การใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการศึกษาพันธุกรรมพืชปัจจุบันมีการนำเครื่องหม การแปล - การใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการศึกษาพันธุกรรมพืชปัจจุบันมีการนำเครื่องหม อังกฤษ วิธีการพูด

การใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการศึกษาพ

การใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการศึกษาพันธุกรรมพืช
ปัจจุบันมีการนำเครื่องหมายระดับโมเลกุล (molecular marker) ซึ่งเป็นเครื่องหมายที่มีประสิทธิภาพสูงที่มีบทบาทสำคัญในการเกษตร โดยเฉพาะในงานปรับปรุงพันธุ์พืช ซึ่งถือว่าเป็นหัวใจสำคัญในการสร้างพืชพันธุ์ใหม่และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการตรวจสอบระดับยีนและระดับดีเอ็นเอ เพื่อใช้ในการแยกสายพันธุ์ รวมทั้งทราบความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระหว่างสายพันธุ์ เนื่องจากการเปรียบเทียบลักษณะภาย นอกยังไม่สามารถแยกความแตกต่างของสายพันธุ์พืชบางชนิดที่มีความใกล้ชิดทางพันธุกรรมได้ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องหาเครื่องบ่งชี้ชนิดอื่นมาประกอบ เพื่อช่วยให้การจำแนกความแตกต่างของสายพันธุ์มีความถูกต้อง ต่อมาได้มีการพัฒนาเครื่องหมายโปรตีน (protein marker) เช่น ไอโซไซม์ (isozyme) เข้ามาช่วยในการบ่งชี้ความแตกต่างของสายพันธุ์พืช (varietal identification) โดยใช้ความแตกต่างของโมเลกุลโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบมาตรวจสอบ (สุรีพร, 2546) แต่พบว่าเครื่องหมายโปรตีนมีข้อจำกัดที่สำคัญคือ จำนวนยีนที่ใช้ตรวจสอบยังมีไม่มากและยีนที่นำมาศึกษาต้องมีการแสดงออก (gene expression) ด้วยการตรวจสอบจึงต้องเลือกเนื้อเยื่อพืชและระยะการเจริญเติบโตของพืชที่เหมาะสม นอกจากนั้นผลการตรวจสอบยังขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ทำให้ประสิทธิภาพในการแยกความแตกต่างระหว่างสิ่งมีชีวิตลดลง (กรกช, 2550) จากข้อ จำกัดดังกล่าวทำให้มีการพัฒนาเทคนิคขึ้นมาใหม่คือเทคนิค RFLP (restriction fragment length polymer phism) โดยอาศัยความแตกต่างของขนาดดีเอ็นเอที่เกิดจากการตัดด้วยเอ็นไซม์ตัดจำเพาะ (restriction enzyme) ในการแยกความแตกต่างที่ดีเอ็นเอโดยตรง ดังนั้นจึงไม่มีอิทธิพลของสภาพแวดล้อมเข้ามาเกี่ยว ข้อง การตรวจสอบผลที่ได้จึงมีความแม่นยำและสามารถทำซ้ำได้ผลเหมือนเดิม อย่างไรก็ตาม เทคนิคนี้ยังมีข้อจำกัดคือ ขั้นตอนยุ่งยาก ซับซ้อน และใช้เวลานาน ตลอดจนใช้แรงงานและค่าใช้จ่ายในการดำเนินการสูง ดีเอ็นเอที่ใช้ต้องมีปริมาณมากและต้องทำให้บริสุทธิ์ (Kaundun et al., 2000) ต่อมาจึงมีการพัฒนาวิธีการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอโดยเทคนิคพีซีอาร์ (polymerase chain reaction: PCR) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ง่ายและรวดเร็ว สามารถเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอเป้าหมายได้ปริมาณมากในระยะเวลาสั้น โดยอาศัยการทำงานของเอ็นไซม์ DNA polymerase หลังจากนั้นจึงพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลใหม่ๆ เพิ่มขึ้น เช่น เทคนิคอาร์เอพีดี (random amplified polymorphic DNA: RAPD) เทคนิคเอเอฟแอลพี (amplification fragment length polymorphism: AFLP) ไมโครแซทเทลไลท์ (microsatellite) หรือ เอสเอสอาร์ (SSR marker) (สุรีพร, 2546) จึงสามารถใช้ในการจำแนกความแตกต่างระหว่างสายพันธุ์และสามารถจำแนกความแตกต่างภายในสายพันธุ์
ซึ่งการใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการคัดเลือกและแยกความแตกต่างของลักษณะที่แสดงออกของแต่ละสายพันธุ์ มีความแม่นยำ สะดวกและรวดเร็ว และสามารถจำแนกลักษณะพันธุกรรมของยีนที่สนใจได้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Use of molecular markers in studying genetic diversity of plants.ปัจจุบันมีการนำเครื่องหมายระดับโมเลกุล (molecular marker) ซึ่งเป็นเครื่องหมายที่มีประสิทธิภาพสูงที่มีบทบาทสำคัญในการเกษตร โดยเฉพาะในงานปรับปรุงพันธุ์พืช ซึ่งถือว่าเป็นหัวใจสำคัญในการสร้างพืชพันธุ์ใหม่และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการตรวจสอบระดับยีนและระดับดีเอ็นเอ เพื่อใช้ในการแยกสายพันธุ์ รวมทั้งทราบความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมระหว่างสายพันธุ์ เนื่องจากการเปรียบเทียบลักษณะภาย นอกยังไม่สามารถแยกความแตกต่างของสายพันธุ์พืชบางชนิดที่มีความใกล้ชิดทางพันธุกรรมได้ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องหาเครื่องบ่งชี้ชนิดอื่นมาประกอบ เพื่อช่วยให้การจำแนกความแตกต่างของสายพันธุ์มีความถูกต้อง ต่อมาได้มีการพัฒนาเครื่องหมายโปรตีน (protein marker) เช่น ไอโซไซม์ (isozyme) เข้ามาช่วยในการบ่งชี้ความแตกต่างของสายพันธุ์พืช (varietal identification) โดยใช้ความแตกต่างของโมเลกุลโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบมาตรวจสอบ (สุรีพร, 2546) แต่พบว่าเครื่องหมายโปรตีนมีข้อจำกัดที่สำคัญคือ จำนวนยีนที่ใช้ตรวจสอบยังมีไม่มากและยีนที่นำมาศึกษาต้องมีการแสดงออก (gene expression) ด้วยการตรวจสอบจึงต้องเลือกเนื้อเยื่อพืชและระยะการเจริญเติบโตของพืชที่เหมาะสม นอกจากนั้นผลการตรวจสอบยังขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ทำให้ประสิทธิภาพในการแยกความแตกต่างระหว่างสิ่งมีชีวิตลดลง (กรกช, 2550) จากข้อ จำกัดดังกล่าวทำให้มีการพัฒนาเทคนิคขึ้นมาใหม่คือเทคนิค RFLP (restriction fragment length polymer phism) โดยอาศัยความแตกต่างของขนาดดีเอ็นเอที่เกิดจากการตัดด้วยเอ็นไซม์ตัดจำเพาะ (restriction enzyme) ในการแยกความแตกต่างที่ดีเอ็นเอโดยตรง ดังนั้นจึงไม่มีอิทธิพลของสภาพแวดล้อมเข้ามาเกี่ยว ข้อง การตรวจสอบผลที่ได้จึงมีความแม่นยำและสามารถทำซ้ำได้ผลเหมือนเดิม อย่างไรก็ตาม เทคนิคนี้ยังมีข้อจำกัดคือ ขั้นตอนยุ่งยาก ซับซ้อน และใช้เวลานาน ตลอดจนใช้แรงงานและค่าใช้จ่ายในการดำเนินการสูง ดีเอ็นเอที่ใช้ต้องมีปริมาณมากและต้องทำให้บริสุทธิ์ (Kaundun et al., 2000) ต่อมาจึงมีการพัฒนาวิธีการเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอโดยเทคนิคพีซีอาร์ (polymerase chain reaction: PCR) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ง่ายและรวดเร็ว สามารถเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอเป้าหมายได้ปริมาณมากในระยะเวลาสั้น โดยอาศัยการทำงานของเอ็นไซม์ DNA polymerase หลังจากนั้นจึงพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลใหม่ๆ เพิ่มขึ้น เช่น เทคนิคอาร์เอพีดี (random amplified polymorphic DNA: RAPD) เทคนิคเอเอฟแอลพี (amplification fragment length polymorphism: AFLP) ไมโครแซทเทลไลท์ (microsatellite) หรือ เอสเอสอาร์ (SSR marker) (สุรีพร, 2546) จึงสามารถใช้ในการจำแนกความแตกต่างระหว่างสายพันธุ์และสามารถจำแนกความแตกต่างภายในสายพันธุ์ The use of molecular markers in the selection and distinguish of the appearance of each species. With precision. Quick and easy and can be genetic characterization of genes of interest.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Using molecular markers to study genetic
markers present at the molecular level (molecular marker), which is a high-efficiency plays an important role in agriculture. Especially in plant breeding. This is essential to create a new vegetation and can be used to monitor gene and DNA. In order to separate species. As well as knowing the genetic relationship between species. Due to its characteristics Outside is unable to differentiate strains of plants that are closer genetic. Therefore, it is necessary to measure other types of assembly. To help distinguish the species is accurate. Later, the development of marker proteins (protein marker), as isozymes (isozyme) to assist in the identification of the different species (varietal identification) using different types of protein molecules as elements. Check (Sureeporn, 2546), but found that the marker protein is a major limitation. Check the number of genes that have not been studied much, and genes must be expressed (gene expression) with the inspection have to choose plants and the growth stage of the crop. In addition, the app also depends on the environment. Effective in distinguishing between organisms decreased (Krkch, 2550) of such restrictions has been developed a new technique RFLP (restriction fragment length polymer phism) by the difference in the size of the DNA. caused by the cutting enzymes cut Specification (restriction enzyme) to differentiate the DNA directly. Therefore, without the influence of the environment came on the results of the audit are accurate and reproducible results the same, however, this technique is still limited. The process is complex and time-consuming. As well as labor and the cost of operation is high. DNA used to have plenty, and be purified (Kaundun et al., 2000) subsequently developed methods of DNA by PCR (polymerase chain reaction: PCR), a technique that is quick and easy. PCR can target large quantities in a short period. Through the work of the enzyme DNA polymerase then developed a new molecular technique RAPD increased as well (random amplified polymorphic DNA: RAPD) technique RAF LP. (Amplification fragment length polymorphism: AFLP) microsatellites Mountain property. (Microsatellite) or SAS SR (SSR marker) (Sureeporn, 2546) can be used to distinguish between strains and can distinguish the species
, the use of molecular markers for the selection. and distinguish the characteristics of each strain that expresses a precise and fast. And can characterize gene of interest.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Application of molecular markers in the study of plant genetic
.At present, the molecular marker (molecular marker) which is marked with a high efficiency plays an important role in agriculture. Especially in plant breeding.It is used to separate species. As well as knowing the genetic relationships between species. Due to the comparative characteristics within Outside still can't distinguish strains of some plants with genetic proximity.To help distinguish strains of accuracy. Later, with the development of protein markers (protein marker) such as isozymes (isozyme) to help in the identification of different strains of plants. (varietal identification).(of a blessing,
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: