ความเเตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล5. ความแตกต่างระหว่างวัฒน การแปล - ความเเตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล5. ความแตกต่างระหว่างวัฒน อังกฤษ วิธีการพูด

ความเเตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวั

ความเเตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล
5. ความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล

เมื่อสังคมแต่ละสังคมได้สร้างวัฒนธรรมของตนเองขึ้นมาและมีเอกลักษณ์เฉพาะ ที่ตั้งอยู่บนสภาวะแวดล้อมทางกายภาพและสังคม หรือบริบทของสังคมนั้นๆ แต่วัฒนธรรมของสังคมทุกสังคมมีความคล้อยคลึงกัน มีวัฒนธรรมพื้นฐานที่เหมือนกัน นักมานุษยวิทยาและนักสังคมวิทยา เรียกกันว่า “วัฒนธรรมสากล (global culture)” แม้จะมีวัฒนธรรมพื้นฐานที่เหมือนกัน แต่วัฒนธรรมแต่ละประเภทจะมีความแตกต่างกัน ดังตัวอย่างเช่น ทุกสังคมจะมีภาษา แต่ภาษาของแต่ละสังคมจะแตกต่างกัน บางสังคมใช้ภาษาไทย บางสังคมใช้ภาษาอังกฤษ และบางสังคมใช้ภาษาอาหรับ เป็นตน

อีกนัยหนี่งกล่าวได้ว่าวัฒนธรรมสากล ก็คือการแพร่กระจายของวัฒนธรรมที่มีอิพลเหนือกว่าไปสู้วัฒนธรรมที่อ่อนแอกว่า ทำให้เกิดการยอมรับและนำไปปฏิบัติตามในสังคมอื่นทั่วทุกภูมิภาคของโลก จนในที่สุดมีการเรียกวัฒนธรรมสั้นว่าเป็นวัฒนธรรมสากล เช่น ภาษาอังกฤษเครื่องมีเครื่องใช้อิเล็กทรอนิกส์ ยาแผนปัจจุบัน สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ เป็นต้น

โดยวัฒนธรรมสากลมีความแตกต่างจากวัฒนธรรมไทยอยู่หลายประการด้วยกัน ดังนี้

1) เน้นปรัชญาว่า “มนุษย์เป็นนายธรรมชาติ” สามารถบังคบธรรมชาติให้ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้ทั้งหมด เช่น การเดินทางด้วยสองเท้าใช้เวลานานก็เลยประดิษฐ์รถยนต์ เครื่องบิน ขึ้นมาเป็นพาหนะที่ใช้ในการเดินทางแทน เป็นต้น แต่สำหรับวัฒนธรรมไทยนั้นเน้นปรัชญาว่า “มนุษย์ควรอยู่แบบผสมกลมกลืนกับธรรมชาติ” ดังนั้นคนไทยจึงนิยมสร้างวัฒนธรรมให้สอดคล้องกับสภาพธรรมชาติ

2) เน้นทวิโลกทัศน์ ชาวตะวันตกแบ่งทุกสิ่งออกเป็น 2 ส่วนเสมอ เช่น ขาว-ดำ ดี-เลว ทันสมัย-ล้าสมัย จึงมีการแก้ไขความพยายามที่ปรับเปลี่ยนสิ่งล้าสมัยให้มีความทันสมัย เน้นให้สิ่งดีงามเหนือความเลว

ในขณะที่วัฒนธรรมไทยเน้นการมองโลกเป็นองค์รวม ไม่แยก ขาว-ดำ ดี-เลว แต่มองว่าโลกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีองค์ประกอบทั่งหลายที่ช่วยส่งเสริมจรรโลงโลกให้มีความสมดุล น่าอยู่รื่นรมย์ และสงบสุข

3)เน้นวิธีการทางวิทยาศาตร์ ที่ตั้งอยู่บนเหตุผลของปัจจัยที่สามารถสัมผัสได้ โดยมีการตั้งสมมติฐาน พิสูจน์ปัจจัยต่างๆ ว่าเป็นตามสมมติฐานหรือไม่ วิเคราะห์ สังเคราะห์ให้ได้รับความรู้ใหม่ๆ เพื่อนำไปสร้างทฤษฎีและนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ ดังนั้น ชาติตะวันตกจึงสามารถสร้างเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีชั้นสูง แต่สำหรับวัฒนธรรมไทยแม้นว่าจะอยู่บนพื้นฐานทางวิทยาศาตร์เช่นกัน แต่มักเน้นการนำปัจจัยทีสัมผัสได้มาศึกษาร่วมกับปัจจัยทางจิตใจและตามความคิดเชื่อของหลักธรรมทางศาสนาควบคู่ไปด้วย เพราะวัฒนธรรมไทยสท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่โยงใยกัน 3 ด้าย คือ

1. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับโลก สิ่งแวดล้อม พืช และ สัตว์

2. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ หรือระหว่างตัวเรากับคนอื่นๆที่อาศัยอยู่ร่วมกันในสังคม

3. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งศักสิทธิ์และอำนาจนอกเหนือธรรมชาติ ทำให้วัฒนธรรมไทยมีขอบเขตที่กว้างขว้าง ครอบคลุมความสัมพันธ์ทุกประเภทของกรดำเนินชีวิตของคนในสังคม ทั้งทีเป็นรูปธรรมและนามธรรม



6. แนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยที่ดีงาม

สังคมและวัฒนธรรมไม่ได้หยุดนิ่งอยู่กับที่ แต่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาและเกี่ยวพันกับปัจจัยภายในและภายนอกที่เข้ามากระทบ ดังนั้นวัฒนธรรมอาจเหมาะสมกับสภาพสังคมในยุคหนึ่ง แต่อาจไม่สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตของคนในสังคมในอีกยุคหนึ่งก็ได้

แต่ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงไม่ได้หมายถึงการละทิ้งวัฒนธรรมของตนไปอย่างชิ้นเชิง และหันไปรับวัฒนธรรมของสังคมอื่นมาใช้ทั้งหมด เพราะรากเหง้าของวัฒนธรรมไทยได้สร้างและสั่งสมมาให้สอดคล้องกับสังคมไทยมาช้านาน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอาจเป็นผลมาจากลักษณะบางอย่างไม่ตอบสนองความต้องการของสมาชิกในปัจจุบัน จึงได้นำสิ่งประดิษฐ์มาคิดค้นใหม่ หรือหยิบยืมวัฒนธรรมของต่างชาติมาใช้ทดแทนบ้าง แต่เราก็มีความจำเป็นที่จะต้องมีการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยเอาไว้ เพราะหารไม่มีการอนุรักษ์แล้ว วัฒนธรรมของสังคมอื่นๆก็จะเข้ามาครอบงำและจะต้องตกเป็นเมืองขึ้นทางวัฒนธรรมของสังคมอื่นไป

การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย เราอาจจะมองได้ 2 ระดับ ระดับที่หนึ่ง คือ การอนุรักษ์สงวนรักษาวัฒนธรรมที่ดีงามของไทยให้คงอยู่ตลอดไป ส่วนระดับที่สอง คือ คนไทยจะต้องพัฒนาต่อยอดวัฒนธรรมของตนให้ทันสมัย สอดคล้องกับสภาพสังคมในยุคปัจจุบัน

วัฒนธรรมประจำชาติท้องถิ่น จัดเป็นสิ่งที่มีคุณค่าสูง ควรค่าแก่การอนุรักษ์โดยเฉพาะอย่างยิ่งขนบธรรมเนียมประเพณี โบราณสถาน โบราณวัตถุ ภาษาวัตถุ ภาษา วรรณกรรม และภูมิปัญญา ซื่งได้ได้บรรลุและสั่งสมความรู้ ความหมาย และคุณค่าทางวัฒนธรรมที่มีมาแต่อดีตให้คนรุ่นต่อมาได้เรียนรู้ เพื่อรู้จักตนเองและมีความภูมิใจในความเป็นชาติไทย โดยส่วนรวมสิ่งเหล่านี้สูญหายไป หากขาดการเอาใจใส่ในการอนุรักษ์และส่งเสริมในทางที่ถูกที่ควร

ซื่งแนวทางในการอนุรักษ์วัฒนธรรม มีดังนี้

1. ศึกษา ค้นคว้า และวิจัย วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ได้มีการรวบรวมไว้แล้วและที่ยังไม่ได้ศึกษา แต่มีกระจัดกระจายอยู่ทั่วทุกแห่ง ผู้ศึกษาค้นคว้าจะได้ทราบความหมายและความสำคัญของมรดกวัฒนธรรมอย่างถ่องแท้ ความรู้ดังกว่าจะเป็นรากฐานของการดำเนินชีวิตเมื่อได้เห็นคุณค่าจะยอมรับและนำไปใช้ประโยชน์ให้เหมาะสมและแพร่หลาย

2. ส่งเสริมให้ชนทุกหมู่เหล่าเห็นคุณค่า และร่วมกันรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติและท้องถิ่น เพื่อสร้างความมั่นใจแก่ประชาชนในการปรับเปลี่ยน และตอบสนองกระแสวัฒนธรรมอื่นๆ และวัฒนธรรมภายนอกอย่างเหมาะสม

3. ขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมในวัฒนธรรม รณรงค์ให้ประชาชนและเอกชนตลอดจนหน่วยงานของรัฐเห็นความสำคัญและตระหนักว่าวัฒนธรรมเป็นเรื่องของทุกคนที่จะต้องรับผิดชอบร่วมกันในการส่งเสริม สนับสนุน แระสานงาน การบริการด้านความรู้ วิชาการ และทุนทรัพย์จัดกิจกรรมทางวัฒนธรรม

4.ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The difference between the culture of Thailand to the global culture.5. the difference between the culture of Thailand to the global culture. When the society each social has created its own culture and is unique. Based on the physical and social environment, or social context of society, a society in accordance with demand. With the same basic culture. Anthropologist and sociology, also known as the "global culture (global culture)" despite the same basic culture. But each culture is different. So, for example, every society, there is the language of each society is different. Some societies, some societies use Thailand in English and some Arabic language as their society. Otherwise a single global culture, had recently if wadai, the spread of culture over the culture to fight iphon onaekwa. To be accepted and implemented by different societies all over the region of the world. In the end, the culture has been called a global culture, for example, whether it is a short English machine with the current medicine electronics. Modern architecture, etc. By the global culture is different from the culture of Thailand is varied. Is as follows: 1) เน้นปรัชญาว่า “มนุษย์เป็นนายธรรมชาติ” สามารถบังคบธรรมชาติให้ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ได้ทั้งหมด เช่น การเดินทางด้วยสองเท้าใช้เวลานานก็เลยประดิษฐ์รถยนต์ เครื่องบิน ขึ้นมาเป็นพาหนะที่ใช้ในการเดินทางแทน เป็นต้น แต่สำหรับวัฒนธรรมไทยนั้นเน้นปรัชญาว่า “มนุษย์ควรอยู่แบบผสมกลมกลืนกับธรรมชาติ” ดังนั้นคนไทยจึงนิยมสร้างวัฒนธรรมให้สอดคล้องกับสภาพธรรมชาติ 2) เน้นทวิโลกทัศน์ ชาวตะวันตกแบ่งทุกสิ่งออกเป็น 2 ส่วนเสมอ เช่น ขาว-ดำ ดี-เลว ทันสมัย-ล้าสมัย จึงมีการแก้ไขความพยายามที่ปรับเปลี่ยนสิ่งล้าสมัยให้มีความทันสมัย เน้นให้สิ่งดีงามเหนือความเลว ในขณะที่วัฒนธรรมไทยเน้นการมองโลกเป็นองค์รวม ไม่แยก ขาว-ดำ ดี-เลว แต่มองว่าโลกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีองค์ประกอบทั่งหลายที่ช่วยส่งเสริมจรรโลงโลกให้มีความสมดุล น่าอยู่รื่นรมย์ และสงบสุข 3)เน้นวิธีการทางวิทยาศาตร์ ที่ตั้งอยู่บนเหตุผลของปัจจัยที่สามารถสัมผัสได้ โดยมีการตั้งสมมติฐาน พิสูจน์ปัจจัยต่างๆ ว่าเป็นตามสมมติฐานหรือไม่ วิเคราะห์ สังเคราะห์ให้ได้รับความรู้ใหม่ๆ เพื่อนำไปสร้างทฤษฎีและนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ ดังนั้น ชาติตะวันตกจึงสามารถสร้างเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีชั้นสูง แต่สำหรับวัฒนธรรมไทยแม้นว่าจะอยู่บนพื้นฐานทางวิทยาศาตร์เช่นกัน แต่มักเน้นการนำปัจจัยทีสัมผัสได้มาศึกษาร่วมกับปัจจัยทางจิตใจและตามความคิดเชื่อของหลักธรรมทางศาสนาควบคู่ไปด้วย เพราะวัฒนธรรมไทยสท้อนให้เห็นถึงความสัมพันธ์ที่โยงใยกัน 3 ด้าย คือ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับโลก สิ่งแวดล้อม พืช และ สัตว์ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ หรือระหว่างตัวเรากับคนอื่นๆที่อาศัยอยู่ร่วมกันในสังคม 3. ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งศักสิทธิ์และอำนาจนอกเหนือธรรมชาติ ทำให้วัฒนธรรมไทยมีขอบเขตที่กว้างขว้าง ครอบคลุมความสัมพันธ์ทุกประเภทของกรดำเนินชีวิตของคนในสังคม ทั้งทีเป็นรูปธรรมและนามธรรม 6. แนวทางการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยที่ดีงาม สังคมและวัฒนธรรมไม่ได้หยุดนิ่งอยู่กับที่ แต่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลาและเกี่ยวพันกับปัจจัยภายในและภายนอกที่เข้ามากระทบ ดังนั้นวัฒนธรรมอาจเหมาะสมกับสภาพสังคมในยุคหนึ่ง แต่อาจไม่สอดคล้องกับการดำเนินชีวิตของคนในสังคมในอีกยุคหนึ่งก็ได้
แต่ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงไม่ได้หมายถึงการละทิ้งวัฒนธรรมของตนไปอย่างชิ้นเชิง และหันไปรับวัฒนธรรมของสังคมอื่นมาใช้ทั้งหมด เพราะรากเหง้าของวัฒนธรรมไทยได้สร้างและสั่งสมมาให้สอดคล้องกับสังคมไทยมาช้านาน การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอาจเป็นผลมาจากลักษณะบางอย่างไม่ตอบสนองความต้องการของสมาชิกในปัจจุบัน จึงได้นำสิ่งประดิษฐ์มาคิดค้นใหม่ หรือหยิบยืมวัฒนธรรมของต่างชาติมาใช้ทดแทนบ้าง แต่เราก็มีความจำเป็นที่จะต้องมีการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยเอาไว้ เพราะหารไม่มีการอนุรักษ์แล้ว วัฒนธรรมของสังคมอื่นๆก็จะเข้ามาครอบงำและจะต้องตกเป็นเมืองขึ้นทางวัฒนธรรมของสังคมอื่นไป

การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย เราอาจจะมองได้ 2 ระดับ ระดับที่หนึ่ง คือ การอนุรักษ์สงวนรักษาวัฒนธรรมที่ดีงามของไทยให้คงอยู่ตลอดไป ส่วนระดับที่สอง คือ คนไทยจะต้องพัฒนาต่อยอดวัฒนธรรมของตนให้ทันสมัย สอดคล้องกับสภาพสังคมในยุคปัจจุบัน

วัฒนธรรมประจำชาติท้องถิ่น จัดเป็นสิ่งที่มีคุณค่าสูง ควรค่าแก่การอนุรักษ์โดยเฉพาะอย่างยิ่งขนบธรรมเนียมประเพณี โบราณสถาน โบราณวัตถุ ภาษาวัตถุ ภาษา วรรณกรรม และภูมิปัญญา ซื่งได้ได้บรรลุและสั่งสมความรู้ ความหมาย และคุณค่าทางวัฒนธรรมที่มีมาแต่อดีตให้คนรุ่นต่อมาได้เรียนรู้ เพื่อรู้จักตนเองและมีความภูมิใจในความเป็นชาติไทย โดยส่วนรวมสิ่งเหล่านี้สูญหายไป หากขาดการเอาใจใส่ในการอนุรักษ์และส่งเสริมในทางที่ถูกที่ควร

ซื่งแนวทางในการอนุรักษ์วัฒนธรรม มีดังนี้

1. ศึกษา ค้นคว้า และวิจัย วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ได้มีการรวบรวมไว้แล้วและที่ยังไม่ได้ศึกษา แต่มีกระจัดกระจายอยู่ทั่วทุกแห่ง ผู้ศึกษาค้นคว้าจะได้ทราบความหมายและความสำคัญของมรดกวัฒนธรรมอย่างถ่องแท้ ความรู้ดังกว่าจะเป็นรากฐานของการดำเนินชีวิตเมื่อได้เห็นคุณค่าจะยอมรับและนำไปใช้ประโยชน์ให้เหมาะสมและแพร่หลาย

2. ส่งเสริมให้ชนทุกหมู่เหล่าเห็นคุณค่า และร่วมกันรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาติและท้องถิ่น เพื่อสร้างความมั่นใจแก่ประชาชนในการปรับเปลี่ยน และตอบสนองกระแสวัฒนธรรมอื่นๆ และวัฒนธรรมภายนอกอย่างเหมาะสม

3. ขยายขอบเขตการมีส่วนร่วมในวัฒนธรรม รณรงค์ให้ประชาชนและเอกชนตลอดจนหน่วยงานของรัฐเห็นความสำคัญและตระหนักว่าวัฒนธรรมเป็นเรื่องของทุกคนที่จะต้องรับผิดชอบร่วมกันในการส่งเสริม สนับสนุน แระสานงาน การบริการด้านความรู้ วิชาการ และทุนทรัพย์จัดกิจกรรมทางวัฒนธรรม

4.ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The difference between culture and global culture, 5
. The difference between culture with international culture

.When society each society has created its own culture and have a unique. Located on the physical and social environment or context of the society. But the culture of all societies have progressed similarities.Anthropologists and sociologists call "global culture (Global Culture)." despite the basic culture too. But the culture of each type are different, as for example, every society has the language.Some social language used, some social use of English and some social use Arabic as their
.
.Some one said that the global culture. Is the distribution of the electronic outnumbered against the weak culture Cause to follow in social acceptance and another across all regions of the world.Such as English machine electronic appliances, modern architecture, etc.!
the universal culture is different from the culture in many aspects, as follows:

.1) focused on the philosophy that "man is the master of nature." Be forced to meet the needs of human nature, all such as travel with two feet long and invent the automobile, airplane.Etc. but for culture focused on philosophy. "A man should be a natural." So people are the most popular cultural construction in accordance with the natural
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: