สถาบันการศึกษาในพื้นที่เป็นแหล่งรวมองค์ความรู้ที่สำคัญของชุมชนทุกแขนง  การแปล - สถาบันการศึกษาในพื้นที่เป็นแหล่งรวมองค์ความรู้ที่สำคัญของชุมชนทุกแขนง  อังกฤษ วิธีการพูด

สถาบันการศึกษาในพื้นที่เป็นแหล่งรวม

สถาบันการศึกษาในพื้นที่เป็นแหล่งรวมองค์ความรู้ที่สำคัญของชุมชนทุกแขนง และสถาบันการศึกษายังเป็นแหล่งรวมบุคลากร องค์ความรู้ วัสดุครุภัณฑ์ และสื่อต่าง ๆที่ใช้ในการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนได้ โดยเฉพาะสถาบันการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยที่มีศักยภาพในการทำงานวิจัยชุมชน โดยมีโจทย์ว่า "การวิจัยเป็นเครื่องมือ"เพื่อการบูรณาการในระดับชุมชนหรือพื้นที่(Community/Area-Based Approach)ซึ่งเป็นแนวทางใหม่ที่เรียกได้ว่าเป็นการทำงานแบบ "ฐานรากขึ้นสู่ข้างบน" โดยงานวิจัยชุมชนส่วนใหญ่จะได้รับงบประมาณการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย เครือข่ายอุดมศึกษาในภูมิภาคต่าง ๆ หรือสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เป็นต้นสำหรับในส่วนของบทบาทต่อการท่องเที่ยวของชุมชนนั้น สถาบันการศึกษาควรให้การส่งเสริม ดังนี้ 1.) สร้างชุมชนให้มีความตระหนักด้านการบริการ 2.) การให้ความหมายเรื่อง “การท่องเที่ยว” ที่ชัดเจนตรงกัน
3.) เปิดโอกาสให้ชุมชนได้เรียนรู้กับสถาบันการศึกษาในระบบ 4.) ให้ชุมชนสามารถเชื่อมโยงการท่องเที่ยวกับการจัดการทรัพยากร และวิถีชุมชนโดยไม่มุ่งเน้นเป็นรายได้หลัก โดยใช้กระบวนการพัฒนาในรูปแบบของการบริการวิชาการหลักสูตรฝึกอบรม หรือการทำวิจัยชุมชน
3.) หน่วยงานอิสระ (NGO)
2.1.1.3 หน่วยงานอิสระ (NGO) ทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง และผู้สนับสนุนกลุ่มท่องเที่ยวโดยชุมชน มีสถาบันที่ทำหน้าที่เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนโดยเฉพาะ คือ “สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน” ซึ่งมีหน่วยงานภาครัฐ คือ สกว. เป็นผู้ให้ทุนสนับสนุนการดำเนินงาน และNGOในอดีต คือ (Responsible Ecological and Social Project – REST) โดยมีนางสาวพจนา สวนศรี เป็นผู้อำนวยการของสถาบัน สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชนมีวิธีการทำงานร่วมกับชุมชนโดยเน้นการมีส่วนร่วม ผสมผสานกับการสร้างการรู้จักตนเองผ่านการวิจัยท้องถิ่น ช่วยสร้างความเข้มแข็งจากฐานรากให้แก่ชุมชน


-นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8-11 มุ่งเน้นเรื่องของการสร้างชุมชนเข้มแข็ง เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน นำมาสู่ยุทธศาสตร์ของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาที่มุ่งส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยให้แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวลงไปสู่ระดับภาค และระดับท้องถิ่น โดยการจัดทำแผนที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวที่กำหนดโดยแต่ละจังหวัด

-การสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ในกระบวนการสร้างและพัฒนาเครือข่ายเป็นเรื่องที่ต้องใช้ปัจจัยภายในและภายนอก กล่าวคือ ภายในตัวชุมชนสมาชิกเองต้องมีความต้องการและเห็นความสำคัญหรือความจำเป็นในการมีเครือข่าย และต้องพร้อมให้ความร่วมมือ
ตัวอย่างกิจกรรมเครือข่ายการเรียนรู้
• สร้างการเรียนรู้ระหว่างชุมชน เช่น การศึกษา-ดูงาน การหมุนเวียนการประชุมตามพื้นที่เครือข่าย
• การสรุปบทเรียนการทำงาน
• เวทีให้ความรู้ และเสริมทักษะการทำงาน
• การสนับสนุนช่วยเหลือข้ามชุมชน
• ทำกรณีศึกษาเพื่อเป็นตัวอย่างการพัฒนา
• กระบวนการสร้างและพัฒนาเครือข่าย
• 1. ชุมชนมีความตระหนักและเห็นความจำเป็นในการเป็นเครือข่าย
• 2. แสวงหาชุมชนพันธมิตรร่วมคิด แลกเปลี่ยนข้อมูล
• 3. เกิดการรวมกลุ่มเป็นเครือข่ายในการทำงาน
• 4. กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่เป็นความเห็นร่วมกัน
• 5. มีโครงสร้างการทำงาน กระบวนการในการตัดสินใจ และข้อตกลงร่วมกัน
• 6. แผนงานและกิจกรรม (มีความต่อเนื่อง)
• 7. การพัฒนาขีดความสามารถในการทำงานของเครือข่าย
• 8. ระบบการสื่อสาร
• 9. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปบทเรียนการพัฒนา (มีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน)
• 10. ติดตามประเมินผล
ประโยชน์ของเครือข่าย
• ช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด การแลกเปลี่ยนข้อมูล ประสบการณ์ แรงบันดาลใจ และทักษะต่างๆ มีแง่มุมมองหลายแง่มองจากหลายคนหลายองค์กร
• มีเพื่อน ที่มีความต้องการคล้ายกัน คิดและอุดมการณ์เหมือนกันก่อให้เกิดความสามัคคี ให้กำลังใจกัน และช่วยเหลือกันในรูปแบบต่าง ๆ
• ร่วมมือกันทำ แบ่งงานกันทำช่วยเหลือกันและกัน ลดงานที่ซ้ำซ้อนลง และลดการสิ้นเปลืองทรัพยากร
• ทำการรณรงค์ได้กว้างกว่าและมีประสิทธิภาพมากกว่า ยกระดับการนำเสนอทางเลือกใหม่สู่สาธารณชน เสริมพลังอำนาจในการต่อรอง
• เครือข่ายช่วยเชื่อมหน่วยงานวิชาการ และแหล่งทุนกับผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ

กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
-การจัดการความรู้
การจัดการความรู้ คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในส่วนราชการซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด โดยที่ความรู้มี 2 ประเภท คือ
1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครั้ง จึงเรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม
2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่าง ๆ และบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม
นายแพทย์วิจารณ์ พานิช ได้ให้ความหมายของคำว่า “การจัดการความรู้” ไว้ คือ สำหรับนักปฏิบัติ การจัดการความรู้คือ เครื่องมือ เพื่อการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 4 ประการไปพร้อมๆ กัน ได้แก่
1. บรรลุเป้าหมายของงาน
2. บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน
3. บรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กรไปเป็นองค์กรเรียนรู้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Educational institutions in the area of knowledge of every branch of community and academic personnel is also. Teaching aids, materials and media knowledge. Especially the tertiary education institutions that have the potential to work with community-based research meets "research tool" to integrating community or areas (Community/Area-Based. "The Foundation up to above" by most of the Community research budget would receive support from the University. Higher education network in various regions or research support Fund (TRF.For part of the) role of Community tourism. Educational institutions should promote As follows: 1. create a community-based) service awareness 2.) the meaning of the title "tourism" that clearly match
3.Community opportunities) have learned to educational institutions in the system 4.), The community can be associated with resource management, tourism and local communities by focusing on the main revenue is not based on the process of development and technical services in the form of a training course or research community
3). Independent agencies (NGO)
2.1.1.3 independent agencies (NGO) acts as a trainer and sponsor community based tourism group with institutional Act to develop community based tourism in particular is the "community based Tourism Institute" which government agencies are the TRF. As support providers and NGOs operating in the past (Responsible Ecological and Social Project – REST) with Ms. Sri Photna garden is the Director of the institution. Community based Tourism Institute, is there a way to work with an emphasis on community participation. Help strengthen the Foundation communities


-A policy related to the management of community-based tourism
. The national economic and social development plan volume 8-11 focuses on the subject of creating a strong community emphasis on the participation of the community. And local levels by making a map of tourism strategies conforming to defined by each province
.
-To create a community based tourism network
.In the process of creating and developing a network is required by internal and external factors. That is, within the community, Member States themselves must have the need and the importance or the need to have a network and must be ready to cooperate
.Examples of network activity to learn
• Creating learning communities in education, for example, between-view jobs by circulation area network
• To summarize the lessons work
• The stage, the knowledge and skills to work
.• Support cross-community
• Doing a case study as an example of developing
• The process of creating and developing a network of Community
1. • recognise and see the need to network
• 2. Seeking community partners thought 3. Exchange of information: • to
bundle is a network working
• 4. define the target. Objectives. The strategy is a shared opinion
• 5. Structured work. The process of decision making and collaboration agreement
• 6. work plan and activities (continued)
• 7. developing capabilities in the work of the network
• 8. communication systems
• 9. The exchange of learning and summarize lessons learned developing (the feeling is the same one)
• 10. the evaluation network of the

• Allow an exchange of ideas. The exchange of information, experience, inspiration and skills, there are several different views with regard to the point of view of several people from several organizations
.• Have a friend that has a similar requirement, the same ideology, and produces a harmony to each other and help each other in various formats
.• Make collaboration work breakdown do help each other. Reduce redundant tasks and reduce wasted resources
• Continue to promote broader and more efficient. Enhance the presentation of a new choice to the public. Strengthen the power of
• The network helps link academic units and resources to those who need help

.Learning management processes to strengthen its potential in community based tourism management knowledge management
-
.Knowledge management is to collect a body of knowledge that exists in the Government, which is scattered in a person, or a document to develop a system so that everyone in the organization can access knowledge and self improvement, leaders know. As a result, there is an organization capable of competing globally with the highest knowledge has 2 categories:
. 1. The knowledge embedded in people (Tacit Knowledge) knowledge derived from experience, talent or individual well in understanding, in knowledge of things that do not convey a verbal or written. Craft work skills or analytical thinking, it is sometimes referred to as abstract knowledge
. 2. the explicit knowledge (Explicit Knowledge) is knowledge that can be collected through various methods, inheritance, such as saving the written theory manual, and sometimes referred to as traditional knowledge in a concrete manner
. Dr. Wichan Phanit, the meaning of the term "knowledge management" is for more practical knowledge management is a tool to achieve the goal of at least 4 reasons simultaneously:
1
2. job goals. Achieving development goals 3.
people development organization into a learning organization:
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
สถาบันการศึกษาในพื้นที่เป็นแหล่งรวมองค์ความรู้ที่สำคัญของชุมชนทุกแขนง และสถาบันการศึกษายังเป็นแหล่งรวมบุคลากร องค์ความรู้ วัสดุครุภัณฑ์ และสื่อต่าง ๆที่ใช้ในการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนได้ โดยเฉพาะสถาบันการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยที่มีศักยภาพในการทำงานวิจัยชุมชน โดยมีโจทย์ว่า "การวิจัยเป็นเครื่องมือ"เพื่อการบูรณาการในระดับชุมชนหรือพื้นที่(Community/Area-Based Approach)ซึ่งเป็นแนวทางใหม่ที่เรียกได้ว่าเป็นการทำงานแบบ "ฐานรากขึ้นสู่ข้างบน" โดยงานวิจัยชุมชนส่วนใหญ่จะได้รับงบประมาณการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัย เครือข่ายอุดมศึกษาในภูมิภาคต่าง ๆ หรือสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เป็นต้นสำหรับในส่วนของบทบาทต่อการท่องเที่ยวของชุมชนนั้น สถาบันการศึกษาควรให้การส่งเสริม ดังนี้ 1.) สร้างชุมชนให้มีความตระหนักด้านการบริการ 2.) การให้ความหมายเรื่อง “การท่องเที่ยว” ที่ชัดเจนตรงกัน
3.) เปิดโอกาสให้ชุมชนได้เรียนรู้กับสถาบันการศึกษาในระบบ 4.) ให้ชุมชนสามารถเชื่อมโยงการท่องเที่ยวกับการจัดการทรัพยากร และวิถีชุมชนโดยไม่มุ่งเน้นเป็นรายได้หลัก โดยใช้กระบวนการพัฒนาในรูปแบบของการบริการวิชาการหลักสูตรฝึกอบรม หรือการทำวิจัยชุมชน
3.) หน่วยงานอิสระ (NGO)
2.1.1.3 หน่วยงานอิสระ (NGO) ทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง และผู้สนับสนุนกลุ่มท่องเที่ยวโดยชุมชน มีสถาบันที่ทำหน้าที่เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนโดยเฉพาะ คือ “สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชน” ซึ่งมีหน่วยงานภาครัฐ คือ สกว. เป็นผู้ให้ทุนสนับสนุนการดำเนินงาน และNGOในอดีต คือ (Responsible Ecological and Social Project – REST) โดยมีนางสาวพจนา สวนศรี เป็นผู้อำนวยการของสถาบัน สถาบันการท่องเที่ยวโดยชุมชนมีวิธีการทำงานร่วมกับชุมชนโดยเน้นการมีส่วนร่วม ผสมผสานกับการสร้างการรู้จักตนเองผ่านการวิจัยท้องถิ่น ช่วยสร้างความเข้มแข็งจากฐานรากให้แก่ชุมชน


-นโยบายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8-11 มุ่งเน้นเรื่องของการสร้างชุมชนเข้มแข็ง เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน นำมาสู่ยุทธศาสตร์ของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาที่มุ่งส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยให้แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวลงไปสู่ระดับภาค และระดับท้องถิ่น โดยการจัดทำแผนที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวที่กำหนดโดยแต่ละจังหวัด

-การสร้างเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชน
ในกระบวนการสร้างและพัฒนาเครือข่ายเป็นเรื่องที่ต้องใช้ปัจจัยภายในและภายนอก กล่าวคือ ภายในตัวชุมชนสมาชิกเองต้องมีความต้องการและเห็นความสำคัญหรือความจำเป็นในการมีเครือข่าย และต้องพร้อมให้ความร่วมมือ
ตัวอย่างกิจกรรมเครือข่ายการเรียนรู้
• สร้างการเรียนรู้ระหว่างชุมชน เช่น การศึกษา-ดูงาน การหมุนเวียนการประชุมตามพื้นที่เครือข่าย
• การสรุปบทเรียนการทำงาน
• เวทีให้ความรู้ และเสริมทักษะการทำงาน
• การสนับสนุนช่วยเหลือข้ามชุมชน
• ทำกรณีศึกษาเพื่อเป็นตัวอย่างการพัฒนา
• กระบวนการสร้างและพัฒนาเครือข่าย
• 1. ชุมชนมีความตระหนักและเห็นความจำเป็นในการเป็นเครือข่าย
• 2. แสวงหาชุมชนพันธมิตรร่วมคิด แลกเปลี่ยนข้อมูล
• 3. เกิดการรวมกลุ่มเป็นเครือข่ายในการทำงาน
• 4. กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ ยุทธศาสตร์ที่เป็นความเห็นร่วมกัน
• 5. มีโครงสร้างการทำงาน กระบวนการในการตัดสินใจ และข้อตกลงร่วมกัน
• 6. แผนงานและกิจกรรม (มีความต่อเนื่อง)
• 7. การพัฒนาขีดความสามารถในการทำงานของเครือข่าย
• 8. ระบบการสื่อสาร
• 9. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปบทเรียนการพัฒนา (มีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน)
• 10. ติดตามประเมินผล
ประโยชน์ของเครือข่าย
• ช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด การแลกเปลี่ยนข้อมูล ประสบการณ์ แรงบันดาลใจ และทักษะต่างๆ มีแง่มุมมองหลายแง่มองจากหลายคนหลายองค์กร
• มีเพื่อน ที่มีความต้องการคล้ายกัน คิดและอุดมการณ์เหมือนกันก่อให้เกิดความสามัคคี ให้กำลังใจกัน และช่วยเหลือกันในรูปแบบต่าง ๆ
• ร่วมมือกันทำ แบ่งงานกันทำช่วยเหลือกันและกัน ลดงานที่ซ้ำซ้อนลง และลดการสิ้นเปลืองทรัพยากร
• ทำการรณรงค์ได้กว้างกว่าและมีประสิทธิภาพมากกว่า ยกระดับการนำเสนอทางเลือกใหม่สู่สาธารณชน เสริมพลังอำนาจในการต่อรอง
• เครือข่ายช่วยเชื่อมหน่วยงานวิชาการ และแหล่งทุนกับผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือ

กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
-การจัดการความรู้
การจัดการความรู้ คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในส่วนราชการซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด โดยที่ความรู้มี 2 ประเภท คือ
1. ความรู้ที่ฝังอยู่ในคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาติญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูดหรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ หรือการคิดเชิงวิเคราะห์ บางครั้ง จึงเรียกว่าเป็นความรู้แบบนามธรรม
2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่าง ๆ และบางครั้งเรียกว่าเป็นความรู้แบบรูปธรรม
นายแพทย์วิจารณ์ พานิช ได้ให้ความหมายของคำว่า “การจัดการความรู้” ไว้ คือ สำหรับนักปฏิบัติ การจัดการความรู้คือ เครื่องมือ เพื่อการบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย 4 ประการไปพร้อมๆ กัน ได้แก่
1. บรรลุเป้าหมายของงาน
2. บรรลุเป้าหมายการพัฒนาคน
3. บรรลุเป้าหมายการพัฒนาองค์กรไปเป็นองค์กรเรียนรู้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Educational institutions in the area is the source of knowledge of all branches of the community And institutions is also the source of personnel, knowledge, materials and equipments, and mediaEspecially at the university level institutions of potential function research community, with the proposition that "the tool" to integrate the community or area (Community / Area-Based"The foundation to the above" The research community will mostly be budget support from University The network of higher education in different regions or the office of Research Fund), etc., the role of community tourism Educational institutions should promote the following 1.) build community awareness for the services 2.) the meaning of "tourism" Clear matches
3) the opportunity to learn with educational institutions in the community 4 systemThe community can be linked to tourism) and resources management And the community without focus is the main income By using the process of development in the form of technical training courses or conducting community
3.) independent agencies (NGO)
2.1.13 independent agencies (NGO) serves as a mentor and supporter group travel by the community The Institute serves for tourism development by the community, especially, the "Institute of tourism community." the government is the TRFAs the capital operation and support in the past is NGO (Responsible Ecological and Social Project - REST) by Ms. dictionary Secret garden is a director of the Institute Community based Tourism Institute is how to work with the community with emphasis on participationHelp build strength from the foundations to the community

- related policies, community-based tourism management
The plan for national economic and social development of the 8-11 focus on creating a strong community Focus on the participation of the communityAnd local levels The mapping is consistent with the tourism strategy set by each province

- to create a network of community tourism
In networks is to use the internal and external factors, that is, within the community members themselves have the needs and the importance or the need for having the network And be ready for cooperationExamples of activities learning network
* Create learning between community such as education - Tour The turnover meeting area network
-
summary lessons work stage to knowledge and skill work
* support across the community
* Do case studies as an example the development of
* Networks
- 1 community awareness and needs in a network 2
-Seek the community alliance with thinking, information exchange,
- 3. What the integration as the network function in
• 4. Target objective Strategy is a common sight
- 5A functional structure, the process of decision making and the joint
- 6. Planning and activities (Continuation)
* 7. The capacity development in the work of network 8
-
- 9 communication systemThe exchange of learning and research development (a)
* is one 10. Evaluation of the benefits of network

Helps to exchange ideas, exchange of information, experience, motivation and skills are the brain many terms from the aspects of many organizations
There are friends with needs similar Thinking and ideology as well causing the unity of support and help each other in various forms.
- do this together. Relatedness help each other to reduce redundant work down and reduce the สิ้นเปลืองทรัพยากร
- the campaign for wider and more effective Raise the proposed alternatives to the public Empowerment in the bargain
* The network helps connect academic units And the source of capital to those who want to help

Learning process to enhance tourism management - knowledge management by community

Knowledge management is to gather knowledge contained in a government which scattered in individual or documents to improve the system So that everyone in the organization can access to knowledge And develop themselves to be enlightenedThis will result in the organization has the ability to highly competitive without knowledge is 2 highest type is
1Knowledge embedded in people (Tacit Knowledge) is knowledge from experience The talent or the instinct of individuals in the understanding of such things as you know that cannot convey or written words easilySkills in working, crafts, or analytical thinking, sometimes called the knowledge abstraction model
2. Knowledge explicitly (Explicit Knowledge) is knowledge that can collect, conveyed through various ways such as recorded in writing The theory guide various and sometimes referred to as a concrete model
The recent comments, to the meaning of the word "knowledge management", namely, for practice, knowledge management is a tool In order to achieve at least 4 points simultaneously, including 1. The goals of the work

2Achieving development people
3. Achieving development enterprise organizational learning
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: