ประเพณีกำฟ้า อำเภอดอนพุดประวัติ / ความเป็นมา “กำฟ้า” เป็นประเพณีของชาว การแปล - ประเพณีกำฟ้า อำเภอดอนพุดประวัติ / ความเป็นมา “กำฟ้า” เป็นประเพณีของชาว อังกฤษ วิธีการพูด

ประเพณีกำฟ้า อำเภอดอนพุดประวัติ / ค

ประเพณีกำฟ้า อำเภอดอนพุด
ประวัติ / ความเป็นมา
“กำฟ้า” เป็นประเพณีของชาวไทยพวนในจังหวัดต่าง ที่มีชาวพวนอาศัยอยู่ได้ยึดถือปฏิบัติต่อกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณ
“กำ” ในภาษาไทยพวน หมายถึง การนับถือและสักการะบูชา ดังนั้น กำฟ้า จึงหมายถึงประเพณีนับถือ สักการะบูชาฟ้า เนื่องจากชาวพวนเป็นกลุ่มชนที่ประกอบอาชีพทางการเกษตร โดยเฉพาะการทำนา ในสมัยดั้งเดิมการทำนาต้องอาศัยน้ำฝนจากธรรมชาติ ชาวนาในสมัยนั้นจึงมีการเกรงกลัวฟ้ามาก ไม่กล้าที่จะทำอะไรให้ฟ้าพิโรธ ถ้าฟ้าพิโรธย่อมหมายถึง ความแห้งแล้ง อดยาก หรือฟ้าอาจผ่าคนตาย ประชาชนกลัวจะได้รับความทุกข์ยากอันเป็นภัยจากฟ้า จึงมีการเซ่นสรวง สักการะบูชาผีฟ้า ทั้งนี้ เพื่อเป็นการเอาใจ มิให้ฟ้าพิโรธ หรืออีกนัยหนึ่ง ชาวบ้านที่ประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรมนั้น รู้สึกสำนึกในบุญคุณของผีฟ้าที่ได้ให้น้ำฝน อันหมายถึงความชุ่มชื้น ความอุดมสมบูรณ์ มีชีวิตของคน สัตว์ และพืชพรรณต่างๆ จึงได้เกิดประเพณีกำฟ้าขึ้น เพื่อเป็นการประจบผีฟ้าไม่ให้พิโรธ และเป็นการแสดงความขอบคุณต่อเทพยาดาแห่งท้องฟ้าหรือผีฟ้า ดังกล่าวมาแล้ว
กำหนดงาน
ประเพณีกำฟ้า ยังคงปฏิบัติกันอยู่ในหมู่ชาวบ้านพวนทุกจังหวัดทั่วประเทศ แต่ละท้องที่จะกำหนด วัน เวลา คาดเคลื่อนกันไปบ้างในห้วงเวลาของเดือนอ้าย ขึ้น 14 ค่ำ เดือนยี่ ขึ้น 13 ค่ำ และเดือน3 ขึ้น 3 ค่ำ ทั้งนี้เป็นการตกลงของชาวพวนในแต่ละท้องที่ เดิมทีเดียวในหมู่คนพวนโดยทั่วไปจะถือเอาวันที่มีผู้ได้ยินเสียงฟ้าร้องครั้งแรกในเดือน 3 ให้เป็นวันเริ่มกำฟ้า แต่การยึดถือตามแนวนี้มักเกิดปัญหาในเรื่องข้อโต้แย้งกันอยู่เสมอว่า คนนั้นได้ยินคนนี้ไม่ได้ยิน เป็นที่รำคาญใจ การที่ได้ยินเสียงฟ้าร้องครั้งแรกในเดือน 3 นี้ ถือกันว่าฟ้าเปิดประตูน้ำ โดยมากกวานบ้าน (หัวหน้าหมู่บ้าน) จะถือเอาการฟังเสียงฟ้าของคนหูตึงในหมู่บ้านเป็นเกณฑ์ ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นเสียงฟ้าร้องที่ดังจริงๆ จนผู้คนสามารถได้ยินกันอย่างทั่วถึง
กิจกรรม / พิธี
กิจกรรมที่ชาวพวนถือปฏิบัติกันในระหว่างกำฟ้ามี 3ประการ คือ
ประการที่ 1 งดเว้นจากการงานที่ปฏิบัติอยู่เป็นประจำทั้งหมด
ประการที่ 2 ทำบุญใส่บาตร
ประการที่ 3 ประกอบพิธี ตั้งบายศรีบูชาฟ้าและประกาศขอพรจากเทพยาดาที่รักษาท้องฟ้า หรือผีฟ้า
ตามประเพณีนั้น “วันสุกดิบ” อันเป็นวันเตรียมงานตรงกับวันขึ้น 2 ค่ำ เดือน 3 บรรดาแม่บ้านช่วยกันทำกับข้าวปุ้น (ขนมจีน) ข้าวหลาม ข้าวจี่ เพื่อนำไปเซ่นผีฟ้า การเผาข้าวหลามทิพย์จะทำบริเวณลานวัด เวลาประมาณบ่ายสามโมงเย็น พระสงฆ์ทำพิธีเจริญพุทธมนต์เย็น ในปะรำพิธีที่จัดเตรียมไว้ผู้อาวุโสในหมู่บ้านที่มีความรู้ด้านการประกอนพิธี จะทำหน้าที่พราหมณ์สวดเบิกบายศรี บูชาเทพยาดา ผีฟ้าแล้วอ่านประกาศอัญเชิญเทวดาให้มารับเครื่องเซ่นสังเวย มารับรู้พิธีกรรม บางท้องที่มีการรำขอพรจากฟ้าเสร็จพิธีแล้วต่างก็แยกย้ายกันกลับบ้าน ตกกลางคืนก่อนเข้านอน คนแก่คนเฒ่าจะเอาไม้ไปเคาะที่เตาไฟแล้วกล่าวคำพูดอันเป็นมงคลในทำนองที่ให้ผีฟ้า ผีบ้าน ผีเรือน ช่วยมาปกป้องรักษาคนในครอบครัวให้มีความอยู่ดีมีสุข ให้ข้าวปลาอาหารอย่างอุดมสมบูรณ์ เช้าขึ้นเป็นวันกำฟ้า ทุกคนในบ้านรีบตื่นแต่เข้าตรู่ แม่บ้านเตรียมอาหารคาวหวานใส่สำรับไปถวายพระที่วัด ใส่บาตรพระด้วยข้าวหลาม ข้าวจี่ เมื่อพระสงฆ์ฉันภัตตาหารเสร็จแล้ว ชาวบ้านจะสังสรรค์ด้วยการรับประทานอาหารร่วมกัน ตกเวลาบ่ายไปจนเย็นและกลางคืนมีการละเล่น รื่นเริง เช่น แตะหม่าเบี้ย เส็งคลอง เซิ้งนางด้ง เซิ้งนางกวัก เซิ้งนางสะ ฯลฯ สำหรับการเซิ้งต่างๆ เป็นการเล่นที่เกี่ยวกับการทรงเจ้าเข้าผี ประกอบการร้องรำอย่างสนุกสนาน ในวันกำฟ้า ทุกคนจะหยุดงานหนึ่งวัน ตั้งแต่พระอาทิตย์ขึ้นจนพระอาทิตย์ตกดิน”เหล็กบ่เฮ้อต้องฆ้องบ่เฮ้อตี” (เฮ้อ = ให้, ต้อง = จับ) คงเป็นการป้องกหันมิให้ผู้คนถูกฟ้าผ่าในวันที่มีฟ้าคะนองนั่นเองในวันนี้ไม่มีการใช้งานสัตว์เลี้ยง ห้ามส่งเสียงอึกทึกครึกโครม ผู้ใดฝ่าฝืนเชื่อกันว่าจะถูกฟ้าลงโทษ หลังจากวันกำฟ้า (ขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3) ไป 7 วัน จะมีการกำฟ้าอีกครึ่งวัน และต่อจากครึ่งวันไปอีก 5 วัน จึงถือว่า “กำฟ้าแล้ว” (แล้ว = เสร็จ) ในวันนี้ชาวบ้านจะจัดอาหารคาวหวานไปถวายพระอีกครั้งหลังจากนั้นนำดุ้นฟืนที่ติดไฟ 1 ดุ้น ไปทำพิธีที่ลำน้ำ เรียกว่า “การเสียแล้ง” โดยการทิ้งดุ้นฟืนที่ติดไฟนั้นให้ไหลไปตามกระแสน้ำ เป็นการบูชาและระลึกถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ อีกทั้งยังเป็นการรบอกกล่าวแก่เทพยาดาผีฟ้าว่าหมดเขตกำฟ้าแล้ว ส่วนประเพณีกำฟ้าในปัจจุบัน คนเฒ่าคนแก่ที่เคยพบเห็นเป็นประเพณีกำฟ้าในอดีต ท่ามกลางสภาพแวดล้อมของธรรมชาติอย่างแท้จริง ต่างคร่ำครวญถึงความหลัง เสียงหม่าเบี้ยกระทบกระดาน เสียงลำพวนเสียงแคนสลับกับเสียงหัวเราะสนุกสนานเฮอา ซึ่งหาไม่ได้ในปัจจุบัน แต่ด้วยเสน่ห์ของวันประเพณีกำฟ้าแต่หนหลัง จึงได้มีการจัดงานวันกำฟ้า โดยประยุกต์รูปแบบวิธีการที่เข้ากับยุคสมัย มีการจัดงานกำฟ้ารำลึกขึ้น มีงานกินเลี้ยง สังสรรค์ประกอบเสียงดนตรี มีการแสดงสาธิต การละเล่นพื้นเมืองต่างๆ ส่วนภาคกลางวันมีพิธีการทางศาสนาตามเดิม บางท้องที่จัดงานในรูปของสวนสนุก มีมหรสพต่างๆ เพื่อจัดหารายได้ไปบำเพ็ญสาธารณกุศล เช่น สร้างโรงเรียน ศาลาวัด สถานีอานามัย สะพาน ฯลฯ นับว่าทุกวันนี้ประเพณีกำฟ้าได้แปรเปลี่ยนไปอย่างมาก ได้มีการจัดตั้งชมรมในหมู่บ้านชาวพวน เพื่อรวมตัวกันอนุรักษ์ส่งเสริมฟื้นฟูประเพณีวัฒนธรรมของชาวบ้านพวน ให้คงอยู่เพื่อชนรุ่นหลัง และชาวต่างชาติ ต่างภาษาได้เรียนรู้ถึงความเป็นอยู่ของชาวพวนในสมัยดั้งเดิม นับเป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างยิ่ง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีกำฟ้า อำเภอดอนพุด
ประวัติ / ความเป็นมา
“กำฟ้า” เป็นประเพณีของชาวไทยพวนในจังหวัดต่าง ที่มีชาวพวนอาศัยอยู่ได้ยึดถือปฏิบัติต่อกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณ
“กำ” ในภาษาไทยพวน หมายถึง การนับถือและสักการะบูชา ดังนั้น กำฟ้า จึงหมายถึงประเพณีนับถือ สักการะบูชาฟ้า เนื่องจากชาวพวนเป็นกลุ่มชนที่ประกอบอาชีพทางการเกษตร โดยเฉพาะการทำนา ในสมัยดั้งเดิมการทำนาต้องอาศัยน้ำฝนจากธรรมชาติ ชาวนาในสมัยนั้นจึงมีการเกรงกลัวฟ้ามาก ไม่กล้าที่จะทำอะไรให้ฟ้าพิโรธ ถ้าฟ้าพิโรธย่อมหมายถึง ความแห้งแล้ง อดยาก หรือฟ้าอาจผ่าคนตาย ประชาชนกลัวจะได้รับความทุกข์ยากอันเป็นภัยจากฟ้า จึงมีการเซ่นสรวง สักการะบูชาผีฟ้า ทั้งนี้ เพื่อเป็นการเอาใจ มิให้ฟ้าพิโรธ หรืออีกนัยหนึ่ง ชาวบ้านที่ประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรมนั้น รู้สึกสำนึกในบุญคุณของผีฟ้าที่ได้ให้น้ำฝน อันหมายถึงความชุ่มชื้น ความอุดมสมบูรณ์ มีชีวิตของคน สัตว์ และพืชพรรณต่างๆ จึงได้เกิดประเพณีกำฟ้าขึ้น เพื่อเป็นการประจบผีฟ้าไม่ให้พิโรธ และเป็นการแสดงความขอบคุณต่อเทพยาดาแห่งท้องฟ้าหรือผีฟ้า ดังกล่าวมาแล้ว
กำหนดงาน
ประเพณีกำฟ้า ยังคงปฏิบัติกันอยู่ในหมู่ชาวบ้านพวนทุกจังหวัดทั่วประเทศ แต่ละท้องที่จะกำหนด วัน เวลา คาดเคลื่อนกันไปบ้างในห้วงเวลาของเดือนอ้าย ขึ้น 14 ค่ำ เดือนยี่ ขึ้น 13 ค่ำ และเดือน3 ขึ้น 3 ค่ำ ทั้งนี้เป็นการตกลงของชาวพวนในแต่ละท้องที่ เดิมทีเดียวในหมู่คนพวนโดยทั่วไปจะถือเอาวันที่มีผู้ได้ยินเสียงฟ้าร้องครั้งแรกในเดือน 3 ให้เป็นวันเริ่มกำฟ้า แต่การยึดถือตามแนวนี้มักเกิดปัญหาในเรื่องข้อโต้แย้งกันอยู่เสมอว่า คนนั้นได้ยินคนนี้ไม่ได้ยิน เป็นที่รำคาญใจ การที่ได้ยินเสียงฟ้าร้องครั้งแรกในเดือน 3 นี้ ถือกันว่าฟ้าเปิดประตูน้ำ โดยมากกวานบ้าน (หัวหน้าหมู่บ้าน) จะถือเอาการฟังเสียงฟ้าของคนหูตึงในหมู่บ้านเป็นเกณฑ์ ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นเสียงฟ้าร้องที่ดังจริงๆ จนผู้คนสามารถได้ยินกันอย่างทั่วถึง
กิจกรรม / พิธี
กิจกรรมที่ชาวพวนถือปฏิบัติกันในระหว่างกำฟ้ามี 3ประการ คือ
ประการที่ 1 งดเว้นจากการงานที่ปฏิบัติอยู่เป็นประจำทั้งหมด
ประการที่ 2 ทำบุญใส่บาตร
ประการที่ 3 ประกอบพิธี ตั้งบายศรีบูชาฟ้าและประกาศขอพรจากเทพยาดาที่รักษาท้องฟ้า หรือผีฟ้า
ตามประเพณีนั้น “วันสุกดิบ” อันเป็นวันเตรียมงานตรงกับวันขึ้น 2 ค่ำ เดือน 3 บรรดาแม่บ้านช่วยกันทำกับข้าวปุ้น (ขนมจีน) ข้าวหลาม ข้าวจี่ เพื่อนำไปเซ่นผีฟ้า การเผาข้าวหลามทิพย์จะทำบริเวณลานวัด เวลาประมาณบ่ายสามโมงเย็น พระสงฆ์ทำพิธีเจริญพุทธมนต์เย็น ในปะรำพิธีที่จัดเตรียมไว้ผู้อาวุโสในหมู่บ้านที่มีความรู้ด้านการประกอนพิธี จะทำหน้าที่พราหมณ์สวดเบิกบายศรี บูชาเทพยาดา ผีฟ้าแล้วอ่านประกาศอัญเชิญเทวดาให้มารับเครื่องเซ่นสังเวย มารับรู้พิธีกรรม บางท้องที่มีการรำขอพรจากฟ้าเสร็จพิธีแล้วต่างก็แยกย้ายกันกลับบ้าน ตกกลางคืนก่อนเข้านอน คนแก่คนเฒ่าจะเอาไม้ไปเคาะที่เตาไฟแล้วกล่าวคำพูดอันเป็นมงคลในทำนองที่ให้ผีฟ้า ผีบ้าน ผีเรือน ช่วยมาปกป้องรักษาคนในครอบครัวให้มีความอยู่ดีมีสุข ให้ข้าวปลาอาหารอย่างอุดมสมบูรณ์ เช้าขึ้นเป็นวันกำฟ้า ทุกคนในบ้านรีบตื่นแต่เข้าตรู่ แม่บ้านเตรียมอาหารคาวหวานใส่สำรับไปถวายพระที่วัด ใส่บาตรพระด้วยข้าวหลาม ข้าวจี่ เมื่อพระสงฆ์ฉันภัตตาหารเสร็จแล้ว ชาวบ้านจะสังสรรค์ด้วยการรับประทานอาหารร่วมกัน ตกเวลาบ่ายไปจนเย็นและกลางคืนมีการละเล่น รื่นเริง เช่น แตะหม่าเบี้ย เส็งคลอง เซิ้งนางด้ง เซิ้งนางกวัก เซิ้งนางสะ ฯลฯ สำหรับการเซิ้งต่างๆ เป็นการเล่นที่เกี่ยวกับการทรงเจ้าเข้าผี ประกอบการร้องรำอย่างสนุกสนาน ในวันกำฟ้า ทุกคนจะหยุดงานหนึ่งวัน ตั้งแต่พระอาทิตย์ขึ้นจนพระอาทิตย์ตกดิน”เหล็กบ่เฮ้อต้องฆ้องบ่เฮ้อตี” (เฮ้อ = ให้, ต้อง = จับ) คงเป็นการป้องกหันมิให้ผู้คนถูกฟ้าผ่าในวันที่มีฟ้าคะนองนั่นเองในวันนี้ไม่มีการใช้งานสัตว์เลี้ยง ห้ามส่งเสียงอึกทึกครึกโครม ผู้ใดฝ่าฝืนเชื่อกันว่าจะถูกฟ้าลงโทษ หลังจากวันกำฟ้า (ขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3) ไป 7 วัน จะมีการกำฟ้าอีกครึ่งวัน และต่อจากครึ่งวันไปอีก 5 วัน จึงถือว่า “กำฟ้าแล้ว” (แล้ว = เสร็จ) ในวันนี้ชาวบ้านจะจัดอาหารคาวหวานไปถวายพระอีกครั้งหลังจากนั้นนำดุ้นฟืนที่ติดไฟ 1 ดุ้น ไปทำพิธีที่ลำน้ำ เรียกว่า “การเสียแล้ง” โดยการทิ้งดุ้นฟืนที่ติดไฟนั้นให้ไหลไปตามกระแสน้ำ เป็นการบูชาและระลึกถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ อีกทั้งยังเป็นการรบอกกล่าวแก่เทพยาดาผีฟ้าว่าหมดเขตกำฟ้าแล้ว ส่วนประเพณีกำฟ้าในปัจจุบัน คนเฒ่าคนแก่ที่เคยพบเห็นเป็นประเพณีกำฟ้าในอดีต ท่ามกลางสภาพแวดล้อมของธรรมชาติอย่างแท้จริง ต่างคร่ำครวญถึงความหลัง เสียงหม่าเบี้ยกระทบกระดาน เสียงลำพวนเสียงแคนสลับกับเสียงหัวเราะสนุกสนานเฮอา ซึ่งหาไม่ได้ในปัจจุบัน แต่ด้วยเสน่ห์ของวันประเพณีกำฟ้าแต่หนหลัง จึงได้มีการจัดงานวันกำฟ้า โดยประยุกต์รูปแบบวิธีการที่เข้ากับยุคสมัย มีการจัดงานกำฟ้ารำลึกขึ้น มีงานกินเลี้ยง สังสรรค์ประกอบเสียงดนตรี มีการแสดงสาธิต การละเล่นพื้นเมืองต่างๆ ส่วนภาคกลางวันมีพิธีการทางศาสนาตามเดิม บางท้องที่จัดงานในรูปของสวนสนุก มีมหรสพต่างๆ เพื่อจัดหารายได้ไปบำเพ็ญสาธารณกุศล เช่น สร้างโรงเรียน ศาลาวัด สถานีอานามัย สะพาน ฯลฯ นับว่าทุกวันนี้ประเพณีกำฟ้าได้แปรเปลี่ยนไปอย่างมาก ได้มีการจัดตั้งชมรมในหมู่บ้านชาวพวน เพื่อรวมตัวกันอนุรักษ์ส่งเสริมฟื้นฟูประเพณีวัฒนธรรมของชาวบ้านพวน ให้คงอยู่เพื่อชนรุ่นหลัง และชาวต่างชาติ ต่างภาษาได้เรียนรู้ถึงความเป็นอยู่ของชาวพวนในสมัยดั้งเดิม นับเป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างยิ่ง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีกำฟ้า อำเภอดอนพุด
ประวัติ / ความเป็นมา
“กำฟ้า” เป็นประเพณีของชาวไทยพวนในจังหวัดต่าง ที่มีชาวพวนอาศัยอยู่ได้ยึดถือปฏิบัติต่อกันมาตั้งแต่ครั้งโบราณ
“กำ” ในภาษาไทยพวน หมายถึง การนับถือและสักการะบูชา ดังนั้น กำฟ้า จึงหมายถึงประเพณีนับถือ สักการะบูชาฟ้า เนื่องจากชาวพวนเป็นกลุ่มชนที่ประกอบอาชีพทางการเกษตร โดยเฉพาะการทำนา ในสมัยดั้งเดิมการทำนาต้องอาศัยน้ำฝนจากธรรมชาติ ชาวนาในสมัยนั้นจึงมีการเกรงกลัวฟ้ามาก ไม่กล้าที่จะทำอะไรให้ฟ้าพิโรธ ถ้าฟ้าพิโรธย่อมหมายถึง ความแห้งแล้ง อดยาก หรือฟ้าอาจผ่าคนตาย ประชาชนกลัวจะได้รับความทุกข์ยากอันเป็นภัยจากฟ้า จึงมีการเซ่นสรวง สักการะบูชาผีฟ้า ทั้งนี้ เพื่อเป็นการเอาใจ มิให้ฟ้าพิโรธ หรืออีกนัยหนึ่ง ชาวบ้านที่ประกอบอาชีพทางด้านเกษตรกรรมนั้น รู้สึกสำนึกในบุญคุณของผีฟ้าที่ได้ให้น้ำฝน อันหมายถึงความชุ่มชื้น ความอุดมสมบูรณ์ มีชีวิตของคน สัตว์ และพืชพรรณต่างๆ จึงได้เกิดประเพณีกำฟ้าขึ้น เพื่อเป็นการประจบผีฟ้าไม่ให้พิโรธ และเป็นการแสดงความขอบคุณต่อเทพยาดาแห่งท้องฟ้าหรือผีฟ้า ดังกล่าวมาแล้ว
กำหนดงาน
ประเพณีกำฟ้า ยังคงปฏิบัติกันอยู่ในหมู่ชาวบ้านพวนทุกจังหวัดทั่วประเทศ แต่ละท้องที่จะกำหนด วัน เวลา คาดเคลื่อนกันไปบ้างในห้วงเวลาของเดือนอ้าย ขึ้น 14 ค่ำ เดือนยี่ ขึ้น 13 ค่ำ และเดือน3 ขึ้น 3 ค่ำ ทั้งนี้เป็นการตกลงของชาวพวนในแต่ละท้องที่ เดิมทีเดียวในหมู่คนพวนโดยทั่วไปจะถือเอาวันที่มีผู้ได้ยินเสียงฟ้าร้องครั้งแรกในเดือน 3 ให้เป็นวันเริ่มกำฟ้า แต่การยึดถือตามแนวนี้มักเกิดปัญหาในเรื่องข้อโต้แย้งกันอยู่เสมอว่า คนนั้นได้ยินคนนี้ไม่ได้ยิน เป็นที่รำคาญใจ การที่ได้ยินเสียงฟ้าร้องครั้งแรกในเดือน 3 นี้ ถือกันว่าฟ้าเปิดประตูน้ำ โดยมากกวานบ้าน (หัวหน้าหมู่บ้าน) จะถือเอาการฟังเสียงฟ้าของคนหูตึงในหมู่บ้านเป็นเกณฑ์ ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นเสียงฟ้าร้องที่ดังจริงๆ จนผู้คนสามารถได้ยินกันอย่างทั่วถึง
กิจกรรม / พิธี
กิจกรรมที่ชาวพวนถือปฏิบัติกันในระหว่างกำฟ้ามี 3ประการ คือ
ประการที่ 1 งดเว้นจากการงานที่ปฏิบัติอยู่เป็นประจำทั้งหมด
ประการที่ 2 ทำบุญใส่บาตร
ประการที่ 3 ประกอบพิธี ตั้งบายศรีบูชาฟ้าและประกาศขอพรจากเทพยาดาที่รักษาท้องฟ้า หรือผีฟ้า
ตามประเพณีนั้น “วันสุกดิบ” อันเป็นวันเตรียมงานตรงกับวันขึ้น 2 ค่ำ เดือน 3 บรรดาแม่บ้านช่วยกันทำกับข้าวปุ้น (ขนมจีน) ข้าวหลาม ข้าวจี่ เพื่อนำไปเซ่นผีฟ้า การเผาข้าวหลามทิพย์จะทำบริเวณลานวัด เวลาประมาณบ่ายสามโมงเย็น พระสงฆ์ทำพิธีเจริญพุทธมนต์เย็น ในปะรำพิธีที่จัดเตรียมไว้ผู้อาวุโสในหมู่บ้านที่มีความรู้ด้านการประกอนพิธี จะทำหน้าที่พราหมณ์สวดเบิกบายศรี บูชาเทพยาดา ผีฟ้าแล้วอ่านประกาศอัญเชิญเทวดาให้มารับเครื่องเซ่นสังเวย มารับรู้พิธีกรรม บางท้องที่มีการรำขอพรจากฟ้าเสร็จพิธีแล้วต่างก็แยกย้ายกันกลับบ้าน ตกกลางคืนก่อนเข้านอน คนแก่คนเฒ่าจะเอาไม้ไปเคาะที่เตาไฟแล้วกล่าวคำพูดอันเป็นมงคลในทำนองที่ให้ผีฟ้า ผีบ้าน ผีเรือน ช่วยมาปกป้องรักษาคนในครอบครัวให้มีความอยู่ดีมีสุข ให้ข้าวปลาอาหารอย่างอุดมสมบูรณ์ เช้าขึ้นเป็นวันกำฟ้า ทุกคนในบ้านรีบตื่นแต่เข้าตรู่ แม่บ้านเตรียมอาหารคาวหวานใส่สำรับไปถวายพระที่วัด ใส่บาตรพระด้วยข้าวหลาม ข้าวจี่ เมื่อพระสงฆ์ฉันภัตตาหารเสร็จแล้ว ชาวบ้านจะสังสรรค์ด้วยการรับประทานอาหารร่วมกัน ตกเวลาบ่ายไปจนเย็นและกลางคืนมีการละเล่น รื่นเริง เช่น แตะหม่าเบี้ย เส็งคลอง เซิ้งนางด้ง เซิ้งนางกวัก เซิ้งนางสะ ฯลฯ สำหรับการเซิ้งต่างๆ เป็นการเล่นที่เกี่ยวกับการทรงเจ้าเข้าผี ประกอบการร้องรำอย่างสนุกสนาน ในวันกำฟ้า ทุกคนจะหยุดงานหนึ่งวัน ตั้งแต่พระอาทิตย์ขึ้นจนพระอาทิตย์ตกดิน”เหล็กบ่เฮ้อต้องฆ้องบ่เฮ้อตี” (เฮ้อ = ให้, ต้อง = จับ) คงเป็นการป้องกหันมิให้ผู้คนถูกฟ้าผ่าในวันที่มีฟ้าคะนองนั่นเองในวันนี้ไม่มีการใช้งานสัตว์เลี้ยง ห้ามส่งเสียงอึกทึกครึกโครม ผู้ใดฝ่าฝืนเชื่อกันว่าจะถูกฟ้าลงโทษ หลังจากวันกำฟ้า (ขึ้น 3 ค่ำ เดือน 3) ไป 7 วัน จะมีการกำฟ้าอีกครึ่งวัน และต่อจากครึ่งวันไปอีก 5 วัน จึงถือว่า “กำฟ้าแล้ว” (แล้ว = เสร็จ) ในวันนี้ชาวบ้านจะจัดอาหารคาวหวานไปถวายพระอีกครั้งหลังจากนั้นนำดุ้นฟืนที่ติดไฟ 1 ดุ้น ไปทำพิธีที่ลำน้ำ เรียกว่า “การเสียแล้ง” โดยการทิ้งดุ้นฟืนที่ติดไฟนั้นให้ไหลไปตามกระแสน้ำ เป็นการบูชาและระลึกถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่างๆ อีกทั้งยังเป็นการรบอกกล่าวแก่เทพยาดาผีฟ้าว่าหมดเขตกำฟ้าแล้ว ส่วนประเพณีกำฟ้าในปัจจุบัน คนเฒ่าคนแก่ที่เคยพบเห็นเป็นประเพณีกำฟ้าในอดีต ท่ามกลางสภาพแวดล้อมของธรรมชาติอย่างแท้จริง ต่างคร่ำครวญถึงความหลัง เสียงหม่าเบี้ยกระทบกระดาน เสียงลำพวนเสียงแคนสลับกับเสียงหัวเราะสนุกสนานเฮอา ซึ่งหาไม่ได้ในปัจจุบัน แต่ด้วยเสน่ห์ของวันประเพณีกำฟ้าแต่หนหลัง จึงได้มีการจัดงานวันกำฟ้า โดยประยุกต์รูปแบบวิธีการที่เข้ากับยุคสมัย มีการจัดงานกำฟ้ารำลึกขึ้น มีงานกินเลี้ยง สังสรรค์ประกอบเสียงดนตรี มีการแสดงสาธิต การละเล่นพื้นเมืองต่างๆ ส่วนภาคกลางวันมีพิธีการทางศาสนาตามเดิม บางท้องที่จัดงานในรูปของสวนสนุก มีมหรสพต่างๆ เพื่อจัดหารายได้ไปบำเพ็ญสาธารณกุศล เช่น สร้างโรงเรียน ศาลาวัด สถานีอานามัย สะพาน ฯลฯ นับว่าทุกวันนี้ประเพณีกำฟ้าได้แปรเปลี่ยนไปอย่างมาก ได้มีการจัดตั้งชมรมในหมู่บ้านชาวพวน เพื่อรวมตัวกันอนุรักษ์ส่งเสริมฟื้นฟูประเพณีวัฒนธรรมของชาวบ้านพวน ให้คงอยู่เพื่อชนรุ่นหลัง และชาวต่างชาติ ต่างภาษาได้เรียนรู้ถึงความเป็นอยู่ของชาวพวนในสมัยดั้งเดิม นับเป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างยิ่ง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีกำฟ้า kantang district. "กำฟ้า

history / background." a tradition of Thai phuan people in จังหวัดต่าง. With the young live abide together from ancient times
."Kam" in Thai phuan means respect and worship, so กำฟ้า is referred to ประเพณีนับถือ, worship the sky. Because the group and hit the agricultural, especially farming.The farmer in those days was the fear of heaven. Do not dare to do. If the sky blue anger anger would mean the drought, starve, or blue อาจผ่า dead. People are afraid of suffering the disaster from the sky, it is a sacrifice to the heaven,In order to appease the MI sky anger or in other words. The villagers work in agriculture. Feel grateful to disclose that rain water which means the moisture, abundance, the life of the people, animals.It has happened ประเพณีกำฟ้า. To flatter disclose not anger. And to show my appreciation to the angels of heaven or disclose such here
.Determined
.ประเพณีกำฟ้า still practice are amongst the locals and all provinces, each local จะกำหนด day time deviate to some in the time of lunar month. Up 14 dinner brand up 13 dinner and a month 3 up 3 dinner.Formerly among people of generally taken on the first heard thunder in the months 3 to is the start of กำฟ้า. But this approach is usually based on the arguments always. He heard this one doesn't hear.Hearing thunder for the first time in a month 3, held that the open water by Guan home (หัวหน้า Village). To equate listening sky of hard of hearing persons village as a criterion in order to sound the singer really popular.Events / activities of Puan ceremony
practised during กำฟ้า have 3 factors is notable 1 abstain abstinence from
work practice regularly all
. Second, 2 charity bowl
.Second, 3 ceremony. Set offering worship heaven and announced a wish angels treated the sky or disclose
.According to tradition. "วันสุกดิบ" as the preparation match days 2 night the moon maid 3 all help each other to Poon (noodles), diamonds Khowjee to propitiate the disclose, burning in bamboo tip will do the temple yard.The growth of Buddhist chanting monks cold. In it the provided the village with a knowledge of the gun ceremony. Do เบิกบายศรี Brahmin pray worship angels.To know the ritual. Some areas have a dance for the blessing from the sky after the ceremony, they went home at night before sleep. The old man'll stick to knock at the fireplace and words and melody to disclose auspicious household spirit., ghost house.Rice fish food in abundance. Morning is กำฟ้า. Everyone in the house but to wake up early. The maid prepare savory on deck to the monks at the temple, the monks monks with diamonds khowjee. When the food I finished.Fall afternoon, evening and night until a play, joyful, such as tap Ma pawn Seng canal. เซิ้งนาง Dong Sheng Nang Kwak dance นางสะ, etc. for the dance. A play on the riverside. In sing joyfullyEveryone have the day off. From sunrise until sunset. "Steel no sigh to Gong Bo ah hit" (I =,,Must = catch) was protected, it allowed people struck by lightning in the sky the fiery itself today no using PET. Not a tumultuous Any violation is believed to be heaven. After the กำฟ้า (up 3 night the moon 3).7 days, there will be more blue, half a day, and from half a day to 5 days is considered. "กำฟ้า" (= finish) today people will arrange a sweet smell to monks again after the kindling firewood kindling 1 stick. To the river calledBy leaving kindling firewood kindling to flow along the stream. Worship and commemorate holy. It also needs notice to disclose that the fairy godmother กำฟ้า deadline. The ประเพณีกำฟ้า nowadays.In the environment of nature, different lament nostalgic sound Ma interest impact board. The sound ลำพวน sound can switch with laughter, it will be fun heritage today.The กำฟ้า day! By applying the method that matches the period. There is a memorial กำฟ้า. Have get-together party composed music, demonstrate the native entertainment services.Some local events in the form of amusement, entertainment services, to provide income to charity, such as building a school, temple town station ana Bridge, etc. is nowadays ประเพณีกำฟ้า has changed greatly.To promote the restoration of gathering conservation cultural traditions of the villagers and to remain for generations after and foreigners. Foreign language learning to the well-being of people in modern and traditional The social benefits, especially
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: