๑. สถานการณ์ ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์มายาวนานหลายร้อยปี ก การแปล - ๑. สถานการณ์ ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์มายาวนานหลายร้อยปี ก อังกฤษ วิธีการพูด

๑. สถานการณ์ ประเทศไทยเป็นประเทศที่

๑. สถานการณ์
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์มายาวนานหลายร้อยปี การพัฒนาการจากในอดีตจนมาเป็นประเทศไทยในปัจจบัน นั้นจะต้องผ่านสภาวะการณ์ต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก ดังตัวอย่างเช่น ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นหลายครั้งในอดีต ซึ่งเมื่อเกิดขึ้นแล้วในที่สุดแล้วรัฐบาลในฐานะที่เป็นผู้ดูแลบริหารจัดการประเทศในแต่ละยุคแต่ละสมัยจะต้องดำเนินการยุติความขัดแย้งเกิดขึ้น และนำพาสังคมเข้าสู่สภาวะแวดล้อมที่สงบเรียบร้อย โดยทุกภาคส่วนสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุขสมานฉันท์ หรือสามารถกล่าวได้ว่าเป็นสภาวะที่เกิดความปรองดองขึ้นในสังคมไทย และถ้าความขัดแย้งครั้งใดก็ตามมีความรุนแรงมากการสร้างความปรองดองจะถูกนำมาเป็นประเด็นสำคัญที่กลายมาเป็นวาระสำคัญของชาติ
ดังนั้นเมื่อความขัดแย้งเป็นเรื่องที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อความมั่นคงของประเทศชาติโดยรวม การหาวิธีการ ทางออก หรือแนวทาง จึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะการทราบถึงแนวทางที่นำไปสู่การยุติความขัดแย้งจะเป็นสิ่งที่ช่วยกำหนดกรอบของปัญหาไม่ให้ขยายตัวออกไป ลดความเสียหายหรือสูญเสีย และที่สำคัญคือ ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นยุติลง การศึกษาถึงความขัดแย้งและแนวทางในการยุติความขัดแย้งเพื่อนำไปสู่การสร้างความปรองดองให้เกิดขึ้นในสังคมไทย จึงเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งเพื่อเสนอทางออกแห่งความสงบสุขในสังคมไทย

๒. กรอบแนวคิดในการจัดทำยุทธศาสตร์
๒.๑ สร้างความเข้าใจต่อสถานการณ์ความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในสังคม ที่มีความครอบคลุมทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศ เพื่อสร้างความตระหนักของการอยู่ร่วมกันภายในชาติอย่างสันติสุขบนพื้นฐานของความเป็นพหุสังคมวัฒนธรรม
๒.๒ เสริมสร้างความเท่าเทียมกันของสมาชิกในสังคมให้อยู่บนพื้นฐานของความเป็นคนไทยในทุก มิติ
๒.๓ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการเสริมสร้างความปรองดองแห่งชาติ และดำเนินการเสริมสร้างความปรองดองแห่งชาติด้วยรูปแบบที่มีความอ่อนตัวและสอดคล้องกับสภาวะการณ์
๒.๔ จัดให้มีกระบวนการการเข้าถึงและสื่อสารกับประชาชนเพื่อมุ่งไปสู่ความปรองดองในชาติ โดยใช้ช่องทางจากสื่อสาธารณะในการสนับสนุนความปรองดองแห่งชาติให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
๒.๕ ให้ความสำคัญกับการประเมินผลควบคู่ไปกับการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์

๓. วิสัยทัศน์
“คนไทยทุกคนในทุกภาคอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขมีความสมานฉันท์”

๔. เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์สร้างความปรองดองแห่งชาติ
ในการจัดทำยุทธศาสตร์สร้างความปรองดองแห่งชาติมีเป้าประสงค์ของการจัดทำยุทธศาสตร์ ๕ ประการ ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้
๔.๑ สร้างสังคมและชุมชนเข้มแข็ง: การสร้างชุมชนในสังคมไทยให้มีความเข้มแข็งเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะเมื่อชุมชนแต่ละชุมชนมีความแข้มแข็งแล้ว การช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่างสมาชิกในชุมชน ชุมชนข้างเคียง และ ชุมชนอื่น ๆ ที่อยู่ห่างไกล เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นตามมา การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนจะตั้งอยู่บนพื้นฐานของกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยในแต่ละชุมชนจะมีการพัฒนาไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนตนเองในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านเศรษฐกิจ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านสังคม และด้านวัฒนธรรม โดยการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนนั้น อาจพัฒนาความเข้มแข็งได้เพียงบางด้านเท่านั้น เนื่องจากเงื่อนไขและกระบวนการที่นำไปสู่ความเข้มแข็งในแต่ละด้านของแต่ละชุมชนมีความแตกต่างกัน

๔.๒ สร้างสังคมแห่งความพอเพียง: การสร้างความพอเพียงและความเอื้ออาทรต่อกันระหว่างบุคคลต่อบุคคลหรือชุมชนต่อชุมชนให้เกิดขึ้นในสังคมไทย โดยการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการดำเนินการจะช่วยให้ สังคมหรือชุมชนในพื้นที่ ฯ สามารถขับเคลื่อนไปอย่างมีภูมิคุ้มกันเป็นระบบ บนความมีเหตุผล ประชาชนในพื้นที่ ฯ มีความซื่อสัตย์สุจริต รอบรู้ในองค์ความรู้ที่เหมาะสม มีการดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ขยันหมั่นเพียร มีสติปัญญา รอบคอบ เพื่อให้มีความพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคมสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากสังคมภายนอกได้เป็นอย่างดี

๔.๓ สร้างสังคมแห่งความเท่าเทียม: การทำให้ประชาชนในแต่ละชุมชนมีความรู้สึกและสัมผัสได้ถึงความเป็นรูปธรรมของความเท่าเทียมกันในชุมชน ในสังคม และในฐานะของความเป็นพลเมืองไทย เป็นสิ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เพราะปัญหาหลัก ๆ ของความแตกแยกที่เกิดขึ้นในปัจจุบันนั้น เป็นสิ่งที่ไม่สามารถปฏิเสธได้ว่า ส่วนหนึ่งแล้วรากของปัญหาที่แท้จริงจะเกิดจากเงื่อนไขของความไม่เท่าเทียมกันในสังคม การปล่อยปละละเลยของรัฐบาลในแต่ละยุคแต่ละสมัยนั้นล้วนแต่สร้างปมปัญหาให้กับชุมชนต่าง ๆ ในพื้นที่ ฯ เป็นปัญหาเชิงโครงสร้างที่สร้างเงื่อนไขลุกลามขยายผล จนกลายมาเป็นปัญหาการก่อความไม่สงบที่มีโอกาสพัฒนาไปสู่ความขัดแย้งอย่างรุนแรงในสังคม และอาจนำไปสู่สงครามกลางเมืองในที่สุด

๔.๔ สร้างการสื่อสารจากภาครัฐที่ชัดเจน: การสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างรัฐกับประชาชนในทุกๆ ชุมชนด้วยการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่มีความถูกต้องแม่นยำทันเวลา เป็นสิ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะข้อมูลข่าวสารที่มีความถูกต้อง แม่นยำและทันเวลาสามารถช่วยป้องกันและต่อต้านข่าวลือ อันเป็นการลดความสับสนในสังคมจากข่าวสารที่บิดเบือนความจริงที่นำไปสู่การขาดความเชื่อมั่นต่อรัฐบาล นอกจากนี้การสื่อสารระหว่างรัฐกับผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำและผู้สอนศาสนา องค์กรภาคเอกชน หรือแม้กระทั่งบุคคลหรือกลุ่มคนที่มีความเห็นแตกต่าง จะช่วยให้เกิดความร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหา อีกทั้งการสื่อสารกับประเทศเพื่อนบ้าน และองค์กรสากลต่าง ๆ ยังจะช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดี ทราบถึงข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในสังคมไทย อันนำไปสู่การร่วมมือกันในการดำเนินการต่อปัญหาในที่สุด

๔.๕ สร้างสังคมแห่งความสมานฉันท์: การอยู่ร่วมกันในสังคมไทยอย่างสงบสุขบนพื้นฐานของความแตกต่างกันทางวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา ชาติพันธุ์ และความเชื่อ เป็นเรื่องที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ความปรองดองของคนในชาติเป็นสิ่งที่สำคัญยิ่ง การส่งเสริมให้เกิดการมีส่วน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
1. situation. Thai country is a country with a long history of several hundred years. Developments in the past as the country is Thai but in prefer over a lot of the State. So, for example, a conflict that arose several times in the past, when they occur, and in the end, the Government as a dulaeprihan country Manager in each epoch, each session will need to act to end the conflicts arise and pound into a social environment that is quiet. By all sectors can live together peacefully. solidarity, or it can be said that the State is failing to adjust in the Thai society, and if the conflict any time there is a lot of violence to create a roadmap to be presented as a keynote at national became an important agenda. So when conflict is severe and affect the stability of the nation as a whole. To find out how to exit or guidelines is particularly important because of the way leading to the cessation of conflict is something that can help formulate the problem, not expanded. To reduce the damage or loss, and most importantly the conflicts that arose ended the conflict, and to study ways to end the conflict in order to contribute to the creation of a reconciliation to occur in Thai society. It is essential to offer a way out of the peace in Thai society.2. Conceptual framework for the preparation of strategies 2.1 understanding the fact that circumstances arise in society is capable of covering both domestic and external markets. To create awareness of the integration within comprehensive national peace on the basis of a cultural society plurinational. 2.2 strengthen the equality of members of the society, based on a Thai person in all dimensions. 2.3 require the participation of all sectors in order to strengthen national reconciliation and strengthen national reconciliation with a format that is soft and conforms to illustrate. 2.4 provide the process of accessing and communicating with people to aim to reconcile the nation, using a public media channel to support national reconciliation to occur, as concrete. 2.5 shine evaluation alongside strategic-based operations.3. Vision"Thai people, everyone in every department are together peacefully with solidarity," he said. 4. the objectives of the strategy and national reconciliation.In order to establish a national reconciliation strategy with objectives of strategic budgeting. 5 reasons the following details: 4.1 creating a strong society and communities: creating community in the Thai society, there is strength is particularly important because, when the community each community has a specification makhaeng. To lend assistance to each other between community members. Communities and other communities that are far away it's successor. The strengthening of the community will be located on the basis of the public participation process. Each community will have developed to the strength of their communities in areas such as natural resource economic social and cultural empowerment of the community might develop some strength behind only because of the conditions and processes that lead to strength in each side of each community, there is a difference. 4.2 establish society of sufficiency: to create a sufficient and kindness among people per person or per community communities occurred in Thai society. By nomnam the philosophy sufficiency economy as guidelines in making operation. Social or community in our area can be driven with the immune system. On the rational people in our area with honesty Knowledgeable in the appropriate knowledge A life with patience, intelligence, prudence is industrious, so be ready to accommodate the various changes that occur quickly, and all the objects. Social, environmental and cultural society have as well. ๔.๓ สร้างสังคมแห่งความเท่าเทียม: การทำให้ประชาชนในแต่ละชุมชนมีความรู้สึกและสัมผัสได้ถึงความเป็นรูปธรรมของความเท่าเทียมกันในชุมชน ในสังคม และในฐานะของความเป็นพลเมืองไทย เป็นสิ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เพราะปัญหาหลัก ๆ ของความแตกแยกที่เกิดขึ้นในปัจจุบันนั้น เป็นสิ่งที่ไม่สามารถปฏิเสธได้ว่า ส่วนหนึ่งแล้วรากของปัญหาที่แท้จริงจะเกิดจากเงื่อนไขของความไม่เท่าเทียมกันในสังคม การปล่อยปละละเลยของรัฐบาลในแต่ละยุคแต่ละสมัยนั้นล้วนแต่สร้างปมปัญหาให้กับชุมชนต่าง ๆ ในพื้นที่ ฯ เป็นปัญหาเชิงโครงสร้างที่สร้างเงื่อนไขลุกลามขยายผล จนกลายมาเป็นปัญหาการก่อความไม่สงบที่มีโอกาสพัฒนาไปสู่ความขัดแย้งอย่างรุนแรงในสังคม และอาจนำไปสู่สงครามกลางเมืองในที่สุด ๔.๔ สร้างการสื่อสารจากภาครัฐที่ชัดเจน: การสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างรัฐกับประชาชนในทุกๆ ชุมชนด้วยการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่มีความถูกต้องแม่นยำทันเวลา เป็นสิ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะข้อมูลข่าวสารที่มีความถูกต้อง แม่นยำและทันเวลาสามารถช่วยป้องกันและต่อต้านข่าวลือ อันเป็นการลดความสับสนในสังคมจากข่าวสารที่บิดเบือนความจริงที่นำไปสู่การขาดความเชื่อมั่นต่อรัฐบาล นอกจากนี้การสื่อสารระหว่างรัฐกับผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำและผู้สอนศาสนา องค์กรภาคเอกชน หรือแม้กระทั่งบุคคลหรือกลุ่มคนที่มีความเห็นแตกต่าง จะช่วยให้เกิดความร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหา อีกทั้งการสื่อสารกับประเทศเพื่อนบ้าน และองค์กรสากลต่าง ๆ ยังจะช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดี ทราบถึงข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในสังคมไทย อันนำไปสู่การร่วมมือกันในการดำเนินการต่อปัญหาในที่สุด 4.5 create a society of solidarity and social integration: a Thai peacefully on the basis of different ethnic, religious, cultural traditions and the belief that requires cooperation from all sectors. The reconciliation of the people in the nation are more important. To promote the involvement
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
๑. สถานการณ์
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์มายาวนานหลายร้อยปี การพัฒนาการจากในอดีตจนมาเป็นประเทศไทยในปัจจบัน นั้นจะต้องผ่านสภาวะการณ์ต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก ดังตัวอย่างเช่น ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นหลายครั้งในอดีต ซึ่งเมื่อเกิดขึ้นแล้วในที่สุดแล้วรัฐบาลในฐานะที่เป็นผู้ดูแลบริหารจัดการประเทศในแต่ละยุคแต่ละสมัยจะต้องดำเนินการยุติความขัดแย้งเกิดขึ้น และนำพาสังคมเข้าสู่สภาวะแวดล้อมที่สงบเรียบร้อย โดยทุกภาคส่วนสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสงบสุขสมานฉันท์ หรือสามารถกล่าวได้ว่าเป็นสภาวะที่เกิดความปรองดองขึ้นในสังคมไทย และถ้าความขัดแย้งครั้งใดก็ตามมีความรุนแรงมากการสร้างความปรองดองจะถูกนำมาเป็นประเด็นสำคัญที่กลายมาเป็นวาระสำคัญของชาติ
ดังนั้นเมื่อความขัดแย้งเป็นเรื่องที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อความมั่นคงของประเทศชาติโดยรวม การหาวิธีการ ทางออก หรือแนวทาง จึงเป็นสิ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะการทราบถึงแนวทางที่นำไปสู่การยุติความขัดแย้งจะเป็นสิ่งที่ช่วยกำหนดกรอบของปัญหาไม่ให้ขยายตัวออกไป ลดความเสียหายหรือสูญเสีย และที่สำคัญคือ ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นยุติลง การศึกษาถึงความขัดแย้งและแนวทางในการยุติความขัดแย้งเพื่อนำไปสู่การสร้างความปรองดองให้เกิดขึ้นในสังคมไทย จึงเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งเพื่อเสนอทางออกแห่งความสงบสุขในสังคมไทย

๒. กรอบแนวคิดในการจัดทำยุทธศาสตร์
๒.๑ สร้างความเข้าใจต่อสถานการณ์ความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในสังคม ที่มีความครอบคลุมทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศ เพื่อสร้างความตระหนักของการอยู่ร่วมกันภายในชาติอย่างสันติสุขบนพื้นฐานของความเป็นพหุสังคมวัฒนธรรม
๒.๒ เสริมสร้างความเท่าเทียมกันของสมาชิกในสังคมให้อยู่บนพื้นฐานของความเป็นคนไทยในทุก มิติ
๒.๓ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการเสริมสร้างความปรองดองแห่งชาติ และดำเนินการเสริมสร้างความปรองดองแห่งชาติด้วยรูปแบบที่มีความอ่อนตัวและสอดคล้องกับสภาวะการณ์
๒.๔ จัดให้มีกระบวนการการเข้าถึงและสื่อสารกับประชาชนเพื่อมุ่งไปสู่ความปรองดองในชาติ โดยใช้ช่องทางจากสื่อสาธารณะในการสนับสนุนความปรองดองแห่งชาติให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม
๒.๕ ให้ความสำคัญกับการประเมินผลควบคู่ไปกับการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์

๓. วิสัยทัศน์
“คนไทยทุกคนในทุกภาคอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขมีความสมานฉันท์”

๔. เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์สร้างความปรองดองแห่งชาติ
ในการจัดทำยุทธศาสตร์สร้างความปรองดองแห่งชาติมีเป้าประสงค์ของการจัดทำยุทธศาสตร์ ๕ ประการ ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้
๔.๑ สร้างสังคมและชุมชนเข้มแข็ง: การสร้างชุมชนในสังคมไทยให้มีความเข้มแข็งเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง เพราะเมื่อชุมชนแต่ละชุมชนมีความแข้มแข็งแล้ว การช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่างสมาชิกในชุมชน ชุมชนข้างเคียง และ ชุมชนอื่น ๆ ที่อยู่ห่างไกล เป็นเรื่องที่เกิดขึ้นตามมา การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนจะตั้งอยู่บนพื้นฐานของกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยในแต่ละชุมชนจะมีการพัฒนาไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนตนเองในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านเศรษฐกิจ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ด้านสังคม และด้านวัฒนธรรม โดยการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนนั้น อาจพัฒนาความเข้มแข็งได้เพียงบางด้านเท่านั้น เนื่องจากเงื่อนไขและกระบวนการที่นำไปสู่ความเข้มแข็งในแต่ละด้านของแต่ละชุมชนมีความแตกต่างกัน

๔.๒ สร้างสังคมแห่งความพอเพียง: การสร้างความพอเพียงและความเอื้ออาทรต่อกันระหว่างบุคคลต่อบุคคลหรือชุมชนต่อชุมชนให้เกิดขึ้นในสังคมไทย โดยการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการดำเนินการจะช่วยให้ สังคมหรือชุมชนในพื้นที่ ฯ สามารถขับเคลื่อนไปอย่างมีภูมิคุ้มกันเป็นระบบ บนความมีเหตุผล ประชาชนในพื้นที่ ฯ มีความซื่อสัตย์สุจริต รอบรู้ในองค์ความรู้ที่เหมาะสม มีการดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ขยันหมั่นเพียร มีสติปัญญา รอบคอบ เพื่อให้มีความพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สังคมสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากสังคมภายนอกได้เป็นอย่างดี

๔.๓ สร้างสังคมแห่งความเท่าเทียม: การทำให้ประชาชนในแต่ละชุมชนมีความรู้สึกและสัมผัสได้ถึงความเป็นรูปธรรมของความเท่าเทียมกันในชุมชน ในสังคม และในฐานะของความเป็นพลเมืองไทย เป็นสิ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เพราะปัญหาหลัก ๆ ของความแตกแยกที่เกิดขึ้นในปัจจุบันนั้น เป็นสิ่งที่ไม่สามารถปฏิเสธได้ว่า ส่วนหนึ่งแล้วรากของปัญหาที่แท้จริงจะเกิดจากเงื่อนไขของความไม่เท่าเทียมกันในสังคม การปล่อยปละละเลยของรัฐบาลในแต่ละยุคแต่ละสมัยนั้นล้วนแต่สร้างปมปัญหาให้กับชุมชนต่าง ๆ ในพื้นที่ ฯ เป็นปัญหาเชิงโครงสร้างที่สร้างเงื่อนไขลุกลามขยายผล จนกลายมาเป็นปัญหาการก่อความไม่สงบที่มีโอกาสพัฒนาไปสู่ความขัดแย้งอย่างรุนแรงในสังคม และอาจนำไปสู่สงครามกลางเมืองในที่สุด

๔.๔ สร้างการสื่อสารจากภาครัฐที่ชัดเจน: การสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างรัฐกับประชาชนในทุกๆ ชุมชนด้วยการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่มีความถูกต้องแม่นยำทันเวลา เป็นสิ่งที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะข้อมูลข่าวสารที่มีความถูกต้อง แม่นยำและทันเวลาสามารถช่วยป้องกันและต่อต้านข่าวลือ อันเป็นการลดความสับสนในสังคมจากข่าวสารที่บิดเบือนความจริงที่นำไปสู่การขาดความเชื่อมั่นต่อรัฐบาล นอกจากนี้การสื่อสารระหว่างรัฐกับผู้นำชุมชน ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำและผู้สอนศาสนา องค์กรภาคเอกชน หรือแม้กระทั่งบุคคลหรือกลุ่มคนที่มีความเห็นแตกต่าง จะช่วยให้เกิดความร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหา อีกทั้งการสื่อสารกับประเทศเพื่อนบ้าน และองค์กรสากลต่าง ๆ ยังจะช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดี ทราบถึงข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในสังคมไทย อันนำไปสู่การร่วมมือกันในการดำเนินการต่อปัญหาในที่สุด

๔.๕ สร้างสังคมแห่งความสมานฉันท์: การอยู่ร่วมกันในสังคมไทยอย่างสงบสุขบนพื้นฐานของความแตกต่างกันทางวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา ชาติพันธุ์ และความเชื่อ เป็นเรื่องที่ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ความปรองดองของคนในชาติเป็นสิ่งที่สำคัญยิ่ง การส่งเสริมให้เกิดการมีส่วน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
1. The situation
.Thailand is a country with a long history of several hundred years. The development from the past until a current in the end. It will need to pass various conditions, a lot of, as for example, the conflict ขึ้นหลายครั้ง in the past.Social environment and lead to peace. By all sectors can coexist peacefully United. Or can be said to be the state of harmony in the society.
.So when the conflict is that have a serious impact on the security of the nation's overall finding ways of solution or guidelines. It is very important.Reduce the damage or loss. And more importantly, the conflict ended. Study on the conflicts and guidelines for resolving disputes to contribute to the reconciliation happen in Thai society.
2. The concept of strategic
2.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: