โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนรัฐบาล เดิมสังกัดกองโรงเรียนรัฐบาล กรมวิสามัญศึ การแปล - โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนรัฐบาล เดิมสังกัดกองโรงเรียนรัฐบาล กรมวิสามัญศึ อังกฤษ วิธีการพูด

โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนรัฐบาล เดิมส



โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนรัฐบาล เดิมสังกัดกองโรงเรียนรัฐบาล กรมวิสามัญศึกษา ตั้งอยู่ในบริเวณโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง เลขที่ ๑๗๖ ถนนประสานมิตร อำเภอพระโขนง จังหวัดพระนคร (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถนนสุขุมวิท ซอยสุขุมวิท ๒๓ แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร) รหัสไปรษณีย์ ๑๐๑๑๐ ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๕ ดังสำเนาต่อไปนี้

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ

เรื่อง ตั้งโรงเรียนรัฐบาล

ด้วยกระทรวงศึกษาธิการ ให้พิจารณาเห็นสมควรจัดเปิดการสอนชั้นมัธยมศึกษาขึ้นที่บริเวณ โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ที่ถนนประสานมิตร อำเภอพระโขนง จังหวัดพระนคร จึงให้เปิดโรงเรียนชั้นมัธยมศึกษาวิสามัญขึ้น ณ ท้องที่ดังกล่าว ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๔๙๕ เป็นต้นไป ให้ชื่อสถานศึกษาแห่งนี้ว่า "โรงเรียนประสานมิตร" และใช้อักษรย่อตามโรงเรียนว่า "ป.ม."



ประกาศ ณ วันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๔๙๕

(ลงชื่อ) ม.พรหมโยธี

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ





โรงเรียนนี้เปิดสอนวันแรกเมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๔๙๕ มีอาคาร ๒ หลัง เป็นอาคารเรียน ๑ หลัง รับนักเรียนเข้าเรียนมัธยม ๑ จำนวน ๖๔ คน และเปิดสอนชั้นสูงขึ้น ปีละชั้นตามลำดับ

พ.ศ. ๒๔๙๗ โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ประสานมิตรได้รับการยกฐานะโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ขึ้นเป็นวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร ตาม พ.ร.บ. วิทยาลัยวิชาการศึกษา โรงเรียนประสานมิตร จึงเปลี่ยนเป็นโรงเรียนมัธยมสาธิต วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร เรียกย่อว่า ม.วศ.

พ.ศ. ๒๕๐๘ โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารพร้อมกัน ๕ หลัง สร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๐๙

พ.ศ. ๒๕๐๙ กระทรวงศึกษาธิการ ได้อนุมัติให้โรงเรียนมัธยมสาธิต เป็น "โรงเรียนมัธยมแบบประสม" แห่งแรกของกรุงเทพมหานคร เปิดสอนวิชาการต่างๆ หลายสายวิชา ตามความต้องการของ ผู้เรียน ผู้เรียนมีโอกาสเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถ และความพอใจ

ผลการเรียนการสอน "มัธยมแบบประสม" นี้ ทำให้กระทรวงศึกษาธิการหันมาสนใจจัดตั้งโรงเรียนมัธยมแบบประสมทั้งในกรุงเทพมหานคร (ที่โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย) และต่างจังหวัดอีกเกือบ ๕๐ โรง ทดลองวิธีการอยู่เกือบ ๑๐ ปี จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษาระดับมัธยมครั้งใหญ่ คือ หลักสูตรมัธยมศึกษาพุทธศักราช ๒๕๒๑

วันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๑๗ คณะรัฐมนตรีให้ยกฐานะวิทยาลัยวิชาการศึกษาเป็นมหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ และประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๑๗ ดังนั้น โรงเรียนสาธิตแห่งนี้เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ใช้ชื่อย่อว่า ม.มศว. ตามชื่อย่อของมหาวิทยาลัยและใช้รูปแบบของตรามหาวิทยาลัยเป็นตราของโรงเรียน

วันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๓๔ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประกาศรวมโรงเรียนประถมสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร และมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เป็นโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร

วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๓๘ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประกาศให้แยกการบริหารโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เป็นฝ่ายมัธยม และฝ่ายประถม โดยให้มี ผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) และผู้อำนวยการ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม) เป็นผู้บริหารงานของแต่ละโรงเรียน

พ.ศ. ๒๕๓๙ ทางโรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ ๘ ชั้น พื้นที่ ๑๖,๐๐๐ ตารางเมตร งบประมาณค่าก่อสร้าง ๑๔๐ ล้านบาท เป็นเงินที่ได้รับการจัดสรรจากสำนักงบประมาณ ๑๑๐ ล้านบาท และทางโรงเรียนหาสมทบอีก ๓๐ ล้านบาท จัดพิธีวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๓๙ โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์เจ้าอาวาสวัดสระเกศ กรุงเทพมหานคร เป็นองค์ประธานในพิธีวางศิลาฤกษ์ และในการก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์หลังนี้ต้องรื้ออาคารเดิมออก ๓ หลัง คือ อาคาร ๓ อาคาร ๔ และอาคารพยาบาล เมื่อก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์หลังนี้แล้วเสร็จจะต้องรื้ออาคาร ๑ ออก เพื่อปรับปรุงสภาพภูมิสถาปัตย์ให้สวยงามร่มรื่น

พ.ศ. ๒๕๔๔ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จมาเป็นประธานในพิธีเปิดอาคารอเนกประสงค์ ๘ ชั้น ซึ่งได้ชื่อจากการประกวดโดยศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบันว่า “อาคารวิทยวิโรฒ” และทรงแสดงปาฐกถา เรื่อง “การศึกษาของผู้ด้อยโอกาส” ณ ห้องสมุด เมื่อวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๔

พ.ศ. ๒๕๔๕ ทำพิธีเททองหล่อพระพุทธรูปประจำโรงเรียน “พระพุทธมงคลสาธุชนอภิวาทน์” และพระพุทธวรญาณ เจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร บรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่ได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระสังฆราช ที่พระเกศ และทำพิธีเบิกพระเนตร เมื่อวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๕

พ.ศ. ๒๕๔๘ โรงเรียนได้รับงบประมาณจากสำนักงบประมาณ เป็นเงินประมาณ ๑๒๕.๙๕ ล้านบาท เพื่อสร้างอาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ เป็นอาคารรูปตัว L โดยส่วนหน้ามี ๔ ชั้น ส่วนหลังมี ๙ ชั้น โรงเรียนจึงดำเนินการรื้ออาคารโรงอาหารและโรงฝึกพลศึกษาออก การก่อสร้างสิ้นสุดในเดือนธันวาคม ๒๕๕๐ รวมค่าก่อสร้างทั้งสิ้นประมาณ ๑๗๔ ล้านบาท

พ.ศ. ๒๕๕๑ โรงเรียนได้รับพระราชทานนามอาคารหลังใหม่ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยมีหนังสือจากสำนักงานเลขาธิการพระบรมมหาราชวัง ให้ใช้ชื่อ “อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐” โดยมีตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระ-ชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๑

พ.ศ. ๒๕๕๓ โรงเรียนได้เปิดหลักสูตรนานาชาติ สาธิต มศว ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) เปิดสอนนักเรียนชั้นปีที่ ๘-๑๓ (Year 8-13) ซึ่งการเรียนการสอนใช้หลักสูตร IGCSE ของประเทศอังกฤษ

พ.ศ. ๒๕๕๔ โรงเรียนได้เปิดศูนย์ต้นแบบพัฒนาศักยภาพเด็กที่มีความต้องการพิเศษ โดยในปีแรกนี้รับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ จำนวน ๑๐ คน เข้าเรียนร่วมกับนักเรียนปกติและแยกเรียนในบางวิชาตามศักยภาพของแต่ละคน ซึ่งโครงการนี้จะเป็นต้นแบบให้แก่โรงเรียนอื่นๆ ที่มีนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษอยู่ในโรงเรียน

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
โรงเรียนนี้เป็นโรงเรียนรัฐบาล เดิมสังกัดกองโรงเรียนรัฐบาล กรมวิสามัญศึกษา ตั้งอยู่ในบริเวณโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง เลขที่ ๑๗๖ ถนนประสานมิตร อำเภอพระโขนง จังหวัดพระนคร (ปัจจุบัน คือ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถนนสุขุมวิท ซอยสุขุมวิท ๒๓ แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร) รหัสไปรษณีย์ ๑๐๑๑๐ ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๕ ดังสำเนาต่อไปนี้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง ตั้งโรงเรียนรัฐบาล ด้วยกระทรวงศึกษาธิการ ให้พิจารณาเห็นสมควรจัดเปิดการสอนชั้นมัธยมศึกษาขึ้นที่บริเวณ โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ที่ถนนประสานมิตร อำเภอพระโขนง จังหวัดพระนคร จึงให้เปิดโรงเรียนชั้นมัธยมศึกษาวิสามัญขึ้น ณ ท้องที่ดังกล่าว ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๔๙๕ เป็นต้นไป ให้ชื่อสถานศึกษาแห่งนี้ว่า "โรงเรียนประสานมิตร" และใช้อักษรย่อตามโรงเรียนว่า "ป.ม." ประกาศ ณ วันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๔๙๕ (ลงชื่อ) ม.พรหมโยธี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ โรงเรียนนี้เปิดสอนวันแรกเมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๔๙๕ มีอาคาร ๒ หลัง เป็นอาคารเรียน ๑ หลัง รับนักเรียนเข้าเรียนมัธยม ๑ จำนวน ๖๔ คน และเปิดสอนชั้นสูงขึ้น ปีละชั้นตามลำดับ พ.ศ. ๒๔๙๗ โรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ประสานมิตรได้รับการยกฐานะโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ขึ้นเป็นวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร ตาม พ.ร.บ. วิทยาลัยวิชาการศึกษา โรงเรียนประสานมิตร จึงเปลี่ยนเป็นโรงเรียนมัธยมสาธิต วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร เรียกย่อว่า ม.วศ. พ.ศ. ๒๕๐๘ โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารพร้อมกัน ๕ หลัง สร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๐๙ พ.ศ. ๒๕๐๙ กระทรวงศึกษาธิการ ได้อนุมัติให้โรงเรียนมัธยมสาธิต เป็น "โรงเรียนมัธยมแบบประสม" แห่งแรกของกรุงเทพมหานคร เปิดสอนวิชาการต่างๆ หลายสายวิชา ตามความต้องการของ ผู้เรียน ผู้เรียนมีโอกาสเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถ และความพอใจ ผลการเรียนการสอน "มัธยมแบบประสม" นี้ ทำให้กระทรวงศึกษาธิการหันมาสนใจจัดตั้งโรงเรียนมัธยมแบบประสมทั้งในกรุงเทพมหานคร (ที่โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย) และต่างจังหวัดอีกเกือบ ๕๐ โรง ทดลองวิธีการอยู่เกือบ ๑๐ ปี จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงระบบการศึกษาระดับมัธยมครั้งใหญ่ คือ หลักสูตรมัธยมศึกษาพุทธศักราช ๒๕๒๑ January 15, 1974, the Council of Ministers as a University College of education. Sri นคริน thonwi and published in the Government Gazette, when the rot, so June 28, 1974. The school boasts a demonstration high school demonstration srinakharinwirot University. Use a short name that m. มศว., based on the short name of the University and takes the form of a University seal coat of the school. วันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๓๔ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประกาศรวมโรงเรียนประถมสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร และมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เป็นโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร วันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๓๘ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประกาศให้แยกการบริหารโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร เป็นฝ่ายมัธยม และฝ่ายประถม โดยให้มี ผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) และผู้อำนวยการ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม) เป็นผู้บริหารงานของแต่ละโรงเรียนพ.ศ. ๒๕๓๙ ทางโรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ ๘ ชั้น พื้นที่ ๑๖,๐๐๐ ตารางเมตร งบประมาณค่าก่อสร้าง ๑๔๐ ล้านบาท เป็นเงินที่ได้รับการจัดสรรจากสำนักงบประมาณ ๑๑๐ ล้านบาท และทางโรงเรียนหาสมทบอีก ๓๐ ล้านบาท จัดพิธีวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๓๙ โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์เจ้าอาวาสวัดสระเกศ กรุงเทพมหานคร เป็นองค์ประธานในพิธีวางศิลาฤกษ์ และในการก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์หลังนี้ต้องรื้ออาคารเดิมออก ๓ หลัง คือ อาคาร ๓ อาคาร ๔ และอาคารพยาบาล เมื่อก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์หลังนี้แล้วเสร็จจะต้องรื้ออาคาร ๑ ออก เพื่อปรับปรุงสภาพภูมิสถาปัตย์ให้สวยงามร่มรื่นพ.ศ. ๒๕๔๔ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จมาเป็นประธานในพิธีเปิดอาคารอเนกประสงค์ ๘ ชั้น ซึ่งได้ชื่อจากการประกวดโดยศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบันว่า “อาคารวิทยวิโรฒ” และทรงแสดงปาฐกถา เรื่อง “การศึกษาของผู้ด้อยโอกาส” ณ ห้องสมุด เมื่อวันที่ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๔พ.ศ. ๒๕๔๕ ทำพิธีเททองหล่อพระพุทธรูปประจำโรงเรียน “พระพุทธมงคลสาธุชนอภิวาทน์” และพระพุทธวรญาณ เจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร บรรจุพระบรมสารีริกธาตุที่ได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระสังฆราช ที่พระเกศ และทำพิธีเบิกพระเนตร เมื่อวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๕พ.ศ. ๒๕๔๘ โรงเรียนได้รับงบประมาณจากสำนักงบประมาณ เป็นเงินประมาณ ๑๒๕.๙๕ ล้านบาท เพื่อสร้างอาคารปฏิบัติการเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเรียนรู้ เป็นอาคารรูปตัว L โดยส่วนหน้ามี ๔ ชั้น ส่วนหลังมี ๙ ชั้น โรงเรียนจึงดำเนินการรื้ออาคารโรงอาหารและโรงฝึกพลศึกษาออก การก่อสร้างสิ้นสุดในเดือนธันวาคม ๒๕๕๐ รวมค่าก่อสร้างทั้งสิ้นประมาณ ๑๗๔ ล้านบาทพ.ศ. ๒๕๕๑ โรงเรียนได้รับพระราชทานนามอาคารหลังใหม่ จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยมีหนังสือจากสำนักงานเลขาธิการพระบรมมหาราชวัง ให้ใช้ชื่อ “อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐” โดยมีตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระ-ชนมพรรษา ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ เมื่อวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๓ โรงเรียนได้เปิดหลักสูตรนานาชาติ สาธิต มศว ประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) เปิดสอนนักเรียนชั้นปีที่ ๘-๑๓ (Year 8-13) ซึ่งการเรียนการสอนใช้หลักสูตร IGCSE ของประเทศอังกฤษ

พ.ศ. ๒๕๕๔ โรงเรียนได้เปิดศูนย์ต้นแบบพัฒนาศักยภาพเด็กที่มีความต้องการพิเศษ โดยในปีแรกนี้รับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ จำนวน ๑๐ คน เข้าเรียนร่วมกับนักเรียนปกติและแยกเรียนในบางวิชาตามศักยภาพของแต่ละคน ซึ่งโครงการนี้จะเป็นต้นแบบให้แก่โรงเรียนอื่นๆ ที่มีนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษอยู่ในโรงเรียน

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: