ศิลปะการใช้ภาษาวรรณศิลป์เป็นเครื่องมือสำคัญยิ่งในการสร้างสรรค์งานวรรณก การแปล - ศิลปะการใช้ภาษาวรรณศิลป์เป็นเครื่องมือสำคัญยิ่งในการสร้างสรรค์งานวรรณก อังกฤษ วิธีการพูด

ศิลปะการใช้ภาษาวรรณศิลป์เป็นเครื่อง

ศิลปะการใช้ภาษาวรรณศิลป์เป็นเครื่องมือสำคัญยิ่งในการสร้างสรรค์งานวรรณกรรม ภาษาเป็น องค์ประกอบสำคัญที่ผู้ประพันธ์เลือกสรรถ้อยคำ ประโยค สำนวนโวหาร และภาพพจน์ ใช้เพื่อสื่อความคิด มุมมองใหม่ นัยที่คมคายลึกซึ่ง ผ่านภาษาที่สวยงาม สรรค์สร้างเรื่องราวให้ขับเคลื่อนดำเนินไปตามที่ประสงค์ ศิลปะการนำเสนอที่ชวนติดตามด้วยความเพลิดเพลิน อันจะทำให้ผู้อ่านรับรู้ เกิดจินตนาการ เข้าใจ ยอมรับ และประทับใจเมื่อได้อ่านงานวรรณกรรม ผู้ประพันธ์แต่ละท่านยอมมีศิลปะการใช้ภาษาที่เป็นเอกลักษณ์ ความสามารถเฉพาะตัวในการทำให้องค์ประกอบต่างๆ ของภาษาสอดรับกันได้อย่างสอดคล้องลงตัวพอดี เพื่อสร้างให้งานเขียนมีความโดดเด่น น่าสนใจ และเกิดอรรถรสในการอ่าน
เดือนวาด พิมวนา เป็นนักเขียนหญิงคุณภาพรุ่นใหม่อีกคนหนึ่งของวงการวรรณกรรม ที่สร้างสรรค์ งานประพันธ์ผ่านศิลปะการใช้ภาษาได้อย่างประณีตบรรจง พิถีพิถัน เลือกสรรภาษาวรรณศิลป์ได้อย่างสละ สลวย สมเหตุสมผล และสมจริง โดยมีผลงานอย่างตอเนื่อง และได้รับความนิยมจากผู้อ่านเป็นจำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นงานประพันธ์ประเภท “เรื่องสั้น” ไดแก่ รวมเรื่องสั้นคัดสรร ชุด ‘หนังสือเล่มสอง’ ‘สัมพันธภาพ’ และ ‘ทุกข์หฤหรรษ์’ เรื่องสั้นขนาดยาว เรื่อง ‘คุณสงคราม’ งานประพันธ์ประเภท “เรื่องเล่าเชิงความเรียง” ชื่อว่า ‘แดดสิบแปดนาฬิกา’ และงานประพันธ์ประเภท “นวนิยาย” เรื่อง ‘ช่างสาราญ’
เป็นที่น่าสังเกตว่า เดือนวาด พิมวนา เป็นหนังในนักเขียนที่ได้รับรางวัลอย่างสม่ำเสมอ งานประพันธ์ ประเภท‘เรื่องสั้น’ มักจะได้รับรางวัลสำคัญด้านวรรณกรรม เช่น “รางวัลช่อการะเกด” ซึ่งเป็นนักเขียนหญิง คนแรกที่ได้รับรางวัลช่อการะเกดถึง 4 ครั้ง ดังนี้ ครั้งแรก พ.ศ. 2535 เรื่อง ‘รอยภาพ’ ครั้งที่สอง พ.ศ. 2536 เรื่อง ‘ผู้บรรลุ’ ครั้งที่สาม พ.ศ. 2537 เรื่อง ‘กาละแห่งการงาน’ และครั้งล่าสุด พ.ศ. 2552 เรื่อง ‘ลารา’
การประกวดและมอบรางวัลแก่ผลงานวรรณกรรมเป็นปัจจัยสำคัญที่สร้างแรงจูงใจต่อนักประพันธ์ ทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของงานเขียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง งานวรรณกรรมประเภท ‘นวนิยาย’ ถือได้ว่า เดือนวาด ประสบความสำเร็จอย่างดีเยี่ยม นวนิยายเรื่องแรกในชีวิต คือ เรื่อง “ช่างสำราญ” ได้รับรางวัล ซีไรต์ (The S.E.A. Write Awards) หรือรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (South East Asian Writers Awards) ประจำปีพุทธศักราช 2546 ถือได้ว่าเป็นนักเขียนหญิงลำดับที่ 4 ที่ได้รบรางวัลอัน ทรงคุณค่านี้ ในโอกาสครบรอบ 25 ปีของการมอบรางวัลซีไรต์
คณะกรรมการรอบตัดสินมีมติเป็นเอกฉันท์ ประกาศให้นวนิยาย เรื่อง “ช่างสำราญ” ได้รับรางวัลซีไรต์ประจำปีพุทธศักราช 2546 ดังมีคำประกาศรางวัลจากคณะกรรมการ ดังนี้ “...นี้คือ
นวนิยายที่เรียบง่าย และงดงามเปี่ยมความหวัง ความฝัน และความเชื่อมันศรัทธาในด้านดีของจิตใจของมนุษย์...” ประภัสสร เสวิกุล (2546, หนา 15) ซึ่งเป็นหนึ่งในคณะกรรมการรอบตัดสินได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับ นวนิยายรางวัล ซีไรต์ เรื่อง “ช่างสำราญ” ไว้ว่า “เป็นนวนิยายที่เล็กแต่ใหญ่ งายแต่งาม เจ็บปวดแต่ไม่รวดราวและขื่นขมแต่ไม่ขมขื่น”
จากทัศนะข้างต้นจะเห็นได้ว่า นวนิยายเรื่องนี้มีวิธีการนำเสนอที่แยบยล สื่อแสดงเรื่องธรรมดา ที่ไม่ธรรมดา เรื่องเศร้าโศกแต่ไม่โศกเศร้า ทำให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกตรงกันข้าม จะเห็นได้ว่าศิลปะการใช้ภาษาเข้ามา มีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดเรื่องราวเหล่านี้เป็นอย่างยิ่ง ด้วยคุณสมบัติดังกล่าวข้างต้นนี้ เรื่อง “ช่างสำราญ” ของเดือนวาด พิมวนา จึงเป็นวรรณกรรมประเภทนวนิยายที่มีความดีเด่น สมควรแก่การ ยกย่องให้เป็นวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมของประเทศไทย ประจำปี 2546 จากรางวัลดังกล่าวข้างต้น ยอมแสดงถึงความสามารถใน การสรรค์สร้างวรรณกรรม ของเดือนวาด พิมวนา ถือได้ว่าเป็นเครื่องยืนยัน ถึงความเป็นนักเขียนมืออาชีพได้เป็นอย่างดี
นวนิยายซีไรต์ เรื่อง “ช่างสำราญ” เป็นนวนิยายคุณภาพเรื่องหนึ่งของเดือนวาด พิมวนา ซึ่งจัดได้ ว่ามีคุณค่าทั้งเริงรมย์และเริงปัญญา สร้างความประทบใจแก่ผู้อ่านจำนวนมาก สังเกตได้จากจำนวนครั้งที่ ตีพิมพ์จนถึงขณะนี้ (พ.ศ. 2554) พิมพ์เป็นครั้งที่ 15 แล้ว
เวียง – วชิระ บัวสนธ์ (2546, หน้า 1) บรรณาธิการของนวนิยายเรื่องนี้ได้แสดงความคิดเห็นเปรียบเทียบ ระหว่างผลงานเล่มแรก คือ รวมเรื่องสั้นคัดสรร ชุด ‘หนังสือเล่มสอง’ และผลงาน
นวนิยาย เรื่อง ‘ช่างสำราญ’ด้านการใช้ภาษาของเดือนวาด พิมวนา ไว้ว่า “หากเปรียบเทียบกันระหว่างผลงานเล่มแรกกับ ‘ช่างสำราญ’ เล่มนี้ จะเห็นได้ว่าเดือนวาด มีพัฒนาการทั้งในแง่วิธีเล่าเรื่อง และการใช้ภาษาที่สอดรับกับตัวเนื้อได้อย่างน่าสนใจยิ่ง”
สิริวรรณ นันทจันทูล (2552, หนา 77) ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับศิลปะการใช้ภาษาใน วรรณกรรม ไว้ว่า “นวนิยายเป็นวรรณกรรมบันเทิงคดีที่ถ่ายทอดลีลาการใช้ภาษาของผู้ประพันธ์ได้อย่างดียิ่ง หากผู้ประพันธ์มีศิลปะการใช้ภาษาได้อย่างยอดเยี่ยมก็จะแสดงลีลาภาษาที่โดดเด่นทำให้ผู้อ่านได้รับอรรถรสและเกิดจินตภาพตามที่ผู้ประพันธ์ประสงค์”
จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าการใช้ภาษาในวรรณกรรม หากผู้ประพันธ์มีการเลือกใช้ภาษาที่น่า สนใจ จะมีพลังในการสื่อสารมาก ส่งผลให้เนื้อเรื่องสนุกสนาน ซึ่งจัดได้ว่าทั้งเริงรมย์และเริงปัญญา ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาหาคำตอบว่า เดือนวาด พิมวนา มีลักษณะเด่นในการนำเสนอศิลปะการใช้ภาษาในนวนิยาย เรื่อง‘ช่างสำราญ’ เป็นอย่างไร จึงส่งผลได้รับรางวัลซีไรต์ และสร้างความประทับใจแก่ผู้อ่าน ประกอบกับยังไม่มี งานวิจัยใดที่ศึกษาเกี่ยวกับศิลปะการใช้ภาษาในนวนิยายเรื่องนี้มาก่อนการศึกษาศิลปะการใช้ภาษาจึงเป็นทีมาของงานวิจัยนี้ โดยมุ่งศึกษาวิเคราะห์การใช้ภาษา 4 ด้านได้แก่ การใช้คำ การใช้ประโยค การใช้สำนวน โวหารและการใช้ภาพพจน์ เพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางในการใช้ภาษาของนวนิยายเรื่องนี้ อันจะทำให้เห็นความสามารถเชิงวรรณศิลป์ของเดือนวาด พิมวนาซึ่งจะก่อใหเกิดประโยชน์แก่ผู้ที่สนในวร
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Language arts is a vital tool in wansin creative literary works. Language is an important element that the author borrows stylistic idioms and sentence wording used imagery to view new media ideas. Implied that evolve through the beautiful language, which Create a story to the purpose driven Presentation of the art track with enjoyment. Which would make the readers perception, imagination, understand, accept, and impressed to read literary works. Each author has agreed to language arts is unique. The unique ability to make the various elements of the corresponding language compliance. fits. To create outstanding writing and interesting to read. Month draw quality women writers is a PIM WANA new versions of one another's creative literature. Work through the literature language arts has a meticulous selection of elaborately wansin well-arranged? language is reasonable and realistic. Sample serial and work from a lot of readers. Whether it is a work of literature in the category "short stories" series, including selection of short stories unto ' the two ' books ' relations ' and ' distress ' to rejoice. Long story short story ' the war '. Job type "composers, linear story demands sort" named ' sunny ' and clock work authored eighteen categories "subject" novels, the technician can ran '. เป็นที่น่าสังเกตว่า เดือนวาด พิมวนา เป็นหนังในนักเขียนที่ได้รับรางวัลอย่างสม่ำเสมอ งานประพันธ์ ประเภท‘เรื่องสั้น’ มักจะได้รับรางวัลสำคัญด้านวรรณกรรม เช่น “รางวัลช่อการะเกด” ซึ่งเป็นนักเขียนหญิง คนแรกที่ได้รับรางวัลช่อการะเกดถึง 4 ครั้ง ดังนี้ ครั้งแรก พ.ศ. 2535 เรื่อง ‘รอยภาพ’ ครั้งที่สอง พ.ศ. 2536 เรื่อง ‘ผู้บรรลุ’ ครั้งที่สาม พ.ศ. 2537 เรื่อง ‘กาละแห่งการงาน’ และครั้งล่าสุด พ.ศ. 2552 เรื่อง ‘ลารา’ การประกวดและมอบรางวัลแก่ผลงานวรรณกรรมเป็นปัจจัยสำคัญที่สร้างแรงจูงใจต่อนักประพันธ์ ทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของงานเขียน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง งานวรรณกรรมประเภท ‘นวนิยาย’ ถือได้ว่า เดือนวาด ประสบความสำเร็จอย่างดีเยี่ยม นวนิยายเรื่องแรกในชีวิต คือ เรื่อง “ช่างสำราญ” ได้รับรางวัล ซีไรต์ (The S.E.A. Write Awards) หรือรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (South East Asian Writers Awards) ประจำปีพุทธศักราช 2546 ถือได้ว่าเป็นนักเขียนหญิงลำดับที่ 4 ที่ได้รบรางวัลอัน ทรงคุณค่านี้ ในโอกาสครบรอบ 25 ปีของการมอบรางวัลซีไรต์ คณะกรรมการรอบตัดสินมีมติเป็นเอกฉันท์ ประกาศให้นวนิยาย เรื่อง “ช่างสำราญ” ได้รับรางวัลซีไรต์ประจำปีพุทธศักราช 2546 ดังมีคำประกาศรางวัลจากคณะกรรมการ ดังนี้ “...นี้คือนวนิยายที่เรียบง่าย และงดงามเปี่ยมความหวัง ความฝัน และความเชื่อมันศรัทธาในด้านดีของจิตใจของมนุษย์...” ประภัสสร เสวิกุล (2546, หนา 15) ซึ่งเป็นหนึ่งในคณะกรรมการรอบตัดสินได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับ นวนิยายรางวัล ซีไรต์ เรื่อง “ช่างสำราญ” ไว้ว่า “เป็นนวนิยายที่เล็กแต่ใหญ่ งายแต่งาม เจ็บปวดแต่ไม่รวดราวและขื่นขมแต่ไม่ขมขื่น” จากทัศนะข้างต้นจะเห็นได้ว่า นวนิยายเรื่องนี้มีวิธีการนำเสนอที่แยบยล สื่อแสดงเรื่องธรรมดา ที่ไม่ธรรมดา เรื่องเศร้าโศกแต่ไม่โศกเศร้า ทำให้ผู้อ่านเกิดความรู้สึกตรงกันข้าม จะเห็นได้ว่าศิลปะการใช้ภาษาเข้ามา มีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดเรื่องราวเหล่านี้เป็นอย่างยิ่ง ด้วยคุณสมบัติดังกล่าวข้างต้นนี้ เรื่อง “ช่างสำราญ” ของเดือนวาด พิมวนา จึงเป็นวรรณกรรมประเภทนวนิยายที่มีความดีเด่น สมควรแก่การ ยกย่องให้เป็นวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมของประเทศไทย ประจำปี 2546 จากรางวัลดังกล่าวข้างต้น ยอมแสดงถึงความสามารถใน การสรรค์สร้างวรรณกรรม ของเดือนวาด พิมวนา ถือได้ว่าเป็นเครื่องยืนยัน ถึงความเป็นนักเขียนมืออาชีพได้เป็นอย่างดี นวนิยายซีไรต์ เรื่อง “ช่างสำราญ” เป็นนวนิยายคุณภาพเรื่องหนึ่งของเดือนวาด พิมวนา ซึ่งจัดได้ ว่ามีคุณค่าทั้งเริงรมย์และเริงปัญญา สร้างความประทบใจแก่ผู้อ่านจำนวนมาก สังเกตได้จากจำนวนครั้งที่ ตีพิมพ์จนถึงขณะนี้ (พ.ศ. 2554) พิมพ์เป็นครั้งที่ 15 แล้ว เวียง – วชิระ บัวสนธ์ (2546, หน้า 1) บรรณาธิการของนวนิยายเรื่องนี้ได้แสดงความคิดเห็นเปรียบเทียบ ระหว่างผลงานเล่มแรก คือ รวมเรื่องสั้นคัดสรร ชุด ‘หนังสือเล่มสอง’ และผลงานนวนิยาย เรื่อง ‘ช่างสำราญ’ด้านการใช้ภาษาของเดือนวาด พิมวนา ไว้ว่า “หากเปรียบเทียบกันระหว่างผลงานเล่มแรกกับ ‘ช่างสำราญ’ เล่มนี้ จะเห็นได้ว่าเดือนวาด มีพัฒนาการทั้งในแง่วิธีเล่าเรื่อง และการใช้ภาษาที่สอดรับกับตัวเนื้อได้อย่างน่าสนใจยิ่ง” สิริวรรณ นันทจันทูล (2552, หนา 77) ได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับศิลปะการใช้ภาษาใน วรรณกรรม ไว้ว่า “นวนิยายเป็นวรรณกรรมบันเทิงคดีที่ถ่ายทอดลีลาการใช้ภาษาของผู้ประพันธ์ได้อย่างดียิ่ง หากผู้ประพันธ์มีศิลปะการใช้ภาษาได้อย่างยอดเยี่ยมก็จะแสดงลีลาภาษาที่โดดเด่นทำให้ผู้อ่านได้รับอรรถรสและเกิดจินตภาพตามที่ผู้ประพันธ์ประสงค์”
จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าการใช้ภาษาในวรรณกรรม หากผู้ประพันธ์มีการเลือกใช้ภาษาที่น่า สนใจ จะมีพลังในการสื่อสารมาก ส่งผลให้เนื้อเรื่องสนุกสนาน ซึ่งจัดได้ว่าทั้งเริงรมย์และเริงปัญญา ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาหาคำตอบว่า เดือนวาด พิมวนา มีลักษณะเด่นในการนำเสนอศิลปะการใช้ภาษาในนวนิยาย เรื่อง‘ช่างสำราญ’ เป็นอย่างไร จึงส่งผลได้รับรางวัลซีไรต์ และสร้างความประทับใจแก่ผู้อ่าน ประกอบกับยังไม่มี งานวิจัยใดที่ศึกษาเกี่ยวกับศิลปะการใช้ภาษาในนวนิยายเรื่องนี้มาก่อนการศึกษาศิลปะการใช้ภาษาจึงเป็นทีมาของงานวิจัยนี้ โดยมุ่งศึกษาวิเคราะห์การใช้ภาษา 4 ด้านได้แก่ การใช้คำ การใช้ประโยค การใช้สำนวน โวหารและการใช้ภาพพจน์ เพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางในการใช้ภาษาของนวนิยายเรื่องนี้ อันจะทำให้เห็นความสามารถเชิงวรรณศิลป์ของเดือนวาด พิมวนาซึ่งจะก่อใหเกิดประโยชน์แก่ผู้ที่สนในวร
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Language arts literature is paramount in creating a literary language is a key element author of such words, phrases, idioms and imagery used to convey ideas, a fresh perspective, which implies a deep complexions. Through the beautiful language Creating a story-driven action to the request. The invited presentations followed by enjoyment. This will enable the reader to recognize. Understand, accept and appreciate the imagination when reading the literature. Each author will give a unique artistic language. S ability to make different components. Language of meshes consistent fit. To make writing a compelling and enjoyable to read
, draw Pim month Wana is the author of another new quality female literary circles. Creative Literary arts through the use of language was carefully crafted literary language services at reasonable and realistic aerodynamic taking a portfolio-consecutively. And has been popular with many readers. Whether a literary genre "stories" to the story, selected the series 'second book,' 'relationships' and 'I rejoice' Long story short story 'you war' prose category. "Narratives composition" called 'sun eighteen clock' and author of "novel" about 'I can fight'
is to be noted that the monthly draw Pim wana be a movie writer who has won consistently prose. the 'story' is important literary awards such as the "reward Brandyzone bouquet," a female writer. The first was awarded to four times the first bouquet Brandyzone 2535's' footprint 'files second time in 2536 that the' achieve 'the third time since 2537's' of the times. The workers' and most recently 2552's' Lara '
contest and reward literary works is a major factor motivating the author. The quality of the writing. especially Literary genre 'fiction' can be considered a successful month superbly. The first novel in life is "so gleefully," won the C. Wright (The SEA Write Awards) or literary award creative excellence of ASEAN (South East Asian Writers Awards) Full Year 2546 can be considered as a female writer respectively. 4 The battle for valuable prizes at this year's 25th anniversary of the SEA Write Award
Committee round decision unanimously. Declared the novel "so gleefully," won the C. Wright of the Year 2546 has been declared the winner by the Board as follows: "... this is
a novel that simple. And gorgeous hopeful dreams and faith in the goodness of human hearts ... "Gul was glistening streaks (2546, p.15), one of the committee have expressed their views on the decision. SEA Write Award fiction story "so gleefully," that "is a novel, small and big, but pretty painful but not painful and bitter but not rape"
from the viewpoint of the above you can see that. The novel is an ingenious way of presentation. Media show about ordinary extraordinary sadness, but the sadness. Makes the reader feel the opposite. It can be seen that the language arts come. Plays a key role in relaying these stories as well. With the above in this matter "so gleefully," Pym Wana month's draw is a good genre fiction literature is worthy to be praised as a great literary creations of the Year 2546 award from above. Demonstrates the ability The creation of a literary monthly draw Pim Wana be considered as evidence. As a professional writer, as well as
novel C. Wright story "so gleefully," a novel about the quality of month draw Pim Wana, which is not that valuable intelligence both amusement and entertainment. The Army created the minds of many readers. Notice the number of times Published until now (2554), published in the 15th and
Evian - Wachira lotus health care (2546, page 1), Editor of the novel has commented compare. During the first volume is a collection of short stories, selected the series' second book and the
novel 'What Cruises' in the language of the month draw Pim Wana that "if the comparison between the first book with' Chang gleefully. 'It will be seen that the monthly draw. Developments both in the way the narrative. And the use of language that conforms to the body is more attractive, "
Siriwan Nant Chan said (2552, page 77), has commented on the art of language in literature, "The novel is a literary fiction that convey style. The author's use of language very well. If the author is the art of using language very well, it will show a distinctive rhythmic language makes the reader experience as a composer and visual surprises "
From the above it can be seen that the use of language in literature. If the author has used interesting language will have the power to communicate a lot. As a result, featuring fun Which held that both entertaining and hilarious wit. He, therefore, interested in finding out if a PIM month Wana feature presentation language arts novels. The 'Electric Cruises' as a result won the C. Wright. And impress the reader. The N Any research that studies the art of the novel in English before studying language arts is the origin of this research. The study focused on four areas: analysis of the language used to render the use of phraseology and use of the image. To achieve knowledge and understanding about how to use the language of the novel. You will see her literary monthly draw. Pim Wana, which will bring benefits to those who massacred the King.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: