เป้าหมายหลักของคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติอาเซียน คือ ร่วมกันจัดทำโครงกา การแปล - เป้าหมายหลักของคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติอาเซียน คือ ร่วมกันจัดทำโครงกา อังกฤษ วิธีการพูด

เป้าหมายหลักของคณะกรรมการจัดการภัยพ

เป้าหมายหลักของคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติอาเซียน คือ ร่วมกันจัดทำโครงการจัดการภัยพิบัติในภูมิภาคอาเซียน หรือ ASEAN Regional Programme on Disaster Management (ARPDM ) เพื่อกำหนดกรอบความร่วมมือ กำหนดยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการ กำหนดงานและกิจกรรมเร่งด่วนตามลำดับก่อนหลัง เพื่อลดภัยพิบัติ ดังนั้น งานสำคัญเร่งด่วนของ ARPDM คือ การสร้างกรอบการทำงานบริหารจัดการภัยพิบัติในภูมิภาคอาเซียน ภายใต้กรอบการดำเนินงานนี้จะมีการพัฒนาความตกลงในภูมิภาคว่าด้วยการจัดการภัยพิบัติ และการทำงานในภาวะฉุกเฉิน, พัฒนามาตรฐานการทำงานช่วยเหลือในยามเกิดภัยพิบัติตามความตกลง, เสริมสร้างประสิทธิภาพในการทำงานของคณะทำงานในแต่ละประเทศสมาชิกเพื่อช่วยเหลือแบบฉุกเฉินฉับพลันในยามเกิดภัยพิบัติ และ จัดกิจกรรมซ้อมรับมือภัยพิบัติในอาเซียนอย่างสม่ำเสมอ

          สำหรับแผนปฏิบัติการภายใต้ความตกลงฯ ของคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติกับอาเซียน ประจำปี พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2558  (ค.ศ. 2010- ค.ศ. 2015) ได้มีการกำหนดไว้ 4 ด้าน เพื่อการปฏิบัติให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันของชาติสมาชิก ได้แก่

           1. การประเมินความเสี่ยง การแจ้งเตือนล่วงหน้า

           2. การเตรียมความพร้อม และตอบโต้

           3. การป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติ 

           4. การบูรณะฟื้นฟู

          ทั้งนี้ คณะกรรมการอาเซียนได้ร่วมจัดทำแผนปฏิบัติการระดับภูมิภาค (ASEAN Regional Programme on Disaster Management-ARPDM) ขึ้น เพื่อเป็นกลไกผลักดันให้มีการดำเนินกิจกรรมที่สอดคล้องตามความตกลงอาเซียนดังกล่าว โดยได้ระบุกิจกรรมสำคัญเร่งด่วน 5 กิจกรรมแรก ได้แก่

           1. การจัดทำแผนปฏิบัติการด้านการเผชิญเหตุของภูมิภาคอาเซียน

           2. การปรับปรุงหลักสูตร และการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญ

           3. การพัฒนาเวปไซต์ ACDM และเวปไซต์ของหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการจัดการภัยพิบัติของประเทศสมาชิก และการจัดทำจดหมายข่าว (Newsletter) ด้านการจัดการภัยพิบัติ

           4. การแสวงหาหุ้นส่วนร่วมดำเนินการ การระดมทรัพยากรสนับสนุนด้านการเงินและทรัพยากร

           5. การจัดงานวันจัดการภัยพิบัติของอาเซียน การดำเนินการโครงการจัดพิมพ์เอกสาร การส่งเสริมการศึกษา และการเสริมสร้างจิตสำนึก

           สำหรับประเทศไทยได้ดำรงตำแหน่งประธานคณะกรรมการอาเซียนด้านการจัดการภัยพิบัติ ใน พ.ศ. 2555 และไทยก็ได้รับมอบหมายให้เป็นประเทศแกนนำในการดำเนินกิจกรรมลำดับที่ 5 คือ วันจัดการภัยพิบัติของอาเซียน (ASEAN Day for Disaster Management - ADDM) โดยได้มีการกำหนดให้ทุกวันพุธที่สองของเดือนตุลาคมของทุกปี เป็นวันจัดการภัยพิบัติของอาเซียน และมติที่ประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียน เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ.2548 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ได้กำหนดให้ประเทศสมาชิกอาเซียนทุกประเทศเข้าร่วมกิจกรรมวันจัดการภัยพิบัติของอาเซียน ทั้งในระดับประเทศและระดับภูมิภาค โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อหาแนวทาง การดำเนินการในการลดภัยพิบัติ และเตรียมการสำหรับการจัดกิจกรรมวันจัดการภัยพิบัติ รวมถึงการวางแผนงานสำหรับปีต่อไป

           นอกจากนี้ คณะกรรมการจัดการภัยพิบัติอาเซียน ยังได้ประสานความร่วมมือกับประเทศคู่เจรจา ได้แก่ จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลีใต้, ออสเตรเลีย, นิวซีแลนด์, อินเดีย, สหรัฐอเมริกา, รัสเซีย และองค์การระหว่างประเทศต่าง ๆ  ที่เป็นพันธมิตรร่วมงานกับอาเซียนในรูปแบบต่าง ๆ อีกด้วย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The main goal of the ASEAN Committee on disaster management is a disaster management programme collaboration in the regional ASEAN Regional Programme on Disaster Management, or ASEAN (ARPDM) to define the framework for cooperation strategies in management. Given the quick tasks and activities according to priority to disaster reduction, therefore, an important task of ARPDM is to create a framework of disaster management in the ASEAN region. Under this operation, there will be a framework to develop a regional disaster management agreement and work in emergency, standard development working in disaster aid, according to the agreement, strengthen the performance of the work in each of the Member countries to assist in a sudden emergency disaster and disaster response exercises in ASEAN activities on a regular basis. For action plan under toklong of the disaster management Committee on ASEAN. Annual 2553 (2010)-2558 (2015) (2010 – 2015) has been defined for 4, is in the same direction of the national members are as follows: 1. risk assessment notification in advance. 2. to prepare and respond 3. protection and disaster relief 4. the reconstruction All this. The Board of Directors of the ASEAN Joint action plan is a regional (ASEAN Regional Programme on Disaster Management-ARPDM) up to a push to continue activities that conform to the ASEAN Agreement mentioned. By pressing key 5. first activity: 1. the preparation of the action plan of the ASEAN region to endure. 2. to improve the curriculum and development specialists. 3. the development of the website and the website of ACDM agencies responsible for disaster management of the Member countries and the preparation of a newsletter (Newsletter), disaster management. 4. seek partnerships action. The mobilization of resources, support and financial resources. 5. the ASEAN disaster management day The project published a document action to promote education and strengthen the spirit. For a country of Thailand has served Chairman of the ASEAN disaster management in Thailand, 2555 (2012) and assigned to the core activities of the countries in the order of the ASEAN disaster management, 5; (ASEAN Day for Disaster Management-ADDM) is given every second Wednesday of the month of October of each year as the day of disaster management of the ASEAN and ASEAN ministerial-level decision. When the December 7 2548 (2005) at Phnom Penh Cambodia ASEAN member countries have been assigned to all countries to join ASEAN disaster management activities. Both at the national and regional levels, with the main objective to find ways. Actions to reduce disasters and prepare for disaster management activities, including planning for the next year. In addition, the ASEAN disaster management committee. Also, in cooperation with the Japan summits: South Korea, China, Australia, New Zealand, India, the United States, Russia, and the international organization, that is a partner with ASEAN in various formats.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
The main goal of the ASEAN Committee on Disaster Management was jointly prepared a project on disaster management in ASEAN or ASEAN Regional Programme on Disaster Management (ARPDM) to establish a framework for cooperation. Strategic management Urgent tasks and activities according to priority. To reduce disaster so important and urgent task is to create a framework ARPDM of disaster management in the region. Under the framework of this operation will be the development of a regional agreement on disaster management. And working in emergencies, development of standard operating aid in times of disaster, under the agreement, enhancing the performance of the work in each Member State to help a sudden emergency in times of disaster and activities to practice disaster response. In keeping ASEAN           Plan of Action for under the Agreement. ASEAN Committee on Disaster Management for the year 2553 - 2558 (AD 2010-AD 2015) has defined four areas for action to be in the same direction. The members include            : 1. Risk Assessment. Notifications            second. Preparedness and response;            3. protection and disaster             4. The reconstruction of           the Committee co-ASEAN Regional Action Plan (ASEAN Regional Programme on Disaster Management-ARPDM) as a mechanism for driving the implementation of activities in accordance with the ASEAN Agreement. The activities have identified five priority activities include:            1. The action plan of the response of the region            2. The curriculum And the development of specialist            third. ACDM development site and the website of the agency responsible for disaster management in the Member States. And the preparation of newsletters (Newsletter) disaster management            4. To seek co-operation partner Mobilizing financial support and resources            5. The organizers of the ASEAN on disaster management. Action Project published documents. Further Education And enhancing awareness            for Thailand had served as Chair of ASEAN Committee on Disaster Management in Thailand since 2555 and was designated as a national leader for the fifth consecutive day activities of the ASEAN Disaster Management (. ASEAN Day for Disaster Management - ADDM) has been defined by every second Wednesday of October each year. A disaster management in ASEAN. And the ASEAN Ministerial Meeting on 7 December 2548 in Phnom Penh, Cambodia. Member States have assigned all participants on disaster management in ASEAN. Both nationally and regionally. The main objective was to find solutions. Action on disaster reduction. And preparations for the event on disaster management. Including planning for next year            also. ASEAN Committee on Disaster Management Has collaborated with dialogue partners including China, Japan, South Korea, Australia, New Zealand, India, USA, Russia and international organizations that are partners with ASEAN in various forms as well.

























การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: