1. ลักษณะทั่วไปของต้นทุน ในการดำเนินธุรกิจโดยทั่วไปนั้น วัตถุประสงค์ที การแปล - 1. ลักษณะทั่วไปของต้นทุน ในการดำเนินธุรกิจโดยทั่วไปนั้น วัตถุประสงค์ที อังกฤษ วิธีการพูด

1. ลักษณะทั่วไปของต้นทุน ในการดำเนิ

1. ลักษณะทั่วไปของต้นทุน
ในการดำเนินธุรกิจโดยทั่วไปนั้น วัตถุประสงค์ที่สำคัญคือ ต้องการกำไรจากการดำเนินงานและการที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวได้นั้น ผู้บริหารหรือเจ้าของกิจการจำเป็นต้องทราบข้อมูลในด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับการบริหารงานและบริหารทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเต็มความสามารถ การบัญชีเป็นการบริหารข้อมูลที่ผู้บริหารหรือเจ้าของกิจการ นำมาใช้ประโยชน์ในการวางแผนและควบคุมการปฏิบัติงาน ในธุระกิจที่ซื้อสินค้ามาขายหรือที่เรียกว่า กิจการซื้อมาขายไป สามารถคำนวณต้นทุนของสินค้าที่ซื้อมาและขายไปตามหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินค้าเหล่านั้นมา เช่น ใบกำกับสินค้า ใบกำกับภาษี เป็นต้น กิจการประเภทนี้จะคำนวณต้นทุนของสินค้าที่ขายไปโดยนำจำนวนหน่วยที่ขายได้คูณกับราคาทุนตามใบกำกับสินค้า แต่ถ้าเป็นธุรกิจผลิตสินค้าหรือที่เรียกว่ากิจการอุตสาหกรรมจะมีรายละเอียดต้นทุนขายที่ซับซ้อนกว่า คือต้องทำการผลิตสินค้าขึ้นมาแล้วจึงขาย โดยการซื้อวัตถุดิบมาแปรสภาพให้เป็นสินค้าสำเร็จรูปเสียก่อน ซึ่งต้นทุนในการผลิตสินค้าสำเร็จรูปคำนวณได้โดย นำต้นทุนผลิตที่เบิกใช้ (วัตถุดิบคงเหลือต้นงวด บวก ซื้อวัตถุดิบระหว่างงวด หัก วัตถุดิบคงเหลือปลายงวด) รวมกับค่าแรงงานทางตรง และค่าใช้จ่ายในการผลิตที่เกิดขึ้น

2. วัตถุประสงค์ของบัญชีต้นทุน
1. ใช้ในการคำนวณต้นทุนขายประจำงวดซึ่งจะได้นำไปเปรียบเทียบกับรายได้ค่าขายสำหรับงวดบัญชีเดียวกัน เพื่อวัดผลการดำเนินงานของกิจการเพื่อจะได้ทราบกำไรหรือขาดทุนสุทธิ
2. ใช้ในการคำนวณหรือตีราคาสินค้าคงเหลือ เช่น วัตถุดิบคงเหลือ งานระหว่างทำ สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือ เพื่อแสดงในงบดุลของกิจการ
3. เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนและควบคุม โดยการเปรียบเทียบข้อมูลที่เกิดขึ้นจริงกับงบประมาณที่กำหนดไว้ หากมีผลแตกต่างที่ไม่น่าพอใจ หรือมีข้อบกพร่องในการดำเนินงานฝ่ายบริหารจะแก้ไขได้ทันท่วงที
4. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจทางการตลาด
3. การจำแนกประเภทต้นทุน
ต้นทุนสามารถนำไปใช้ได้หลายรูปแบบ หลายความหมาย แล้วแต่วัตถุประสงค์ของผู้ใช้ต้นทุนจะมีความหมายก็เฉพาะเมื่อต้นทุนนั้นสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์เฉพาะหนึ่ง ๆ ซึ่งต้นทุนได้เก็บสะสมไว้หรืออาจกล่าวได้ว่า มีต้นทุนต่าง ๆ กันสำหรับวัตถุประสงค์ต่าง ๆ กัน ดังนั้นจึงจำแนกประเภทต้นทุนตามลักษณะและวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ได้ดังนี้คือ
1. จำแนกตามการเปลี่ยนแปลงในกิจกรรม
2. จำแนกตามความรับผิดชอบหรือจำแนกตามแผนกผลิตและการดำเนินการ
3. จำแนกตามส่วนประกอบของสินค้าสำเร็จรูป
4. จำแนกตามหน้าที่ในองค์กรธุรกิจ
5. จำแนกตามการตัดสินใจ และลักษณะทางเศรษฐกิจ
6. จำแนกตามงวดเวลาหรืองวดบัญชี
7. จำแนกตามความประสงค์ในการวางแผนและควบคุม

ต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่
คำว่า “คงที่” (Fixed) และ “ผันแปร” (Variable) ใช้เพื่ออธิบายว่าต้นทุนจะผันแปรไปอย่างไร เมื่อกิจกรรมเปลี่ยนแปลงไป
ต้นทุนผันแปร เป็นต้นทุนซึ่งมีจำนวนรวมที่ผันแปรไปเป็นสัดส่วนโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลงของกิจกรรม ปริมาณกิจกรรมดังกล่าวได้แก่ หน่วยของสินค้าที่ผลิตขาย ชั่ว
โมงแรงงาน ชั่วโมงเครื่องจักร ตัวอย่างของต้นทุนผันแปร ได้แก่ วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง วัสดุสิ้นเปลือง เป็นต้น
ต้นทุนคงที่ เป็นต้นทุนซึ่งจำนวนรวมจะไม่เปลี่ยนแปลงไปกับการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการผลิตภายในช่วงที่พิจารณา หรือไม่ว่าปริมาณกิจกรรมจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง ต้นทุนคงที่รวมจะไม่เปลี่ยนแปลง เช่น เงินเดือนผู้ควบคุมตรวจตราโรงงาน ค่าเสื่อมราคารเครื่องจักร ค่าประกันภัยโรงงานเครื่องจักร ภาษีและค่าเช่า
ต้นทุนกึ่งผันแปร คือ ต้นทุนที่มีลักษณะผสมทั้งที่เป็นต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร นั่นคือ จำนวนรวมของต้นทุนจะเปลี่ยนแปลงตามปริมาณของกิจกรรม แต่ไม่ได้แปรไปในอัตราส่วนโดยตรงกับปริมาณกิจกรรม เช่น ค่าโทรศัพท์ ค่าเบี้ยประกันภัย ค่ากำลังไฟ ค่าตรวจสอบคุณภาพสินค้า เป็นต้น
ต้นทุนแผนกผลิต แผนกผลิตเป็นแผนกที่ทำการแปรสภาพวัตถุดิบให้เป็นสินค้าสำเร็จรูปโดยใช้แรงงานคนหรือเครื่องจักรา ต้นทุนของแผนกผลิตจะถือเป็นต้นทุนของผลิตภัณฑ์เพราะเกี่ยวข้องกับการผลิตโดยตรง เช่น แผนกตัด แผนกประกอบ แผนกตกแต่ง เป็นต้น
ต้นทุนแผนกบริการ แผนกบริการเป็นแผนกที่ไม่ได้ผลิตสินค้าโดยตรงแต่ให้บริการแก่แผนกอื่น ๆ ทั้งที่เป็นแผนกผลิตและแผนกบริการด้วยกัน เช่น แผนกบำรุงรักษา แผนกบุคคล แผนกบัญชี ฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม เป็นต้น
ต้นทุนผลิตภัณฑ์ หมายถึงต้นทุนที่เป็นตัวสินค้า ในกิจการอุตสาหกรรมต้นทุนผลิตภัณฑ์
ก็คือผลรวมของต้นทุนวัตถุดิบ ค่าแรง และค่าใช้จ่ายในการผลิต ส่วนในกิจการซื้อมาขายไป ต้นทุนผลิตภัณฑ์ก็คือค่าซื้อสินค้า
ต้นทุนประจำงวด เป็นต้นทุนที่ไม่เกี่ยวข้องกับการผลิตหรือไม่ได้ติดตามสินค้าที่ผลิต แต่เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารและค่าใช้จ่ายในการขายซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่จะต้องนำไปหักจากยอดขายในงวดบัญชีปัจจุบัน
ต้นทุนที่จำแนกตามส่วนประกอบของสินค้าสำเร็จรูป หรือที่เรียกว่า ต้นทุนการผลิต ซึ่งประกอบด้วยต้นทุนวัตถุดิบ ต้นทุนค่าแรงงาน และต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิต
ส่วนประกอบของต้นทุนการผลิต
1. วัตถุดิบทางตรง หมายถึง วัตถุดิบที่ถูกใช้โดยตรงในการผลิต และแปรสภาพเป็นผลิตภัณฑ์หรือสินค้าสำเร็จรูป และจะเป็นส่วนประกอบสำคัญสามารถคิดเข้าตัวผลิตภัณฑ์ได้ หรือสามารถบอกได้แน่ชัดว่าผลิตภัณฑ์นั้น ๆ มีต้นทุนวัตถุดิบเท่าใด เช่น ผ้าที่ใช้ในการผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป หนังสัตว์ที่ใช้ในการผลิตกระเป๋า เป็นต้น
2. ค่าแรงงานทางตรง หมายถึง ค่าแรงงานที่จ่ายให้แก่คนงานที่ทำการผลิตโดยตรง และสามารถบอกได้ชัดเจนว่าในผลิตภัณฑ์ชิ้นนั้น ๆ มีต้นทุนค่าแรงงานทางตรงเท่าใด
3. ค่าใช้จ่ายการผลิต ซึ่งอาจเรียกว่าโสหุ้ยการผิลต หรือค่าใช้จ่ายโรงงาน หมายถึง ต้นทุนการผลิตที่เกิดขึ้นในโรงงานนอกเหนือจากวัตถุดิบทางตรง และค่าแรงงานทางตรง

4. สินค้าคงเหลือ
สินค้าคงเหลือของกิจการอุตสาหกรรมแบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ
1. วัตถุดิบ หมายถึง สิ่งของที่จะนำมาแปรสภาพใหเป็นสินค้าสำเร็จรูปและคงเหลืออยู่ในมือเพื่อรอที่จะเข้าไปในกระบวนการผลิต สามารถแบ่งเป็น
- วัตถุดิบทางตรง เป็นวัตถุดิบที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของสินค้าสำเร็จรูป และสามารถคำนวณต้นทุนเข้าเป็นสินค้าสำเร็จรูปไ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
1. General characteristics of the cost. ในการดำเนินธุรกิจโดยทั่วไปนั้น วัตถุประสงค์ที่สำคัญคือ ต้องการกำไรจากการดำเนินงานและการที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวได้นั้น ผู้บริหารหรือเจ้าของกิจการจำเป็นต้องทราบข้อมูลในด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับการบริหารงานและบริหารทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเต็มความสามารถ การบัญชีเป็นการบริหารข้อมูลที่ผู้บริหารหรือเจ้าของกิจการ นำมาใช้ประโยชน์ในการวางแผนและควบคุมการปฏิบัติงาน ในธุระกิจที่ซื้อสินค้ามาขายหรือที่เรียกว่า กิจการซื้อมาขายไป สามารถคำนวณต้นทุนของสินค้าที่ซื้อมาและขายไปตามหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินค้าเหล่านั้นมา เช่น ใบกำกับสินค้า ใบกำกับภาษี เป็นต้น กิจการประเภทนี้จะคำนวณต้นทุนของสินค้าที่ขายไปโดยนำจำนวนหน่วยที่ขายได้คูณกับราคาทุนตามใบกำกับสินค้า แต่ถ้าเป็นธุรกิจผลิตสินค้าหรือที่เรียกว่ากิจการอุตสาหกรรมจะมีรายละเอียดต้นทุนขายที่ซับซ้อนกว่า คือต้องทำการผลิตสินค้าขึ้นมาแล้วจึงขาย โดยการซื้อวัตถุดิบมาแปรสภาพให้เป็นสินค้าสำเร็จรูปเสียก่อน ซึ่งต้นทุนในการผลิตสินค้าสำเร็จรูปคำนวณได้โดย นำต้นทุนผลิตที่เบิกใช้ (วัตถุดิบคงเหลือต้นงวด บวก ซื้อวัตถุดิบระหว่างงวด หัก วัตถุดิบคงเหลือปลายงวด) รวมกับค่าแรงงานทางตรง และค่าใช้จ่ายในการผลิตที่เกิดขึ้น2. the purpose of cost accounting 1. is used to calculate the cost of sales in the period, which will be compared with the income for the same period. To measure the performance of acts in order to realize a net gain or loss. 2. used in the calculation of inventory value or as raw materials on hand. Work in progress finished goods on hand to show on the balance sheet of enterprises. 3. information on planned and controlled by comparing the actual data with the defined budget. If the difference is not satisfactory or have a defect in the operations management to correct time. 4. to use as a tool in a marketing decision.3. cost classification The cost can be applied to multiple formats, multiple meanings, but the purpose of the user, the cost will have meaning only if the costs associated with a specific purpose which costs keep accumulating, or in other words, if there are different costs for different purposes and is therefore classified as a user's preferences and objectives are as follows: 1. classification according to the change in activity. 2. classification by responsibility, or classified by Department, production and operations. 3. classified as components of finished goods. 4. functional classification in the business organization. 5. by decision and economic characteristics. 6. classification according to the period of time or period. 7. classification according to the requirements in planning and control. Variable costs and fixed costs. The word "static" (Fixed) and "variable" (Variable) is used to describe how the cost varies, however, When things changed. Variable costs are costs that contains the total amount that varies in direct proportion to the variation of the activity. Such activities include the quantity of an item in each of the units that produce evil.Daily labor hours, machine, an example of variable costs include direct material, direct labor supply, etc. Fixed costs are costs, which total number will not change with the change of production quantities within the range that is considered or not as much activity is increased or decreased. Total fixed costs do not change, such as monitoring controller salaries depreciation rakhrueang factory machinery, insurance and tax machinery factory for rent. Semi variable costs are costs that resembles a mix of fixed costs and variable costs, that is, the total amount of the costs will change based on the volume of activity. But it is not variable in direct ratio to the quantity of activity, such as telephone charges, insurance premiums. Power quality products, value, etc. Cost of production department, production department, it Department, who made the turn into the raw materials into finished goods using labor people or chakras. The cost of the production department will be considered as the cost of the product, because it directly involves the production, for example, the Department cut the Interior Department consists of departments, etc. Service service costs as the Department did not produce an item directly, but other departments provide services to both the Department and Service Department, maintenance department, with individuals Accounting Department Manager, food and beverage, etc. Product cost refers to the cost of an item in the product costs, Industry Affairs.It is the sum of the cost of raw materials. Labor and manufacturing overhead Best in the business to sell acquired products cost. it is purchased. The periodic costs as costs that are not related to the manufacture or production of goods, but not tracked as administrative expenses and selling expenses, the expenses must be deducted from the total sales in the current fiscal period. The cost breakdown by component of the finished product or production cost, which includes the cost of raw materials and labor costs, costs of production expenses. Components of the cost of production. 1. direct material refers to the material that was used directly in production and into a product or a finished product and its major component is capable of thinking into the product, or they can tell what the product is worth the cost of raw materials, such as fabric used in the manufacture of finished garments. Animal leather used in the bag, etc. 2. direct labor refers to labor that paid to workers made a direct production and can tell that the pieces products. With the direct labor costs? 3. expenses, which may be called phi or overhead expense lot a factory means production costs that occur in addition to factory direct material and direct labor.4. outstanding items Inventories of Industrial Affairs are divided into 3 categories: 1. raw materials refers to things that will convert between image condiment into finished goods, and the remainder is in hand to wait to go in production processes. Can be divided into? -Direct raw materials as raw materials that are important components of finished goods and be able to calculate the cost of the finished item.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
1. ลักษณะทั่วไปของต้นทุน
ในการดำเนินธุรกิจโดยทั่วไปนั้น วัตถุประสงค์ที่สำคัญคือ ต้องการกำไรจากการดำเนินงานและการที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวได้นั้น ผู้บริหารหรือเจ้าของกิจการจำเป็นต้องทราบข้อมูลในด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับการบริหารงานและบริหารทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเต็มความสามารถ การบัญชีเป็นการบริหารข้อมูลที่ผู้บริหารหรือเจ้าของกิจการ นำมาใช้ประโยชน์ในการวางแผนและควบคุมการปฏิบัติงาน ในธุระกิจที่ซื้อสินค้ามาขายหรือที่เรียกว่า กิจการซื้อมาขายไป สามารถคำนวณต้นทุนของสินค้าที่ซื้อมาและขายไปตามหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการซื้อสินค้าเหล่านั้นมา เช่น ใบกำกับสินค้า ใบกำกับภาษี เป็นต้น กิจการประเภทนี้จะคำนวณต้นทุนของสินค้าที่ขายไปโดยนำจำนวนหน่วยที่ขายได้คูณกับราคาทุนตามใบกำกับสินค้า แต่ถ้าเป็นธุรกิจผลิตสินค้าหรือที่เรียกว่ากิจการอุตสาหกรรมจะมีรายละเอียดต้นทุนขายที่ซับซ้อนกว่า คือต้องทำการผลิตสินค้าขึ้นมาแล้วจึงขาย โดยการซื้อวัตถุดิบมาแปรสภาพให้เป็นสินค้าสำเร็จรูปเสียก่อน ซึ่งต้นทุนในการผลิตสินค้าสำเร็จรูปคำนวณได้โดย นำต้นทุนผลิตที่เบิกใช้ (วัตถุดิบคงเหลือต้นงวด บวก ซื้อวัตถุดิบระหว่างงวด หัก วัตถุดิบคงเหลือปลายงวด) รวมกับค่าแรงงานทางตรง และค่าใช้จ่ายในการผลิตที่เกิดขึ้น

2. วัตถุประสงค์ของบัญชีต้นทุน
1. ใช้ในการคำนวณต้นทุนขายประจำงวดซึ่งจะได้นำไปเปรียบเทียบกับรายได้ค่าขายสำหรับงวดบัญชีเดียวกัน เพื่อวัดผลการดำเนินงานของกิจการเพื่อจะได้ทราบกำไรหรือขาดทุนสุทธิ
2. ใช้ในการคำนวณหรือตีราคาสินค้าคงเหลือ เช่น วัตถุดิบคงเหลือ งานระหว่างทำ สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือ เพื่อแสดงในงบดุลของกิจการ
3. เพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผนและควบคุม โดยการเปรียบเทียบข้อมูลที่เกิดขึ้นจริงกับงบประมาณที่กำหนดไว้ หากมีผลแตกต่างที่ไม่น่าพอใจ หรือมีข้อบกพร่องในการดำเนินงานฝ่ายบริหารจะแก้ไขได้ทันท่วงที
4. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจทางการตลาด
3. การจำแนกประเภทต้นทุน
ต้นทุนสามารถนำไปใช้ได้หลายรูปแบบ หลายความหมาย แล้วแต่วัตถุประสงค์ของผู้ใช้ต้นทุนจะมีความหมายก็เฉพาะเมื่อต้นทุนนั้นสัมพันธ์กับวัตถุประสงค์เฉพาะหนึ่ง ๆ ซึ่งต้นทุนได้เก็บสะสมไว้หรืออาจกล่าวได้ว่า มีต้นทุนต่าง ๆ กันสำหรับวัตถุประสงค์ต่าง ๆ กัน ดังนั้นจึงจำแนกประเภทต้นทุนตามลักษณะและวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ได้ดังนี้คือ
1. จำแนกตามการเปลี่ยนแปลงในกิจกรรม
2. จำแนกตามความรับผิดชอบหรือจำแนกตามแผนกผลิตและการดำเนินการ
3. จำแนกตามส่วนประกอบของสินค้าสำเร็จรูป
4. จำแนกตามหน้าที่ในองค์กรธุรกิจ
5. จำแนกตามการตัดสินใจ และลักษณะทางเศรษฐกิจ
6. จำแนกตามงวดเวลาหรืองวดบัญชี
7. จำแนกตามความประสงค์ในการวางแผนและควบคุม

ต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที่
คำว่า “คงที่” (Fixed) และ “ผันแปร” (Variable) ใช้เพื่ออธิบายว่าต้นทุนจะผันแปรไปอย่างไร เมื่อกิจกรรมเปลี่ยนแปลงไป
ต้นทุนผันแปร เป็นต้นทุนซึ่งมีจำนวนรวมที่ผันแปรไปเป็นสัดส่วนโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลงของกิจกรรม ปริมาณกิจกรรมดังกล่าวได้แก่ หน่วยของสินค้าที่ผลิตขาย ชั่ว
โมงแรงงาน ชั่วโมงเครื่องจักร ตัวอย่างของต้นทุนผันแปร ได้แก่ วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง วัสดุสิ้นเปลือง เป็นต้น
ต้นทุนคงที่ เป็นต้นทุนซึ่งจำนวนรวมจะไม่เปลี่ยนแปลงไปกับการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการผลิตภายในช่วงที่พิจารณา หรือไม่ว่าปริมาณกิจกรรมจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง ต้นทุนคงที่รวมจะไม่เปลี่ยนแปลง เช่น เงินเดือนผู้ควบคุมตรวจตราโรงงาน ค่าเสื่อมราคารเครื่องจักร ค่าประกันภัยโรงงานเครื่องจักร ภาษีและค่าเช่า
ต้นทุนกึ่งผันแปร คือ ต้นทุนที่มีลักษณะผสมทั้งที่เป็นต้นทุนคงที่และต้นทุนผันแปร นั่นคือ จำนวนรวมของต้นทุนจะเปลี่ยนแปลงตามปริมาณของกิจกรรม แต่ไม่ได้แปรไปในอัตราส่วนโดยตรงกับปริมาณกิจกรรม เช่น ค่าโทรศัพท์ ค่าเบี้ยประกันภัย ค่ากำลังไฟ ค่าตรวจสอบคุณภาพสินค้า เป็นต้น
ต้นทุนแผนกผลิต แผนกผลิตเป็นแผนกที่ทำการแปรสภาพวัตถุดิบให้เป็นสินค้าสำเร็จรูปโดยใช้แรงงานคนหรือเครื่องจักรา ต้นทุนของแผนกผลิตจะถือเป็นต้นทุนของผลิตภัณฑ์เพราะเกี่ยวข้องกับการผลิตโดยตรง เช่น แผนกตัด แผนกประกอบ แผนกตกแต่ง เป็นต้น
ต้นทุนแผนกบริการ แผนกบริการเป็นแผนกที่ไม่ได้ผลิตสินค้าโดยตรงแต่ให้บริการแก่แผนกอื่น ๆ ทั้งที่เป็นแผนกผลิตและแผนกบริการด้วยกัน เช่น แผนกบำรุงรักษา แผนกบุคคล แผนกบัญชี ฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม เป็นต้น
ต้นทุนผลิตภัณฑ์ หมายถึงต้นทุนที่เป็นตัวสินค้า ในกิจการอุตสาหกรรมต้นทุนผลิตภัณฑ์
ก็คือผลรวมของต้นทุนวัตถุดิบ ค่าแรง และค่าใช้จ่ายในการผลิต ส่วนในกิจการซื้อมาขายไป ต้นทุนผลิตภัณฑ์ก็คือค่าซื้อสินค้า
ต้นทุนประจำงวด เป็นต้นทุนที่ไม่เกี่ยวข้องกับการผลิตหรือไม่ได้ติดตามสินค้าที่ผลิต แต่เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารและค่าใช้จ่ายในการขายซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายที่จะต้องนำไปหักจากยอดขายในงวดบัญชีปัจจุบัน
ต้นทุนที่จำแนกตามส่วนประกอบของสินค้าสำเร็จรูป หรือที่เรียกว่า ต้นทุนการผลิต ซึ่งประกอบด้วยต้นทุนวัตถุดิบ ต้นทุนค่าแรงงาน และต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิต
ส่วนประกอบของต้นทุนการผลิต
1. วัตถุดิบทางตรง หมายถึง วัตถุดิบที่ถูกใช้โดยตรงในการผลิต และแปรสภาพเป็นผลิตภัณฑ์หรือสินค้าสำเร็จรูป และจะเป็นส่วนประกอบสำคัญสามารถคิดเข้าตัวผลิตภัณฑ์ได้ หรือสามารถบอกได้แน่ชัดว่าผลิตภัณฑ์นั้น ๆ มีต้นทุนวัตถุดิบเท่าใด เช่น ผ้าที่ใช้ในการผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูป หนังสัตว์ที่ใช้ในการผลิตกระเป๋า เป็นต้น
2. ค่าแรงงานทางตรง หมายถึง ค่าแรงงานที่จ่ายให้แก่คนงานที่ทำการผลิตโดยตรง และสามารถบอกได้ชัดเจนว่าในผลิตภัณฑ์ชิ้นนั้น ๆ มีต้นทุนค่าแรงงานทางตรงเท่าใด
3. ค่าใช้จ่ายการผลิต ซึ่งอาจเรียกว่าโสหุ้ยการผิลต หรือค่าใช้จ่ายโรงงาน หมายถึง ต้นทุนการผลิตที่เกิดขึ้นในโรงงานนอกเหนือจากวัตถุดิบทางตรง และค่าแรงงานทางตรง

4. สินค้าคงเหลือ
สินค้าคงเหลือของกิจการอุตสาหกรรมแบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ
1. วัตถุดิบ หมายถึง สิ่งของที่จะนำมาแปรสภาพใหเป็นสินค้าสำเร็จรูปและคงเหลืออยู่ในมือเพื่อรอที่จะเข้าไปในกระบวนการผลิต สามารถแบ่งเป็น
- วัตถุดิบทางตรง เป็นวัตถุดิบที่เป็นส่วนประกอบสำคัญของสินค้าสำเร็จรูป และสามารถคำนวณต้นทุนเข้าเป็นสินค้าสำเร็จรูปไ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
1. General characteristics of cost
.In the business in general. The objective is the key. Want to profit from the operation and to achieve this. Managers or owners need to know the information in various areas.Accounting management is information management or owners. Useful in planning and control performance. In the business that buy goods for sale or called parties to sell to buy.Such as invoice tax invoice etc. this kind of affairs calculates the cost of goods sold by the number of units sold by multiplying the cost according to invoice.Is to produce and sell it. The raw material purchase to transform into finished goods first. Which cost in the production of goods to compute by the production cost issue (raw materials คงเหลือต้น period plus.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: