The world situation has changed rapidly. Many of the problems that used to be a problem in the country is expanding the broad back of international issues, such as natural disasters, environmental problems, disease, ASEAN must adapt to the situation that occurred. To cope with the changes timely. For this reason, the Group of 10 countries that are member countries of the ASEAN, strengthening, countries in Southeast Asia, could face changes and challenging problems. Thus, the ASEAN Heads of State Therefore agree that there should be designated to create the ASEAN community on 3 main pillars within the scroll, which subsequently 2563 (2020) faster as the year 2558 (2015) 1. ประชาคมการเมืองความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Security Community : ASC) 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC) กระบวนการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งเป็นหนึ่งในเสาหลักในการที่จะทำให้อาเซียนบรรลุสู่การเป็น “ประชาคมอาเซียน” ภายในปี 2558 มีรากฐานมาจากนำความร่วมมือและความตกลงทางเศรษฐกิจที่อาเซียนได้ดำเนินการ มาระยะหนึ่งแล้ว มาต่อยอดให้มีผลเป็นรูปธรรมและมีความแบบแผนมากยิ่งขึ้น อาทิ ความตกลงว่าด้วยการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน ความตกลงด้านการส่งเสริมการลงทุนอาเซียน ความตกลงด้านการท่องเที่ยวของอาเซียน และความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านอุตสาหกรรมอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจของอาเซียน จะเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะช่วยขยายปริมาณการค้าและการลงทุนภายในภูมิภาค ลดการพึ่งพาตลาดในประเทศที่สาม สร้างอำนาจการต่อรองและศักยภาพในการแข่งขันของอาเซียนในเวทีเศรษฐกิจโลก เพิ่มสวัสดิการและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนของประเทศสมาชิกอาเซียน บนหลักการของการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ ซึ่งได้แก่ การประหยัดต่อขนาด การแบ่งงานกันทำ และการพัฒนาความชำนาญในการผลิตของประเทศสมาชิกอาเซียน
การแปล กรุณารอสักครู่..
