สังคมวุ่นวาย สังคมจะแตกแยก ก็เพราะมีมนุษย์หลายพ่อพันธุ์แม่มาอยู่รวมกัน การแปล - สังคมวุ่นวาย สังคมจะแตกแยก ก็เพราะมีมนุษย์หลายพ่อพันธุ์แม่มาอยู่รวมกัน อังกฤษ วิธีการพูด

สังคมวุ่นวาย สังคมจะแตกแยก ก็เพราะม

สังคมวุ่นวาย สังคมจะแตกแยก ก็เพราะมีมนุษย์หลายพ่อพันธุ์แม่มาอยู่รวมกัน ต่างคนต่างความคิด ต่างมีความเชื่อเป็นอัตตา มองในอีกแง่... การที่สังคมจะสงบ ร่มเย็น ผู้คนมีความสามัคคี ก็เพราะมนุษย์หลายพ่อพันธุ์แม่อีกนั่นเองต้องเป็นผู้สร้าง แม้จะต่างความคิด ความเชื่อ แต่ก็เรียกได้ว่ามีความคิดที่ดี มีความเชื่อที่ดี

** “มนุษย์” กับ “ความเชื่อ”

“ความเชื่อ” เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ทำให้ผู้คนเกิดการยอมรับ เกิดความคิดที่แตกต่างและเกี่ยวโยงไปถึงการดำเนินวิถีชีวิตที่แตกต่างกัน นั่นเพราะความเชื่อมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิต เช่นนั้นแล้ว ความเชื่อก็เปรียบเสมือน “หนทาง” หนึ่งที่จะชี้ถูกชี้ผิดแก่ชีวิตของมนุษย์ได้

พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี หรือที่รู้จักกันดีในนาม ว.วชิรเมธี พระนักคิด นักเขียน ที่เปลี่ยนยุคธรรมะคือยาขม ให้กลายเป็นยุคธรรมะคือช็อกโกแลต พระอาจารย์มาเล่าเรื่องสนุกๆ ที่เกี่ยวกับความเชื่อเอาไว้หลายเรื่อง โดยได้ข้อสรุปว่า มนุษย์ยึดติดกับความเชื่อใดๆ ก็จะเกี่ยวพันโยงใยไปในทิศทางนั้นๆ

ครั้งหนึ่งมีชาวบ้านนั่งรถปิกอัพมาหาท่านที่วัดป่า จ.เชียงราย บรรจงกราบอย่างดี แล้วก็มาขอให้ช่วยสงเคราะห์ เอา 2 ตัวพอ ไม่ต้องถึง 7 ในขณะนั้นท่านทำงานสร้างกุฏิจนมือแตก จึงชูมือให้ดูแล้วบอกว่า “ถ้าโยมทำงานจนมือแตกเหมือนพวกอาตมา โยมจะไม่จน” เท่านั้น ผู้มาเยือนแปลกหน้าก็ลากลับแบบทันควัน

พระมหาวุฒิชัยก็พานเข้าใจว่า “สงสัยโยมโกรธที่ไปพูดแทงใจดำและก็ตรงเกินไป คือสอนเขาตรงๆ ซึ่งๆ หน้า เป็นการสอนธรรมะกันตรงๆ คือทำงานให้มือมันแตกแล้วจะรวย แต่มนุษย์พอมีความเชื่อแล้วมันจะกำหนดความเชื่อคน เราสอนธรรมะโยมโครมๆ มันก็ไม่ฟัง แต่เขามีชุดความเชื่อของเขา เอาธรรมะที่เราให้ตรงๆ ไปถอดรหัส (ลองทายกันเอาเองว่าเลขอะไร) ถ้าเราเชื่ออย่างไรความเชื่อจะกำหนดวิถีชีวิตของเรา ความเชื่อจึงเป็นสิ่งที่สำคัญมากๆ ต่อชีวิตของเรา”

การที่สังคมหนึ่งๆ มีหลายความเชื่อ ย่อมเป็นทางออกที่ดีกว่ามีเพียงความเชื่อเดียว ซึ่งพระมหาวุฒิชัยให้อรรถาธิบายว่า “เชื่อไหมสังคมใดก็ตามที่มีความหลากหลายทางความเชื่อ และคนที่มีความหลากหลายทางความเชื่อสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ นั่นคือสังคมที่มีเสน่ห์มาก ประเทศไหนก็ตามที่มีระบบความเชื่อเดียว ประเทศนั้นจะเป็นประทศที่อึดอัดขัดข้อง ต่างจากประเทศที่คนมีความหลากหลายทางความเชื่อ ซึ่งเหมือนกับว่าเราไปยืนอยู่ในที่โล่งแจ้งที่มีอากาศหายใจได้อย่างโปร่งโล่ง ฉะนั้น ความหลากหลายทางความเชื่อจึงเป็นเสน่ห์ของประเทศที่เจริญแล้ว”

สำหรับประเทศไทย นับเป็นประเทศที่มีพหุความเชื่อ แต่แม้ว่าเราจะยืนอยู่ในอาณาเขตที่สามารถเลือกเชื่อได้ หรือแม้พุทธศาสนาจะยอมรับว่ามนุษย์มีความหลากหลายทางความเชื่อได้ แต่พระพุทธเจ้าก็ไม่ปล่อยให้มนุษย์เชื่ออะไรก็ได้ ทรงแนะนำชุดคำสอนชุดหนึ่ง แล้วตรัสว่ามนุษย์ควรจะเชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ ทรงใช้คำว่า “ควรจะ” ไม่ได้ใช้คำว่า “ต้อง”

“พระพุทธเจ้าขณะทรงแสดงกัณฑ์แรกที่เรียกว่า ปฐมเทศนา สิ่งแรกที่สอนหลังตรัสรู้ นั่นคือเรื่องของ สัมมาทิฐิ การมีระบบความเชื่อที่ถูกต้อง พอเรามีระบบความเชื่อที่ถูกต้อง ชีวิตของเราก็จะถูกต้องทันที

ทำนองกลับกัน ถ้าเรามีความเชื่อที่ไม่ถูกต้อง ชีวิตของเราก็จะกลับตาลปัตรทันทีเช่นเดียวกัน ฉะนั้น เมื่อพูดถึงความเชื่อ พุทธศาสนาจะยอมรับว่า ความหลากหลายทางความเชื่อเป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งของมนุษย์ แต่พระพุทธเจ้าก็ไม่ได้ใจกว้างจนไม่ได้จัดชุดความเชื่อที่ดีที่สุดเอาไว้ให้ ชุดความเชื่อที่พระพุทธเจ้าได้จัดสรรไว้ให้นั้นมีอยู่ 1 ชุด ชุดความเชื่อที่พระพุทธเจ้าบอกว่าเป็นชุดความเชื่อที่ดี ควรเจริญรอยตามนั้น อย่างน้อยมีอยู่ 4 เรื่อง ขณะเดียวกันก็มีชุดความเชื่ออยู่ 3 เรื่องที่พระพุทธเจ้าบอกว่าพึงระวัง” พระมหาวุฒิชัย กล่าว

**เส้นบางๆ ระหว่างความเชื่อที่ “ถูก-ผิด”

ชุดความเชื่อที่พึงระวัง

พระพุทธเจ้าได้จัดสรรไว้ 3 ข้อ

1.“เชื่อกรรมเก่า” เกิดมาจนก็บอกว่ากรรมเก่า เกิดมาไม่หล่อ ไม่สวย ก็บอกว่ากรรมเก่า ทั้งๆ ที่เพื่อนบอกว่าเดี๋ยวนี้สวยด้วยมีดหมอได้เธอก็ไม่ปรับปรุง ยอมรับกรรมเก่าตลอดเวลา รัฐบาลคอร์รัปชันก็บอกว่ากรรมของเรา

2.“เชื่อเทพเจ้าต่างๆ” ทุกสิ่งทุกอย่างอยู่ในเงื้อมมือของเทพเจ้าทั้งหมด ชีวิตจะเป็นอย่างไรรอให้เทพบันดาล ถ้าเรารอให้เทพบันดาลมนุษย์จะต้องอ้อนเทพ คนไทยเลยเป็นคนขี้อ้อน

3.“เชื่อว่าแล้วแต่ชะตากรรมจะพาให้เป็นไป” เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ลัทธิบังเอิญ” อะไรจะเกิดไม่รู้หรอก ทุกอย่างบังเอิญหมดเลย ปฏิวัติก็บังเอิญ คอร์รัปชันก็บังเอิญ

นี่คือ 3 ลัทธิที่พระพุทธศาสนาบอกให้พึงระวัง เพราะว่ามันเป็นลัทธิที่ทำให้มนุษย์ “ไม่รับผิดชอบตัวเอง” เช่นหากเราเชื่อมั่นในกรรมเก่า 100 เปอร์เซ็นต์ เราจะกลายเป็นมนุษย์พันธุ์ยอมจำนน ไม่ลุกขึ้นสู้

ขณะที่ชุดความเชื่อแบบเทพเจ้าทำให้เราไม่เชื่อมั่นในตนเอง แล้วยอมมอบกายถวายชีวิตให้เทพ และชุดความเชื่อแบบ “ลัทธิบังเอิญ” ทำให้เราเป็นคนที่หลักลอยและคอยงาน ไม่คิดที่จะลุกขึ้นมาพัฒนาอะไรทั้งสิ้น เพราะทุกสิ่งทุกอย่างมันไม่มีที่มาที่ไป

ชุดความเชื่อที่ดี

ชุดความเชื่อที่พระพุทธศาสนาบอกว่า เราควรจะเชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อในทัศนะของพุทธ มีอย่างน้อย 4 เรื่อง

1.“เชื่อในระบบเหตุปัจจัย” สอดคล้องกับระบบความเชื่อที่นักวิทยาศาสตร์เชื่อกันอยู่ทุกวันนี้ นั่นคือ เชื่อว่าเบื้องหลังปรากฏการณ์ทุกอย่างในโลกล้วนมีระเบียบวาระของมันเอง เช่น โยนหินลงน้ำ ไม่ว่าก้อนเล็กก้อนใหญ่ หินต้องจม นี่เป็นกฎของธรรมชาติ หรือภาษาพระเราเรียกว่า ธรรมนิยาม คือ กฎของระบบแห่งเหตุและผล ทุกสิ่งทุกอย่างมีระบบเหตุและผลอยู่ในตัวของมันเอง

ถ้าเราเชื่ออย่างนี้เราจะกลายเป็น “ปัญญาชน” เพราะเราจะมองอะไรในลักษณะมีที่มาและที่ไป ไม่มองอะไรในลักษณะเป็นเสี้ยวเป็นเศษและขาดเป็นช่วงๆ เราจะกลายเป็นมนุษย์ที่ไม่คิดข้ามช็อต ไม่คิดตัดตอน เราจะมองอะไรในลักษณะมีที่มาที่ไปเสมอ และคิดต่อเนื่องโยงใยเป็นสายสัมพันธ์ นี่เป็นวิธีคิดวิธีเชื่อแบบวิทยาศาสตร์ที่สอดคล้องกับพระพุทธศาสนา

2.“ชุดความเชื่อในศักยภาพของมนุษย์” พระพุทธเจ้าบอกว่า มนุษย์มีศักยภาพพิเศษอยู่ชนิดหนึ่ง นั่นคือศักยภาพในศาสตร์แห่งการเรียนรู้ หรือรู้จักฝึกฝนพัฒนา มนุษย์ทุกคน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The social chaos there is disunity because society is a human mother comes in several varieties, father located person thought to have believed atta in a. .. The society is a peaceful day. People have many parents, because of the unity of human and renders a template for another species to create varied ideas of faith, but it is known that there is a good idea. There is good faith. ** "Man" with "faith." “ความเชื่อ” เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ทำให้ผู้คนเกิดการยอมรับ เกิดความคิดที่แตกต่างและเกี่ยวโยงไปถึงการดำเนินวิถีชีวิตที่แตกต่างกัน นั่นเพราะความเชื่อมีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิต เช่นนั้นแล้ว ความเชื่อก็เปรียบเสมือน “หนทาง” หนึ่งที่จะชี้ถูกชี้ผิดแก่ชีวิตของมนุษย์ได้ พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี หรือที่รู้จักกันดีในนาม ว.วชิรเมธี พระนักคิด นักเขียน ที่เปลี่ยนยุคธรรมะคือยาขม ให้กลายเป็นยุคธรรมะคือช็อกโกแลต พระอาจารย์มาเล่าเรื่องสนุกๆ ที่เกี่ยวกับความเชื่อเอาไว้หลายเรื่อง โดยได้ข้อสรุปว่า มนุษย์ยึดติดกับความเชื่อใดๆ ก็จะเกี่ยวพันโยงใยไปในทิศทางนั้นๆ ครั้งหนึ่งมีชาวบ้านนั่งรถปิกอัพมาหาท่านที่วัดป่า จ.เชียงราย บรรจงกราบอย่างดี แล้วก็มาขอให้ช่วยสงเคราะห์ เอา 2 ตัวพอ ไม่ต้องถึง 7 ในขณะนั้นท่านทำงานสร้างกุฏิจนมือแตก จึงชูมือให้ดูแล้วบอกว่า “ถ้าโยมทำงานจนมือแตกเหมือนพวกอาตมา โยมจะไม่จน” เท่านั้น ผู้มาเยือนแปลกหน้าก็ลากลับแบบทันควัน The victory qualified the prerogative, he suspected that "angry Phan to speak to mind, too, is the direct and teach him a lesson straight sueng clips straight is, hands together, it's different, but there are enough human belief and then it determines who we trust to teach morals, he does it but he khrom has a set of morals that he took us straight to decode (guess what that number kanao) However, if we believe in our way of life will be defined. Trust is very important in our lives. " การที่สังคมหนึ่งๆ มีหลายความเชื่อ ย่อมเป็นทางออกที่ดีกว่ามีเพียงความเชื่อเดียว ซึ่งพระมหาวุฒิชัยให้อรรถาธิบายว่า “เชื่อไหมสังคมใดก็ตามที่มีความหลากหลายทางความเชื่อ และคนที่มีความหลากหลายทางความเชื่อสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ นั่นคือสังคมที่มีเสน่ห์มาก ประเทศไหนก็ตามที่มีระบบความเชื่อเดียว ประเทศนั้นจะเป็นประทศที่อึดอัดขัดข้อง ต่างจากประเทศที่คนมีความหลากหลายทางความเชื่อ ซึ่งเหมือนกับว่าเราไปยืนอยู่ในที่โล่งแจ้งที่มีอากาศหายใจได้อย่างโปร่งโล่ง ฉะนั้น ความหลากหลายทางความเชื่อจึงเป็นเสน่ห์ของประเทศที่เจริญแล้ว” สำหรับประเทศไทย นับเป็นประเทศที่มีพหุความเชื่อ แต่แม้ว่าเราจะยืนอยู่ในอาณาเขตที่สามารถเลือกเชื่อได้ หรือแม้พุทธศาสนาจะยอมรับว่ามนุษย์มีความหลากหลายทางความเชื่อได้ แต่พระพุทธเจ้าก็ไม่ปล่อยให้มนุษย์เชื่ออะไรก็ได้ ทรงแนะนำชุดคำสอนชุดหนึ่ง แล้วตรัสว่ามนุษย์ควรจะเชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อ ทรงใช้คำว่า “ควรจะ” ไม่ได้ใช้คำว่า “ต้อง” “พระพุทธเจ้าขณะทรงแสดงกัณฑ์แรกที่เรียกว่า ปฐมเทศนา สิ่งแรกที่สอนหลังตรัสรู้ นั่นคือเรื่องของ สัมมาทิฐิ การมีระบบความเชื่อที่ถูกต้อง พอเรามีระบบความเชื่อที่ถูกต้อง ชีวิตของเราก็จะถูกต้องทันที
ทำนองกลับกัน ถ้าเรามีความเชื่อที่ไม่ถูกต้อง ชีวิตของเราก็จะกลับตาลปัตรทันทีเช่นเดียวกัน ฉะนั้น เมื่อพูดถึงความเชื่อ พุทธศาสนาจะยอมรับว่า ความหลากหลายทางความเชื่อเป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งของมนุษย์ แต่พระพุทธเจ้าก็ไม่ได้ใจกว้างจนไม่ได้จัดชุดความเชื่อที่ดีที่สุดเอาไว้ให้ ชุดความเชื่อที่พระพุทธเจ้าได้จัดสรรไว้ให้นั้นมีอยู่ 1 ชุด ชุดความเชื่อที่พระพุทธเจ้าบอกว่าเป็นชุดความเชื่อที่ดี ควรเจริญรอยตามนั้น อย่างน้อยมีอยู่ 4 เรื่อง ขณะเดียวกันก็มีชุดความเชื่ออยู่ 3 เรื่องที่พระพุทธเจ้าบอกว่าพึงระวัง” พระมหาวุฒิชัย กล่าว

**เส้นบางๆ ระหว่างความเชื่อที่ “ถูก-ผิด”

ชุดความเชื่อที่พึงระวัง

พระพุทธเจ้าได้จัดสรรไว้ 3 ข้อ

1.“เชื่อกรรมเก่า” เกิดมาจนก็บอกว่ากรรมเก่า เกิดมาไม่หล่อ ไม่สวย ก็บอกว่ากรรมเก่า ทั้งๆ ที่เพื่อนบอกว่าเดี๋ยวนี้สวยด้วยมีดหมอได้เธอก็ไม่ปรับปรุง ยอมรับกรรมเก่าตลอดเวลา รัฐบาลคอร์รัปชันก็บอกว่ากรรมของเรา

2.“เชื่อเทพเจ้าต่างๆ” ทุกสิ่งทุกอย่างอยู่ในเงื้อมมือของเทพเจ้าทั้งหมด ชีวิตจะเป็นอย่างไรรอให้เทพบันดาล ถ้าเรารอให้เทพบันดาลมนุษย์จะต้องอ้อนเทพ คนไทยเลยเป็นคนขี้อ้อน

3.“เชื่อว่าแล้วแต่ชะตากรรมจะพาให้เป็นไป” เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ลัทธิบังเอิญ” อะไรจะเกิดไม่รู้หรอก ทุกอย่างบังเอิญหมดเลย ปฏิวัติก็บังเอิญ คอร์รัปชันก็บังเอิญ

นี่คือ 3 ลัทธิที่พระพุทธศาสนาบอกให้พึงระวัง เพราะว่ามันเป็นลัทธิที่ทำให้มนุษย์ “ไม่รับผิดชอบตัวเอง” เช่นหากเราเชื่อมั่นในกรรมเก่า 100 เปอร์เซ็นต์ เราจะกลายเป็นมนุษย์พันธุ์ยอมจำนน ไม่ลุกขึ้นสู้

ขณะที่ชุดความเชื่อแบบเทพเจ้าทำให้เราไม่เชื่อมั่นในตนเอง แล้วยอมมอบกายถวายชีวิตให้เทพ และชุดความเชื่อแบบ “ลัทธิบังเอิญ” ทำให้เราเป็นคนที่หลักลอยและคอยงาน ไม่คิดที่จะลุกขึ้นมาพัฒนาอะไรทั้งสิ้น เพราะทุกสิ่งทุกอย่างมันไม่มีที่มาที่ไป

ชุดความเชื่อที่ดี

ชุดความเชื่อที่พระพุทธศาสนาบอกว่า เราควรจะเชื่อในสิ่งที่ควรเชื่อในทัศนะของพุทธ มีอย่างน้อย 4 เรื่อง

1.“เชื่อในระบบเหตุปัจจัย” สอดคล้องกับระบบความเชื่อที่นักวิทยาศาสตร์เชื่อกันอยู่ทุกวันนี้ นั่นคือ เชื่อว่าเบื้องหลังปรากฏการณ์ทุกอย่างในโลกล้วนมีระเบียบวาระของมันเอง เช่น โยนหินลงน้ำ ไม่ว่าก้อนเล็กก้อนใหญ่ หินต้องจม นี่เป็นกฎของธรรมชาติ หรือภาษาพระเราเรียกว่า ธรรมนิยาม คือ กฎของระบบแห่งเหตุและผล ทุกสิ่งทุกอย่างมีระบบเหตุและผลอยู่ในตัวของมันเอง

ถ้าเราเชื่ออย่างนี้เราจะกลายเป็น “ปัญญาชน” เพราะเราจะมองอะไรในลักษณะมีที่มาและที่ไป ไม่มองอะไรในลักษณะเป็นเสี้ยวเป็นเศษและขาดเป็นช่วงๆ เราจะกลายเป็นมนุษย์ที่ไม่คิดข้ามช็อต ไม่คิดตัดตอน เราจะมองอะไรในลักษณะมีที่มาที่ไปเสมอ และคิดต่อเนื่องโยงใยเป็นสายสัมพันธ์ นี่เป็นวิธีคิดวิธีเชื่อแบบวิทยาศาสตร์ที่สอดคล้องกับพระพุทธศาสนา

2.“ชุดความเชื่อในศักยภาพของมนุษย์” พระพุทธเจ้าบอกว่า มนุษย์มีศักยภาพพิเศษอยู่ชนิดหนึ่ง นั่นคือศักยภาพในศาสตร์แห่งการเรียนรู้ หรือรู้จักฝึกฝนพัฒนา มนุษย์ทุกคน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Chaos in the society and society is broken, because humans many breed came together, each idea each have faith is the ego, look in terms...The society will be calm, peaceful people unity. Because of several humans breeder mother itself must be a creator despite having different ideas, beliefs, but that is a good idea, good faith.

* * "human" and "belief"

."Belief" is another factor that makes people's acceptance. The different ideas and connections to the different lifestyle. That's because beliefs influence the living so."The way" to point to be pointing in the wrong to the human life!
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: