การทำเกลือตก (อังกฤษ: spilling salt) เป็นความเชื่องมงายของยุโรปที่เชื่ การแปล - การทำเกลือตก (อังกฤษ: spilling salt) เป็นความเชื่องมงายของยุโรปที่เชื่ อังกฤษ วิธีการพูด

การทำเกลือตก (อังกฤษ: spilling salt

การทำเกลือตก (อังกฤษ: spilling salt) เป็นความเชื่องมงายของยุโรปที่เชื่อกันว่าจะเป็นลางร้าย (omen)

คำอธิบายอันแพร่หลายของความเชื่อดังกล่าวมีรากฐานมาจากการที่จูดาส์ อิสคาริออททำเกลือหกระหว่างพระกระยาหารมื้อสุดท้าย[1] ที่ปรากฏในภาพ "พระกระยาหารมื้อสุดท้าย" โดย เลโอนาร์โด ดา วินชี ที่เป็นภาพจูดาส์ อิสคาริออททำกระปุกเกลือหก[2]

แต่คำอธิบายนี้อาจจะไม่ใช่คำอธิบายที่แท้จริง เพราะเกลือเป็นสิ่งที่มีราคาแพงในสมัยโบราณ[3] ซึ่งทำให้เกลือกลายเป็นสัญลักษณ์ของความไว้วางใจและความเป็นมิตร ดังสุภาษิตเยอรมันที่ว่า “ผู้ใดที่ทำเกลือหกผู้นั้นก่อให้เกิดความเป็นศัตรู”[4] ตามความเห็นของนักประพันธ์ชาวฝรั่งเศสชาร์ลส์ โนดิเยร์ ในบรรดา “คนป่าเถื่อน” “การทำเกลือหก. . .เป็นการแสดงการปฏิเสธการพิทักษ์และการต้อนรับจากคนแปลกหน้า เพราะอาจจะมาจากความสงสัยว่าคนแปลกหน้าอาจจะเป็นขโมยหรือฆาตกร”[5]

นอกจากนั้นแล้วเกลือก็ยังเป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาด้วย เกลือใช้ในการทำน้ำมนต์สำหรับคริสต์ศาสนพิธีของโรมันคาทอลิก[6] ฉะนั้นเกลือจึงเป็นสัญลักษณ์ของความศักดิ์สิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับการขจัดสิ่งชั่วร้าย ฉะนั้นอาหารที่เซิร์ฟในวันวันแซบัธแม่มดจึงเป็นอาหารที่ปราศจากเกลือ[7] เกลือเป็นสัญลักษณ์ของการอนุรักษ์คุณค่าของความศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซูในการอ้างอิงว่าทรงเป็น “เกลือแห่งโลก” ในเมื่อเป็นสัญลักษณ์ของความศักดิ์สิทธิ์และการพิทักษ์เกลือจึงเป็นสิ่งที่ถ้าสูญเสียไปก็จะเป็นเครื่องแสดงถึงความไม่เป็นมงคล

การแก้เคล็ดก็มีด้วยกันหลายวิธี ความเชื่อร่วมสมัยที่พบมากที่สุดคือให้โยนเกลือข้ามไหล่ซ้ายเพื่อให้โดนหน้าปีศาจที่แฝงตัวอยู่ตรงนั้น[8] หรือตามความเชื่อที่ว่าถ้าทำไวน์หกแล้วจะโชคดี ฉะนั้นระหว่างมืออาหารผู้ที่ทำเกลือหกก็จะรออย่างกระวนกระวายให้พนักงานเสริฟมาเทไวน์ใส่ตักให้[9]

ความเชื่อที่ว่าจะเป็นลางร้ายเมื่อทำเกลือหกเป็นความเชื่อโบราณที่มีมาตั้งแต่สมัยโรมันโบราณ[10]. ในปี ค.ศ. 1556 ใน “Hieroglyphica” โดย เปียโร วาเลริอาโน โบลซานีรายงานว่า “เกลือเดิมเป็นสัญลักษณ์ของมิตรภาพ เพราะเป็นสิ่งที่ยั่งยืน และเป็นสิ่งที่ใช้ในการรักษาสิ่งอื่นให้คงทนอยู่นาน ฉะนั้นจึงเป็นสิ่งแรกที่เจ้าของบ้านจะมอบให้แก่แขกก่อนอาหารอื่น เพื่อเป็นการเน้นถึงสัมพันธภาพอันดีระหว่างทั้งสองฝ่าย ฉะนั้นการทำเกลือหกบนโต๊ะจึงถือกันว่าเป็นลางร้าย แต่ในทางตรงกันข้ามการทำไวน์หกเป็นสิ่งที่ดี โดยเฉพาะไวน์ที่ยังไม่ได้ผสมกับน้ำ”[11]

แต่ก็มีผู้ทีเยาะเย้ยความเชื่อเรื่องลางร้าย เฮอร์เบิร์ต สเป็นเซอร์กล่าวว่า “การตระหนักว่ามีความเชื่อว่าการทำเกลือหกจะตามด้วยลางร้าย ที่เป็นความคิดที่มาจากการตระหนักของคนป่าเถื่อน ที่เต็มไปด้วยความเชื่อเกี่ยวกับลางร้าย และ เครื่องราง เป็นการเปิดช่องให้รับความคิดอื่นในทำนองเดียวกันของคนป่าเถื่อนเข้ามา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การทำเกลือตก (อังกฤษ: spilling salt) เป็นความเชื่องมงายของยุโรปที่เชื่อกันว่าจะเป็นลางร้าย (omen)คำอธิบายอันแพร่หลายของความเชื่อดังกล่าวมีรากฐานมาจากการที่จูดาส์ อิสคาริออททำเกลือหกระหว่างพระกระยาหารมื้อสุดท้าย[1] ที่ปรากฏในภาพ "พระกระยาหารมื้อสุดท้าย" โดย เลโอนาร์โด ดา วินชี ที่เป็นภาพจูดาส์ อิสคาริออททำกระปุกเกลือหก[2]แต่คำอธิบายนี้อาจจะไม่ใช่คำอธิบายที่แท้จริง เพราะเกลือเป็นสิ่งที่มีราคาแพงในสมัยโบราณ[3] ซึ่งทำให้เกลือกลายเป็นสัญลักษณ์ของความไว้วางใจและความเป็นมิตร ดังสุภาษิตเยอรมันที่ว่า “ผู้ใดที่ทำเกลือหกผู้นั้นก่อให้เกิดความเป็นศัตรู”[4] ตามความเห็นของนักประพันธ์ชาวฝรั่งเศสชาร์ลส์ โนดิเยร์ ในบรรดา “คนป่าเถื่อน” “การทำเกลือหก. . .เป็นการแสดงการปฏิเสธการพิทักษ์และการต้อนรับจากคนแปลกหน้า เพราะอาจจะมาจากความสงสัยว่าคนแปลกหน้าอาจจะเป็นขโมยหรือฆาตกร”[5]นอกจากนั้นแล้วเกลือก็ยังเป็นสัญลักษณ์ทางศาสนาด้วย เกลือใช้ในการทำน้ำมนต์สำหรับคริสต์ศาสนพิธีของโรมันคาทอลิก[6] ฉะนั้นเกลือจึงเป็นสัญลักษณ์ของความศักดิ์สิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับการขจัดสิ่งชั่วร้าย ฉะนั้นอาหารที่เซิร์ฟในวันวันแซบัธแม่มดจึงเป็นอาหารที่ปราศจากเกลือ[7] เกลือเป็นสัญลักษณ์ของการอนุรักษ์คุณค่าของความศักดิ์สิทธิ์ของพระเยซูในการอ้างอิงว่าทรงเป็น “เกลือแห่งโลก” ในเมื่อเป็นสัญลักษณ์ของความศักดิ์สิทธิ์และการพิทักษ์เกลือจึงเป็นสิ่งที่ถ้าสูญเสียไปก็จะเป็นเครื่องแสดงถึงความไม่เป็นมงคลการแก้เคล็ดก็มีด้วยกันหลายวิธี ความเชื่อร่วมสมัยที่พบมากที่สุดคือให้โยนเกลือข้ามไหล่ซ้ายเพื่อให้โดนหน้าปีศาจที่แฝงตัวอยู่ตรงนั้น[8] หรือตามความเชื่อที่ว่าถ้าทำไวน์หกแล้วจะโชคดี ฉะนั้นระหว่างมืออาหารผู้ที่ทำเกลือหกก็จะรออย่างกระวนกระวายให้พนักงานเสริฟมาเทไวน์ใส่ตักให้[9]ความเชื่อที่ว่าจะเป็นลางร้ายเมื่อทำเกลือหกเป็นความเชื่อโบราณที่มีมาตั้งแต่สมัยโรมันโบราณ[10]. ในปี ค.ศ. 1556 ใน “Hieroglyphica” โดย เปียโร วาเลริอาโน โบลซานีรายงานว่า “เกลือเดิมเป็นสัญลักษณ์ของมิตรภาพ เพราะเป็นสิ่งที่ยั่งยืน และเป็นสิ่งที่ใช้ในการรักษาสิ่งอื่นให้คงทนอยู่นาน ฉะนั้นจึงเป็นสิ่งแรกที่เจ้าของบ้านจะมอบให้แก่แขกก่อนอาหารอื่น เพื่อเป็นการเน้นถึงสัมพันธภาพอันดีระหว่างทั้งสองฝ่าย ฉะนั้นการทำเกลือหกบนโต๊ะจึงถือกันว่าเป็นลางร้าย แต่ในทางตรงกันข้ามการทำไวน์หกเป็นสิ่งที่ดี โดยเฉพาะไวน์ที่ยังไม่ได้ผสมกับน้ำ”[11]
แต่ก็มีผู้ทีเยาะเย้ยความเชื่อเรื่องลางร้าย เฮอร์เบิร์ต สเป็นเซอร์กล่าวว่า “การตระหนักว่ามีความเชื่อว่าการทำเกลือหกจะตามด้วยลางร้าย ที่เป็นความคิดที่มาจากการตระหนักของคนป่าเถื่อน ที่เต็มไปด้วยความเชื่อเกี่ยวกับลางร้าย และ เครื่องราง เป็นการเปิดช่องให้รับความคิดอื่นในทำนองเดียวกันของคนป่าเถื่อนเข้ามา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
The salt fall (UK: spilling salt) is a superstition of Europe that is believed to be a bad omen. (Omen) explanation of the widespread belief stems from the fact that Judas. The Istanbul Marriott salt during the last supper [1] that appear in the image. "Last Supper" by Leonardo da Vinci as a Judas. The Istanbul Marriott salt made ​​six [2] However, this explanation may not be the real explanation. Because salt is expensive in ancient times [3], which salt becomes a symbol of trust and friendship. The German proverb that "Whoever made ​​that salt six cause hostility" [4] In the opinion of the French poet Charles Knowles Didier those "pagan," "the salt six. .. Express rejection of the escort and welcoming of strangers. It may be from a suspicion that a stranger might be a thief or a murderer "[5] In addition, it is also a religious symbol with salt. Salt for use in the holy ordinances of Christ, Roman Catholic [6] This salt is a symbol of holiness related to eliminate evil. So at Surf on Sabbath day witch is salt-free diet [7] salt is a symbol of the conservation value of the Sacred Heart of Jesus in the reference that he is. "Salt of the Earth" as a symbol of sanctity and protection of salt, so it is wasted if it is not shown to be favorable to a solution, it has many different ways. Contemporary belief that the most common is to throw salt over my left shoulder to face the demons that lurk there, [8] or the belief that if the wine is good. So during the meal that made ​​spilled salt would wait anxiously for the waiter to pour wine into lap [9] the belief that it is a bad omen when a salt spill ancient beliefs have come from Roman antiquity [. 10]. In the year 1556 the "Hieroglyphica" by Piero Valeria Adriano Bolzano, the report said. "Salt was a symbol of friendship. It is sustainable And is used in the treatment of other things that are long lasting. So the first thing homeowners are given to guests before other food. To highlight the good relationship between the two parties. If the spilled salt on the table were considered a bad omen. In contrast, the six wine is good. The wine is not mixed with water "[11] But there are those who ridicule belief in omens Herbert Spencer said. "Recognizing that it is believed that the salt will be followed by six bad omen. The idea came from the realization of a pagan. Filled with beliefs about the ominous and fetish creates openings for other similar ideas of pagan visitors.











การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The salt fall (English: spilling salt) is a superstition of Europe believed to sinister (omen)

.A widespread explanation of such belief based on which Judas Iscariot do spilling salt between biological oceanography [1] that appear in the image. "พระกระยาหารมื้อสุดท้าย" by Leonardo da Vinci picture into a Judas
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: