ประชาธิปไตยไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนั้น มีการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยแ การแปล - ประชาธิปไตยไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนั้น มีการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยแ อังกฤษ วิธีการพูด

ประชาธิปไตยไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุ

ประชาธิปไตยไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนั้น มีการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยและผู้นำ สำหรับที่มานั้น "ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข" เพิ่งจะมีขึ้นในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2492ทั้งนี้ สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ ได้ให้ความเห็นไว้ว่า รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวร่างขึ้นภายใต้อิทธิพลของพลังอนุรักษนิยม ซึ่งขณะนั้นมีพรรคประชาธิปัตย์เป็นตัวแทนทางการเมืองที่สำคัญ แต่การปรากฏขึ้นครั้งแรกนี้ ยังไม่ได้ยืนยันความเป็นชื่อเฉพาะของระบอบการปกครองแต่อย่างใดแต่การปรากฏขึ้นซ้ำในภายหลัง คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2511 และ พ.ศ. 2519 เป็นสองฉบับแรกที่ยืนยันความชอบธรรมของ "ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข"
แต่ในความเป็นจริงนั้นพระมหากษัตริย์ไม่ได้ลงมาปกครองประชาชนโดยตรง แต่เป็นผู้แต่งตั้งคณะรัฐมนตรีต่างๆขึ้นมาปกครองและดูแลประชาชน โดยประชาชนได้รับอำนาจในการเลือกตั้งผู้นำ แต่เมื่อไม่นานมานี้การโกงกินในอำนาจรัฐเข้ามาเป็นปัญหาสำคัญของการเมืองไทย โดย พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีในช่วงนั้น เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2544 จนกระทั่งพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2549 หลังการรัฐประหาร เป็นหนึ่งในบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในประเทศไทย และได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลกที่ต้องใช้ชีวิตในคุกหรืออยู่ระหว่างการหลบหนีคดีความอาญา
ซึ่งก่อนหน้าที่จะถูกดำเนินคดีนั้นได้มีกลุ่มที่ชื่อว่าพันธมิตร มีสัญลักษณ์สำคัญคือผู้ชุมนุมจะใส่เสื้อสีเหลือง ทำให้สถานการณ์ทางการเมืองของไทยในช่วงนั้นอยู่ในขั้นวิกฤติ มีการชุมนุมเป็นระยะเวลานาน เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทยที่มีบทบาทสำคัญในช่วง พ.ศ. 2548-2552 โดยเป็นการรวมตัวจากหลายองค์กรทั่วประเทศ และได้รับการสนับสนุนจากหลายฝ่าย ภายใต้จุดประสงค์ในการขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และแสดงความต้องการให้อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทนอย่างเปิดเผยมีแกนนำคนสำคัญ ได้แก่ สนธิ ลิ้มทองกุล และพลตรีจำลอง ศรีเมือง พ.ศ. 2548 ได้มีการเคลื่อนไหวของฝ่ายซึ่งมีความเห็นว่า พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร หัวหน้าพรรคไทยรักไทย ควรออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นำโดยสนธิ ลิ้มทองกุล จนกระทั่งลงเอยด้วยเหตุการณ์รัฐประหาร ส่งผลให้ฝ่ายทหาร คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เหตุการณ์ต่างๆเริ่มรุนแรงขึ้นหลังหลังจาก พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ได้ลาออกจากการเป็นนายกรัฐมนตรี แต่ยังคงให้นายสมชาย วงสวัสดิ์ ซึ่งเป็นรองนายกรัฐมนตรีขึ้นมาทำหน้าที่แทน แต่กลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงต่อเพราะอยากให้อำนาจทักษิณ หมดจากรับอบการปกครองของไทยโดยไม่มีอำนาจแทรกแทรงใดๆอีก
จนกระทั่ง พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ได้ทำกรปฏิวัติและ ก้าวขึ้นสู่อำนาจ และเข้ามามีบทบาททางการเมือง ส่งผลให้ไทยอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลทหาร ซึ่งมีพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์เป็นนายกรัฐมนตรี ระหว่าง พ.ศ. 2549-2550 ช่วงนั้นการปกครองไทยอยู่ในรูปแบบการปกครองโดยทหาร ผู้ชุมนุมเสื้อเหลืองก็ได้สลายการชุมนุมไป ต่อมาได้มีการรวมตัวอีกครั้งจากกลุ่ม นปช.แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ โดยรวมกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมือง เพื่อต่อต้านรัฐประหาร พ.ศ. 2549 และขับไล่คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ กับ พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์ ออกจากการเป็นนายกรัฐมนตรี แต่ยุติการชุมนุมเมื่อ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2550 หลังจากที่พรรคพลังประชาชนได้รับเลือกตั้งเป็นเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎร โดยในภายหลังได้กลับมารวมตัวกันอีก เพื่อต่อต้านพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2551 จนเกิดเหตุการณ์ปะทะกัน โดยมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บ แต่หลังจากนั้นได้มีการแต่งตั้งนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวพรรคประชาธิปปัตย์ ขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรี โดยมีวาระการทำงาน1ปี ซึ่งการแต่งตั้งครั้งนั้นทำให้กลุ่มนปช.ลุกขึ้นมาประท้วงคล้ายๆกับเหตุการณ์ของกลุ่มพันธมิตร เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และเป็นองค์กรหลักของกลุ่มคนเสื้อแดง โดยมีสัญลักษณ์หลักคือ สีแดง และเสื้อสีแดง นปช.กลับมาชุมนุมเคลื่อนไหวครั้งใหญ่เพื่อขับไล่รัฐบาล ในวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2552 จนเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบเมื่อ เมษายน พ.ศ. 2552 รัฐบาลประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินขั้นร้ายแรง และยกกำลังทหารปิดล้อมผู้ชุมนุม ทั้งสองเหตุการณ์ที่ผ่านมานั้นยังคงทำให้การเมืองไทยวุ่นวายและยังต้องพึ่งอำนาจของทหารเข้ามาจัดการความเรียบร้อยต่างๆอีกครั้ง โดยรวมคือไทยมีกลุ่มที่เคลื่อนไหวทางการเมืองสองกลุ่มใหญ่คือกลุ่มพันธมิตร (เสื้อเหลือง) และกลุ่มนปช. (เสื้อแดง)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Thai democracy from the past until now. Changes by era and a leader. For the "impressive democracy with the King as head of State" had been scheduled to be held on the Constitution of the Kingdom of 2492 (1949) Thai. Somsak thirot humbly, d.SC. Modern Thai history scholars have commented that such a Constitution drafted under the influence of conservative power. Then there are the Democrat party is a major political agent but appeared for the first time this has not been confirmed as the name only of the regime but to appear at a later date, is the Constitution of the Kingdom of 2519 (1976) 2511 (1968) Thai and the first two of which confirms the legitimacy of "democracy with the King as head of State," he said. แต่ในความเป็นจริงนั้นพระมหากษัตริย์ไม่ได้ลงมาปกครองประชาชนโดยตรง แต่เป็นผู้แต่งตั้งคณะรัฐมนตรีต่างๆขึ้นมาปกครองและดูแลประชาชน โดยประชาชนได้รับอำนาจในการเลือกตั้งผู้นำ แต่เมื่อไม่นานมานี้การโกงกินในอำนาจรัฐเข้ามาเป็นปัญหาสำคัญของการเมืองไทย โดย พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีในช่วงนั้น เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2544 จนกระทั่งพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2549 หลังการรัฐประหาร เป็นหนึ่งในบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในประเทศไทย และได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลกที่ต้องใช้ชีวิตในคุกหรืออยู่ระหว่างการหลบหนีคดีความอาญา ซึ่งก่อนหน้าที่จะถูกดำเนินคดีนั้นได้มีกลุ่มที่ชื่อว่าพันธมิตร มีสัญลักษณ์สำคัญคือผู้ชุมนุมจะใส่เสื้อสีเหลือง ทำให้สถานการณ์ทางการเมืองของไทยในช่วงนั้นอยู่ในขั้นวิกฤติ มีการชุมนุมเป็นระยะเวลานาน เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทยที่มีบทบาทสำคัญในช่วง พ.ศ. 2548-2552 โดยเป็นการรวมตัวจากหลายองค์กรทั่วประเทศ และได้รับการสนับสนุนจากหลายฝ่าย ภายใต้จุดประสงค์ในการขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และแสดงความต้องการให้อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทนอย่างเปิดเผยมีแกนนำคนสำคัญ ได้แก่ สนธิ ลิ้มทองกุล และพลตรีจำลอง ศรีเมือง พ.ศ. 2548 ได้มีการเคลื่อนไหวของฝ่ายซึ่งมีความเห็นว่า พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร หัวหน้าพรรคไทยรักไทย ควรออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นำโดยสนธิ ลิ้มทองกุล จนกระทั่งลงเอยด้วยเหตุการณ์รัฐประหาร ส่งผลให้ฝ่ายทหาร คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เหตุการณ์ต่างๆเริ่มรุนแรงขึ้นหลังหลังจาก พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ได้ลาออกจากการเป็นนายกรัฐมนตรี แต่ยังคงให้นายสมชาย วงสวัสดิ์ ซึ่งเป็นรองนายกรัฐมนตรีขึ้นมาทำหน้าที่แทน แต่กลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงต่อเพราะอยากให้อำนาจทักษิณ หมดจากรับอบการปกครองของไทยโดยไม่มีอำนาจแทรกแทรงใดๆอีก จนกระทั่ง พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ได้ทำกรปฏิวัติและ ก้าวขึ้นสู่อำนาจ และเข้ามามีบทบาททางการเมือง ส่งผลให้ไทยอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลทหาร ซึ่งมีพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์เป็นนายกรัฐมนตรี ระหว่าง พ.ศ. 2549-2550 ช่วงนั้นการปกครองไทยอยู่ในรูปแบบการปกครองโดยทหาร ผู้ชุมนุมเสื้อเหลืองก็ได้สลายการชุมนุมไป ต่อมาได้มีการรวมตัวอีกครั้งจากกลุ่ม นปช.แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ โดยรวมกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมือง เพื่อต่อต้านรัฐประหาร พ.ศ. 2549 และขับไล่คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ กับ พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์ ออกจากการเป็นนายกรัฐมนตรี แต่ยุติการชุมนุมเมื่อ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2550 หลังจากที่พรรคพลังประชาชนได้รับเลือกตั้งเป็นเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎร โดยในภายหลังได้กลับมารวมตัวกันอีก เพื่อต่อต้านพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2551 จนเกิดเหตุการณ์ปะทะกัน โดยมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บ แต่หลังจากนั้นได้มีการแต่งตั้งนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวพรรคประชาธิปปัตย์ ขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรี โดยมีวาระการทำงาน1ปี ซึ่งการแต่งตั้งครั้งนั้นทำให้กลุ่มนปช.ลุกขึ้นมาประท้วงคล้ายๆกับเหตุการณ์ของกลุ่มพันธมิตร เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และเป็นองค์กรหลักของกลุ่มคนเสื้อแดง โดยมีสัญลักษณ์หลักคือ สีแดง และเสื้อสีแดง นปช.กลับมาชุมนุมเคลื่อนไหวครั้งใหญ่เพื่อขับไล่รัฐบาล ในวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2552 จนเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบเมื่อ เมษายน พ.ศ. 2552 รัฐบาลประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินขั้นร้ายแรง และยกกำลังทหารปิดล้อมผู้ชุมนุม ทั้งสองเหตุการณ์ที่ผ่านมานั้นยังคงทำให้การเมืองไทยวุ่นวายและยังต้องพึ่งอำนาจของทหารเข้ามาจัดการความเรียบร้อยต่างๆอีกครั้ง โดยรวมคือไทยมีกลุ่มที่เคลื่อนไหวทางการเมืองสองกลุ่มใหญ่คือกลุ่มพันธมิตร (เสื้อเหลือง) และกลุ่มนปช. (เสื้อแดง)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประชาธิปไตยไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนั้น มีการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัยและผู้นำ สำหรับที่มานั้น "ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข" เพิ่งจะมีขึ้นในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2492ทั้งนี้ สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ ได้ให้ความเห็นไว้ว่า รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวร่างขึ้นภายใต้อิทธิพลของพลังอนุรักษนิยม ซึ่งขณะนั้นมีพรรคประชาธิปัตย์เป็นตัวแทนทางการเมืองที่สำคัญ แต่การปรากฏขึ้นครั้งแรกนี้ ยังไม่ได้ยืนยันความเป็นชื่อเฉพาะของระบอบการปกครองแต่อย่างใดแต่การปรากฏขึ้นซ้ำในภายหลัง คือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2511 และ พ.ศ. 2519 เป็นสองฉบับแรกที่ยืนยันความชอบธรรมของ "ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข"
แต่ในความเป็นจริงนั้นพระมหากษัตริย์ไม่ได้ลงมาปกครองประชาชนโดยตรง แต่เป็นผู้แต่งตั้งคณะรัฐมนตรีต่างๆขึ้นมาปกครองและดูแลประชาชน โดยประชาชนได้รับอำนาจในการเลือกตั้งผู้นำ แต่เมื่อไม่นานมานี้การโกงกินในอำนาจรัฐเข้ามาเป็นปัญหาสำคัญของการเมืองไทย โดย พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีในช่วงนั้น เป็นนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 23 ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2544 จนกระทั่งพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2549 หลังการรัฐประหาร เป็นหนึ่งในบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในประเทศไทย และได้รับการจัดให้เป็นหนึ่งในบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลกที่ต้องใช้ชีวิตในคุกหรืออยู่ระหว่างการหลบหนีคดีความอาญา
ซึ่งก่อนหน้าที่จะถูกดำเนินคดีนั้นได้มีกลุ่มที่ชื่อว่าพันธมิตร มีสัญลักษณ์สำคัญคือผู้ชุมนุมจะใส่เสื้อสีเหลือง ทำให้สถานการณ์ทางการเมืองของไทยในช่วงนั้นอยู่ในขั้นวิกฤติ มีการชุมนุมเป็นระยะเวลานาน เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทยที่มีบทบาทสำคัญในช่วง พ.ศ. 2548-2552 โดยเป็นการรวมตัวจากหลายองค์กรทั่วประเทศ และได้รับการสนับสนุนจากหลายฝ่าย ภายใต้จุดประสงค์ในการขับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และแสดงความต้องการให้อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีแทนอย่างเปิดเผยมีแกนนำคนสำคัญ ได้แก่ สนธิ ลิ้มทองกุล และพลตรีจำลอง ศรีเมือง พ.ศ. 2548 ได้มีการเคลื่อนไหวของฝ่ายซึ่งมีความเห็นว่า พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร หัวหน้าพรรคไทยรักไทย ควรออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี นำโดยสนธิ ลิ้มทองกุล จนกระทั่งลงเอยด้วยเหตุการณ์รัฐประหาร ส่งผลให้ฝ่ายทหาร คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เหตุการณ์ต่างๆเริ่มรุนแรงขึ้นหลังหลังจาก พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ได้ลาออกจากการเป็นนายกรัฐมนตรี แต่ยังคงให้นายสมชาย วงสวัสดิ์ ซึ่งเป็นรองนายกรัฐมนตรีขึ้นมาทำหน้าที่แทน แต่กลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงต่อเพราะอยากให้อำนาจทักษิณ หมดจากรับอบการปกครองของไทยโดยไม่มีอำนาจแทรกแทรงใดๆอีก
จนกระทั่ง พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ได้ทำกรปฏิวัติและ ก้าวขึ้นสู่อำนาจ และเข้ามามีบทบาททางการเมือง ส่งผลให้ไทยอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลทหาร ซึ่งมีพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์เป็นนายกรัฐมนตรี ระหว่าง พ.ศ. 2549-2550 ช่วงนั้นการปกครองไทยอยู่ในรูปแบบการปกครองโดยทหาร ผู้ชุมนุมเสื้อเหลืองก็ได้สลายการชุมนุมไป ต่อมาได้มีการรวมตัวอีกครั้งจากกลุ่ม นปช.แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ โดยรวมกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมือง เพื่อต่อต้านรัฐประหาร พ.ศ. 2549 และขับไล่คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ กับ พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์ ออกจากการเป็นนายกรัฐมนตรี แต่ยุติการชุมนุมเมื่อ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2550 หลังจากที่พรรคพลังประชาชนได้รับเลือกตั้งเป็นเสียงข้างมากในสภาผู้แทนราษฎร โดยในภายหลังได้กลับมารวมตัวกันอีก เพื่อต่อต้านพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2551 จนเกิดเหตุการณ์ปะทะกัน โดยมีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บ แต่หลังจากนั้นได้มีการแต่งตั้งนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ หัวพรรคประชาธิปปัตย์ ขึ้นมาเป็นนายกรัฐมนตรี โดยมีวาระการทำงาน1ปี ซึ่งการแต่งตั้งครั้งนั้นทำให้กลุ่มนปช.ลุกขึ้นมาประท้วงคล้ายๆกับเหตุการณ์ของกลุ่มพันธมิตร เป็นกลุ่มเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทย ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร อดีตนายกรัฐมนตรี และเป็นองค์กรหลักของกลุ่มคนเสื้อแดง โดยมีสัญลักษณ์หลักคือ สีแดง และเสื้อสีแดง นปช.กลับมาชุมนุมเคลื่อนไหวครั้งใหญ่เพื่อขับไล่รัฐบาล ในวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2552 จนเกิดเหตุการณ์ความไม่สงบเมื่อ เมษายน พ.ศ. 2552 รัฐบาลประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินขั้นร้ายแรง และยกกำลังทหารปิดล้อมผู้ชุมนุม ทั้งสองเหตุการณ์ที่ผ่านมานั้นยังคงทำให้การเมืองไทยวุ่นวายและยังต้องพึ่งอำนาจของทหารเข้ามาจัดการความเรียบร้อยต่างๆอีกครั้ง โดยรวมคือไทยมีกลุ่มที่เคลื่อนไหวทางการเมืองสองกลุ่มใหญ่คือกลุ่มพันธมิตร (เสื้อเหลือง) และกลุ่มนปช. (เสื้อแดง)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Thai democracy from the past to the present. Changes according to age and leader for the origin. "Democracy with the king as head of state". Just is in the constitution.2492 the Somsak เจียมธีรสกุล scholars of modern Thai history, to see that The constitution drawn up under the influence of the ConservativesBut the first appeared. Haven't confirmed as the specific name of the regime in any way but to appear again later is the constitution of the kingdom of Thailand. B.Professor 2511 and the 2519 are two original confirmed righteousness. "Democracy with the king as head of state." ""
.But in fact the king didn't come to rule the people directly. But raise various cabinet up rule and take care of people. The people have the power in the leadership election.The police Colonel Thaksin Shinawatra as prime minister in the prime minister, who 23 positions during the yearProfessor 2544 until fall prime minister in BC.2549 after the coup. Is one of the people rich in Thailand. And has been considered as one of the world's wealthiest individuals to live a life in prison or between escaped criminal lawsuit
.The prior to trial, there was a group called alliance. There are important symbols is the demonstrators to wear yellow. The political situation in the in the crisis. The rally for a long period of time.B.Professor 2548-2552 by is gathering from many enterprises all over the country. And has received the support of many parties, under the aim to drive the Lt.Thaksin Shinawatra from the position of prime minister. And show needs to Abhisit. As the prime minister instead of openly with the fund important including intercourse, Lim gold Gul and portrait photography SRI.2548 is moving and which is of the opinion that Lt.Thaksin Shinawatra Thai Rak Thai party, should from the position of prime minister, led by Sondhi Lim gold d until ended the coup events. Result in military affairs.The events start up after severe after B.Interested.Thaksin Shinawatra has resigned as prime minister, but still you Somchai Wongsawat, a deputy prime minister up that role. But the protesters on to power the Thaksin.
.Until พลเอกสนธิ Boonyaratglin made revolutionary organization and rising to power and deems politically. Result in Thailand is under the rule of the military government, which has general Surayud Chulanont. Prime minister during the year2549-2550 the Thai government in the forms of government by the military. Protesters also disperse yellow shirts. Later, with the reunion of the UDDThe United Front for Democracy against dictatorship. The collective political movement against the coup in 2549 and drive the Council for national security, and Gen.Surayud Chulanont, out of a prime minister. But end assembly on 26 December 20082550 after the people power party elected a majority in the house of Representatives. By the later get back together again. Against the people's Alliance for democracy, in May 2009.2551 until the event clash. The dead and wounded. But then have appointed Abhisit Vejjajiva end-of-term party head, sovereignty to become prime minister by is the work 1 years.Get up protests similar to the events of the alliance. Group political movement, which is closely related with Lt.Thaksin Shinawatra, the former prime minister, and is the main organizations of the red shirts, with สัญลักษณ์หลัก is red and red shirt movement rally rally back big time to repel the government. On 26 March
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: