การดูแลปฏิบัติตนสำหรับผู้ป่วยตับแข็ง เนื่องจากโรคตับแข็งเป็นโรคเรื้อรั การแปล - การดูแลปฏิบัติตนสำหรับผู้ป่วยตับแข็ง เนื่องจากโรคตับแข็งเป็นโรคเรื้อรั อังกฤษ วิธีการพูด

การดูแลปฏิบัติตนสำหรับผู้ป่วยตับแข็


การดูแลปฏิบัติตนสำหรับผู้ป่วยตับแข็ง
เนื่องจากโรคตับแข็งเป็นโรคเรื้อรังที่ต้องการการดูแลรักษาต่อเนื่อง จึงมีความจำเป็นที่จะต้องได้รับความร่วมมือทั้งจากทางแพทย์ที่ดูแลรักษา และตัวผู้ป่วยเอง ดังนั้นในฉบับนี้จะเน้นถึงการปฏิบัติตนของผู้ป่วยเพื่อช่วยในการดูแลรักษาภาวะตับแข็งมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ผู้ป่วยตับแข็งมักจะมีปัญหาเรื่องการรับประทานอาหาร และมักจะมีภาวะขาดสารอาหารต่างๆ ร่วมด้วย ซึ่งการขาดสารอาหารนี้จะยิ่งทำให้ภาวะตับแข็งของผู้ป่วยแย่ลง โดยทั่วไปถ้าผู้ป่วยที่เป็นตับแข็งที่ยังไม่มีภาวะตับวาย การรับประทานอาหารก็มักจะไม่ต่างจากคนปกติ แต่ในผู้ป่วยที่มีภาวะการทำงานของตับบกพร่องแล้ว หรือมีภาวะตับวายเรื้อรังจะมีปัญหาการรับประทานอาหาร ผู้ป่วยเหล่านี้มักจะมีโปรตีนในเลือดต่ำ และมีน้ำในช่องท้อง ซึ่งผู้ป่วยต้องการอาหารโปรตีนประมาณ 1.5 ถึง 2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน แต่ในผู้ป่วยบางรายจะไม่สามารถรับประทานอาหารที่มีโปรตีนได้สูงถึงขนาดที่ต้องการได้ เนื่องจากผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อยลง และที่สำคัญผู้ป่วยตับแข็งอาจจะมีภาวะอาการทางสมอง ซึ่งการรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูงเข้าไปจะทำให้เกิดอาการทางสมองมากขึ้น ทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถทนรับประทานอาหารโปรตีนได้เพียงพอ โดยทั่วไปแล้วมักจะแนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีโปรตีนประมาณ 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน และเน้นทำให้ทานอาหารจากพืช เช่น นมถั่วเหลือง เต้าหู้ ไข่ขาวเสริม นอกเหนือจากโปรตีนจากสัตว์ ในกรณีที่ผู้ป่วยมีปัญหาเรื่องโปรตีนในเลือดต่ำ และไม่สามารถที่จะรับประทานอาหารโปรตีนได้เพียงพอมักจะแนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารเสริมพิเศษสำหรับโรคตับเพิ่ม เพราะจะทำให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารโปรตีนอย่างเพียงพอ สารอาหารพิเศษนี้จะเป็นสารอาหารที่มีสัดส่วนของโปรตีนชนิดกิ่งมากกว่าอาหารที่มีอยู่ในธรรมชาติ สารอาหารพิเศษดังกล่าวเป็นสารสังเคราะห์ขึ้นเพื่อให้มีสัดส่วนของโปรตีนกิ่งมากเป็นพิเศษ จากการศึกษาพบว่าผู้ป่วยสามารถจะรับประทานโปรตีนชนิดนี้ได้ถึงระดับที่ร่างกายต้องการโดยที่ไม่เกิดอาการทางสมอง แต่ปัญหาที่สำคัญของอาหารเสริมนี้ก็คือ รสชาติที่ไม่อร่อยและมีราคาค่อนข้างแพง สิ่งสำคัญต่อไปคือมีการศึกษาพบว่าในผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็งมากแล้ว การที่ไม่ได้รับประทานอาหารเพียง 1 คือ อาจจะเท่ากับคนปกติที่ไม่ได้รับประทานอาหารนานถึง 3 วัน ดังนั้นมักจะแนะนำผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็งให้ทานอาหารที่มีจำนวนมื้อมากกว่าคนปกติ โดยทั่วไปแล้วจะแนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหาร 4 มื้อ คือ มื้อเช้า มื้อเที่ยง มื้อเย็น และมื้อค่ำ และแนะนำให้รับประทานอาหารว่างในช่วงสายและช่วงบ่าย ซึ่งก็มักจะเป็นการดี เนื่องจากผู้ป่วยที่เป็นตับแข็งที่มีน้ำในช่องท้องมักมีภาวะท้องอืดทำให้รับประทานอาหารครั้งละมากๆ ไม่ได้ จึงเป็นการดีที่จะรับประทานอาหารจำนวนต่อมื้อให้น้อยลงแต่บ่อยขึ้นเป็นวันละ 4-7 มื้อต่อวัน กล่าวโดยสรุป คือ ควรแนะนำผู้ป่วยตับแข็งที่มีการทำงานของตับไม่ปกติแล้วให้รับประทานอาหารอย่างน้อยประมาณ 4-7 มื้อต่อวัน พยายามทานอาหารที่มีโปรตีนจากสัตว์ไม่เกิน 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน และเพิ่มโปรตีนที่ได้จากพืชและไข่ขาว ส่วนอาหารเสริมพิเศษแนะนำให้ปรึกษาาแพทย์ที่ดูแลก่อนว่ามีความจำเป็นหรือไม่ และควรรับประทานอย่างไร นอกจากนี้ผู้ป่วยตับแข็งมักมีภาวะขาดพวกวิตามินต่างๆ จึงแนะนำให้รับประทานวิตามันเสริมตามคำแนะนำของแพทย์ด้วย เพราะการรับประทานวิตามินบางชนิดที่ละลายในไขมัน เช่น วิตามินเอ ถ้ารับประทานมากเกินไปอาจมีผลต่อตับได้ สำหรับผู้ป่วยตับแข็งที่มีภาวะบวมหรือมีน้ำในช่องท้องควรหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารเค็ม นอกจากนี้ผู้ป่วยตับแข็งควรหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีไขมันสูงมากจนเกินไป หลีกเลี่ยงอาหารบางชนิดที่อาจปนเปื้อนเชื้อราที่สร้าง สารอะฟาท๊อกซิน (Aflatoxin) ซึ่งก่อให้เกิดมะเร็งมากยิ่งขึ้น อาหารพวกนี้ได้แก่ ถั่วลิสงตากแห้ง ข้าวโพดแห้งและพริกป่น
ผู้ป่วยที่เป็นโรคตับเรื้อรังหรือผู้ป่วยตับแข็งควรหลีกเลี่ยงการดื่มสุรา หรือของมึนเมาที่มีแอลกอฮอล์ เนื่องจากแอลกอฮอล์สามารถทำให้เกิดภาวะตับอักเสบ และภาวะตับแข็งได้ จึงควรหลีกเลี่ยงสารต่างๆ ที่มีแอลกอฮอล์อยู่
นอกจากนี้ผู้ป่วยตับแข็งควรหลีกเลี่ยงการรับประทานยาที่ไม่จำเป็น รวมทั้งยาสมุนไพร ยาต้ม ยาลูกกลอน เพราะยาหลายชนิดจะถูกทำลายหรือผ่านที่ตับ และยังมียาหลายชนิดมากที่ทำให้ตับอักเสบได้ ดังนั้นควรหลีกเลี่ยงการรับประทานยาและสารเคมีที่ไม่จำเป็น ยาแก้ปวดลดไข้พาราเซตตามอลยังเป็นยาที่มีความปลอดภัยในผู้ป่วยที่เป็นโรคตับแข็ง อย่างไรก็ตาามพบว่าผู้ป่วยที่มีตับอักเสบเรื้อรังหรือมีตับแข็งจะไวต่อการเกิดตับอักเสบจากยาแก้ปวดลดไข้พาราเซตตามอลได้ง่ายกว่าคนปกติ จึงแนะนำให้รับประทานเพียงครั้งละ 1 เม็ดขนาด 500 มิลลิกรัม และรับประทานซ้ำได้ทุก 4 - 6 ชั่วโมง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การดูแลปฏิบัติตนสำหรับผู้ป่วยตับแข็ง เนื่องจากโรคตับแข็งเป็นโรคเรื้อรังที่ต้องการการดูแลรักษาต่อเนื่อง จึงมีความจำเป็นที่จะต้องได้รับความร่วมมือทั้งจากทางแพทย์ที่ดูแลรักษา และตัวผู้ป่วยเอง ดังนั้นในฉบับนี้จะเน้นถึงการปฏิบัติตนของผู้ป่วยเพื่อช่วยในการดูแลรักษาภาวะตับแข็งมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผู้ป่วยตับแข็งมักจะมีปัญหาเรื่องการรับประทานอาหาร และมักจะมีภาวะขาดสารอาหารต่างๆ ร่วมด้วย ซึ่งการขาดสารอาหารนี้จะยิ่งทำให้ภาวะตับแข็งของผู้ป่วยแย่ลง โดยทั่วไปถ้าผู้ป่วยที่เป็นตับแข็งที่ยังไม่มีภาวะตับวาย การรับประทานอาหารก็มักจะไม่ต่างจากคนปกติ แต่ในผู้ป่วยที่มีภาวะการทำงานของตับบกพร่องแล้ว หรือมีภาวะตับวายเรื้อรังจะมีปัญหาการรับประทานอาหาร ผู้ป่วยเหล่านี้มักจะมีโปรตีนในเลือดต่ำ และมีน้ำในช่องท้อง ซึ่งผู้ป่วยต้องการอาหารโปรตีนประมาณ 1.5 ถึง 2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน แต่ในผู้ป่วยบางรายจะไม่สามารถรับประทานอาหารที่มีโปรตีนได้สูงถึงขนาดที่ต้องการได้ เนื่องจากผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อยลง และที่สำคัญผู้ป่วยตับแข็งอาจจะมีภาวะอาการทางสมอง ซึ่งการรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูงเข้าไปจะทำให้เกิดอาการทางสมองมากขึ้น ทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถทนรับประทานอาหารโปรตีนได้เพียงพอ โดยทั่วไปแล้วมักจะแนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีโปรตีนประมาณ 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน และเน้นทำให้ทานอาหารจากพืช เช่น นมถั่วเหลือง เต้าหู้ ไข่ขาวเสริม นอกเหนือจากโปรตีนจากสัตว์ ในกรณีที่ผู้ป่วยมีปัญหาเรื่องโปรตีนในเลือดต่ำ และไม่สามารถที่จะรับประทานอาหารโปรตีนได้เพียงพอมักจะแนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารเสริมพิเศษสำหรับโรคตับเพิ่ม เพราะจะทำให้ผู้ป่วยได้รับสารอาหารโปรตีนอย่างเพียงพอ สารอาหารพิเศษนี้จะเป็นสารอาหารที่มีสัดส่วนของโปรตีนชนิดกิ่งมากกว่าอาหารที่มีอยู่ในธรรมชาติ สารอาหารพิเศษดังกล่าวเป็นสารสังเคราะห์ขึ้นเพื่อให้มีสัดส่วนของโปรตีนกิ่งมากเป็นพิเศษ จากการศึกษาพบว่าผู้ป่วยสามารถจะรับประทานโปรตีนชนิดนี้ได้ถึงระดับที่ร่างกายต้องการโดยที่ไม่เกิดอาการทางสมอง แต่ปัญหาที่สำคัญของอาหารเสริมนี้ก็คือ รสชาติที่ไม่อร่อยและมีราคาค่อนข้างแพง สิ่งสำคัญต่อไปคือมีการศึกษาพบว่าในผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็งมากแล้ว การที่ไม่ได้รับประทานอาหารเพียง 1 คือ อาจจะเท่ากับคนปกติที่ไม่ได้รับประทานอาหารนานถึง 3 วัน ดังนั้นมักจะแนะนำผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็งให้ทานอาหารที่มีจำนวนมื้อมากกว่าคนปกติ โดยทั่วไปแล้วจะแนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานอาหาร 4 มื้อ คือ มื้อเช้า มื้อเที่ยง มื้อเย็น และมื้อค่ำ และแนะนำให้รับประทานอาหารว่างในช่วงสายและช่วงบ่าย ซึ่งก็มักจะเป็นการดี เนื่องจากผู้ป่วยที่เป็นตับแข็งที่มีน้ำในช่องท้องมักมีภาวะท้องอืดทำให้รับประทานอาหารครั้งละมากๆ ไม่ได้ จึงเป็นการดีที่จะรับประทานอาหารจำนวนต่อมื้อให้น้อยลงแต่บ่อยขึ้นเป็นวันละ 4-7 มื้อต่อวัน กล่าวโดยสรุป คือ ควรแนะนำผู้ป่วยตับแข็งที่มีการทำงานของตับไม่ปกติแล้วให้รับประทานอาหารอย่างน้อยประมาณ 4-7 มื้อต่อวัน พยายามทานอาหารที่มีโปรตีนจากสัตว์ไม่เกิน 1 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน และเพิ่มโปรตีนที่ได้จากพืชและไข่ขาว ส่วนอาหารเสริมพิเศษแนะนำให้ปรึกษาาแพทย์ที่ดูแลก่อนว่ามีความจำเป็นหรือไม่ และควรรับประทานอย่างไร นอกจากนี้ผู้ป่วยตับแข็งมักมีภาวะขาดพวกวิตามินต่างๆ จึงแนะนำให้รับประทานวิตามันเสริมตามคำแนะนำของแพทย์ด้วย เพราะการรับประทานวิตามินบางชนิดที่ละลายในไขมัน เช่น วิตามินเอ ถ้ารับประทานมากเกินไปอาจมีผลต่อตับได้ สำหรับผู้ป่วยตับแข็งที่มีภาวะบวมหรือมีน้ำในช่องท้องควรหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารเค็ม นอกจากนี้ผู้ป่วยตับแข็งควรหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีไขมันสูงมากจนเกินไป หลีกเลี่ยงอาหารบางชนิดที่อาจปนเปื้อนเชื้อราที่สร้าง สารอะฟาท๊อกซิน (Aflatoxin) ซึ่งก่อให้เกิดมะเร็งมากยิ่งขึ้น อาหารพวกนี้ได้แก่ ถั่วลิสงตากแห้ง ข้าวโพดแห้งและพริกป่น ผู้ป่วยที่เป็นโรคตับเรื้อรังหรือผู้ป่วยตับแข็งควรหลีกเลี่ยงการดื่มสุรา หรือของมึนเมาที่มีแอลกอฮอล์ เนื่องจากแอลกอฮอล์สามารถทำให้เกิดภาวะตับอักเสบ และภาวะตับแข็งได้ จึงควรหลีกเลี่ยงสารต่างๆ ที่มีแอลกอฮอล์อยู่ นอกจากนี้ผู้ป่วยตับแข็งควรหลีกเลี่ยงการรับประทานยาที่ไม่จำเป็น รวมทั้งยาสมุนไพร ยาต้ม ยาลูกกลอน เพราะยาหลายชนิดจะถูกทำลายหรือผ่านที่ตับ และยังมียาหลายชนิดมากที่ทำให้ตับอักเสบได้ ดังนั้นควรหลีกเลี่ยงการรับประทานยาและสารเคมีที่ไม่จำเป็น ยาแก้ปวดลดไข้พาราเซตตามอลยังเป็นยาที่มีความปลอดภัยในผู้ป่วยที่เป็นโรคตับแข็ง อย่างไรก็ตาามพบว่าผู้ป่วยที่มีตับอักเสบเรื้อรังหรือมีตับแข็งจะไวต่อการเกิดตับอักเสบจากยาแก้ปวดลดไข้พาราเซตตามอลได้ง่ายกว่าคนปกติ จึงแนะนำให้รับประทานเพียงครั้งละ 1 เม็ดขนาด 500 มิลลิกรัม และรับประทานซ้ำได้ทุก 4 - 6 ชั่วโมง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Care for patients with liver cirrhosis. BehaveBecause the liver cirrhosis is a chronic disease requiring care continuum. Therefore, it is necessary to get cooperation from both the medical care and the patient. So in this thesis will focus on the practice of the patient to assist in the treatment of cirrhosis is more efficient.Cirrhosis patients often have trouble eating. And often the malnutrition. In which malnutrition is made of ตับแข็งของ patients worse. In general, if patients with cirrhosis of liver failure, and no Eating is not different from normal people. But in patients of impaired liver function. Or condition of chronic liver failure have trouble eating. These patients often have low blood protein and water is in the abdomen, which patients need food protein of about 1.5 to 2 g body weight 1 kg per day. But in some patients will not be able to eat a high protein to want. Because the patients to eat less. The cirrhosis patients may have symptoms of brain The eating high protein in brain condition more and more. The patient cannot tolerate eating enough protein In general, often advise patients to eat protein, about 1 g body weight 1 kg per day. And focus on the food from plants, such as soy milk, tofu, egg white, accessories, in addition to protein from animal. If the patient has problems with low blood protein And not be able to eat enough protein often recommend to patients to eat special accessories for liver disease. It made the patients receive nutrients adequate protein. This special nutrient is a nutrient that is the proportion of protein branches than foods available in nature. Special nutrients, such as synthetic up to a proportion of the protein branches specifically. The study found that patients can eat protein species.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: