 study psychological to know the nature of the mind!Step 10 compelled to entertain pramote
step 11 compelled to still stand as concentration
step 12 compelled to set free from all properly
section. 4: dam Anthropology of fortune pray
.Practice in this category is a เรื่องธรรม is the truth of nature, or laws of nature, is the rule of existence rules อิทัปปัจจยตา and evident in the truth of nature. And the mind is Zhang loosen from properly.(bias) in all things have a mental freedom happy peaceful eyes with vacuum Temple (the practice every inhale and exhale)
.The purpose of practice Chapter 4 is dam anthropology to study the fate of prayer that nature (NATURAL) rules until convinced, out of your mind from properly. (bias);Step 13 contemplating meditation (Trinity - อิทัปปัจจยตา). To manifest in nature that
step 14 look softness loosen (วิราคะ) formed in the mind
step 15 gaze at the quench (to know) occurring in the mind!Step 16 gaze at the night (in tennis สัคคะ salad) formed in the mind!
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: