ประวัติศาสตร์กฎหมายไทยกฎหมายคืออะไรความจริงกฎหมายเกี่ยวข้องกับชีวิตควา การแปล - ประวัติศาสตร์กฎหมายไทยกฎหมายคืออะไรความจริงกฎหมายเกี่ยวข้องกับชีวิตควา อังกฤษ วิธีการพูด

ประวัติศาสตร์กฎหมายไทยกฎหมายคืออะไร

ประวัติศาสตร์กฎหมายไทย
กฎหมายคืออะไร
ความจริงกฎหมายเกี่ยวข้องกับชีวิตความเป็นอยู่ของทุกคนตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย แต่ก็เป็นการยากที่จะให้คำจำกัดความของคำว่ากฎหมายกว้างขวางเพียงพอโดยไม่จำเป็นให้คำอธิบายเพิ่มเติมว่าโดยแท้จริงแล้วกฎหมายคืออะไร หรือหมายความว่าอย่างไร โดยเนื้อแท้แล้วกฎหมายคือ ส่วนหนึ่งของกฎเกณฑ์(rules) ที่ควบคุมความประพฤติปฏิบัติของมนุษย์ที่มีต่อกันภายในสังคมที่ตนเองเป็นสมาชิกสังกัดอยู่ เป็นสิ่งที่มนุษย์จะต้องไม่ละเมิดและต้องปฏิบัติตาม ในที่นี้ต้องเข้าใจด้วยว่ากฎหมายหมายรวมถึงกฎเกณฑ์ที่ควบคุมความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับหน่วยสังคมที่มนุษย์นั้นอาศัยอยู่ด้วย และในหมู่มนุษย์ที่มีอารยะแล้วกฎหมายยังถือว่าเป็นกฎเกณฑ์ที่ควบคุมความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรทางสังคมด้วยกัน กฎหมายในประการหลังสุดนี้ ได้แก่ สิ่งที่เรียกกันว่า กฎหมายระหว่างประเทศ(international law)
ปัจจัยที่สำคัญประการแรกสุดของกฎหมาย ได้แก่ การที่มนุษย์อยู่รวมกันเป็นสังคม ถ้ามนุษย์แยกกันอยู่อย่างโดดเดี่ยว คงไม่จำเป็นต้องมีกฎหมาย ดังนั้น การมีกฎหมายย่อมหมายโดยปริยายว่ามนุษย์อยู่รวมกันเป็นองค์กรทางสังคม
มีผู้เห็นว่า สิ่งที่จะเป็นกฎหมายต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์[1] ดังนี้
(1) ต้องมาจากรัฐาธิปัตย์
(2) ต้องเป็นคำสั่งคำบังคับบัญชาทั่วไป
(3) ใช้ได้เป็นการตลอดจนกว่าจะมีการยกเลิก
(4) ประชาชนจำต้องปฏิบัติตาม
(5) มีบทบังคับ
กฎหมายจารีตประเพณีและกฎหมายลายลักษณ์อักษร
ดังได้กล่าวแล้วว่า กฎหมายเกิดมาพร้อมกับการที่มนุษย์อยู่ร่วมกันเป็นองค์กรทางสังคมกฎหมายจึงเป็นสิ่งที่มีอยู่เคียงคู่กับชุมชนมาตั้งแต่เมื่อครั้งดึกดำบรรพ์แล้ว เมื่อมนุษย์อยู่รวมกันเป็นหมู่เหล่าย่อมต้องจำกัดความประพฤติของตนเองให้อยู่ในลักษณะที่จะไม่ไปก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นในขณะเดียวกันก็จะต้องประพฤติปฏิบัติตนในสิ่งที่ชุมชนเห็นว่าดีงามด้วย การประพฤติปฏิบัติตนในสิ่งที่ไปก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นในชุมชน ย่อมทำให้ผู้นั้นได้รับผลร้าย ข้อประพฤติปฏิบัติเช่นนี้ได้มีการถ่ายทอดสืบต่อกันมาโดยการบอกเล่าของคนในชุมนุมชนนั้นๆ จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่งจนกลายเป็นสิ่งที่เรียกกันว่า “กฎหมายจารีตประเพณี” (customary law)[2] เมื่อมนุษย์มีภาษาเป็นสื่อในการทำความเข้าใจซึ่งกันและกันและประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นมา จึงได้มีการนำเอากฎหมายมาเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นการชัดแจ้งแน่นอนเรียกกันว่า “กฎหมายลายลักษณ์อักษร” (written law) กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่มีความเก่าแก่ที่สุดได้แก่ ประมวลกฎหมายของกษัตริย์ฮัมมูราบี(code of Hammurabi) แห่งอาณาจักรบาบิโลน ซึ่งมีความเก่าแก่ประมานว่าอยู่ที่ปี 2250 ถึง 2000 ปีก่อนคริสตกาล เป็นบทบัญญัติกฎหมายที่สลักลงไปบนแผ่นศิลาไดโอไรต์ (diorite stone) ด้วยตัวอักษรลิ่ม (cuneiform) หลักกฎหมายที่สำคัญในประมวลกฎหมายของกษัตริย์ฮัมมูราบี ได้แก่ หลักการลงโทษระบบตาต่อตา ฟันต่อฟัน (an eye for an eye, a tooth for a tooth) หรือที่เรียกกันว่า Lex Talionis เป็นบทลงโทษแก่ผู้กระทำความผิดในลักษณะเดียวกันกับการกระทำแก่ผู้อื่น กล่าวคือ ถ้าหากมีการกระทำแก่ผู้อื่นในลักษณะอย่างไร ผู้กระทำก็จะได้รับผลร้ายในลักษณะอย่างเดียวกัน ซึ่งการลงโทษในลักษณะเช่นนี้ได้รับการแก้ไขโดยกฎหมายของชาวยิว (Jewish Law) ที่กำหนดว่า บิดาย่อมไม่ต้องรับโทษถึงตายเพราะการกระทำของบุตร บุตรก็ไม่ต้องรับโทษถึงตายเพราะการกระทำของบิดา มนุษย์ทุกคนต้องรับโทษถึงตายเพราะการกระทำบาปของตนเอง[3] จึงเห็นได้ว่ากฎหมายชาวยิวเน้นความรับผิดทางอาญาว่าเป็นเรื่องเฉพาะตัว ไม่ใช่ความรับผิดอันเนื่องมาจากครอบครัวหรือความเป็นญาติ กล่าวกันว่า กฎหมายของพวกชาวยิวมีความเก่าแก่น้อยกว่าประมวลกฎหมายของกษัตริย์ฮัมมูราบี ประมาน 800 ปีเศษ กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่มีความสำคัญต่อกฎหมายปัจจุบันและมีความเก่าแก่รองลงมาอีกได้แก่กฎหมายโรมัน (Roman Law) ซึ่งบัญญัติขึ้นมาเมื่อปี 451 ก่อนคริสตกาล รายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายของกษัตริย์ฮัมมูราบีและกฎหมายโรมันจะได้มีการศึกษากันในภายหลัง

ประวัติศาสตร์กฎหมายคืออะไร
ความจริงการศึกษาประวัติศาสตร์กฎหมายในประเทศไทยมีมาเป็นเวลานานแล้วก่อนที่จะมีการศึกษากฎหมายอย่างมีแบบแผนตามแบบอย่างประเทศตะวันตก เช่น ในกรณีของการตรากฎหมายลักษณะขบถศึกเมื่อ พ.ศ.1996[4] มีการให้ค้นหาพระบาฬีทวะดึง 32 ประการ การประมวลกฎหมายตรา 3 ดวง เมื่อ พ.ศ. 2347[5] ในสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งมีการรวบรวมบรรดาตัวบทกฎหมายที่มีอยู่ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาทั้งหมด และเมื่อมีการแก้ไขการปกครองแผ่นดินเมื่อครั้งรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นตัวอย่าง ทั้งนี้เพราะอาณาจักรสยามหรือประเทศไทยในปัจจุบันเป็นประเทศที่มีอารยธรรม ประเทศที่มีอารยธรรมล้วนแต่เป็นประเทศที่ปกครองด้วยกฎหมาย การศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ โดยมีอาจารย์ผู้สอนเป็นชาวฝรั่งเศส คือ ศาสตราจารย์ ดร. ร. แลงกาต์ (R. Langar) ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญกฎหมายชาวต่างประเทศที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงว่าจ้างให้เป็นที่ปรึกษากฎหมาย เมื่อศาสตรจารย์ ดร. ร. แลงกาต์ ได้ลาออกจากราชการและออกจากประเทศไทยช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็มีอาจารย์ผู้สอนประวัติศาสตร์กฎหมายไทยเป็นคนไทย คือท่านศาสตราจารย์พระยานิติศาสตร์ไพศาลย์ ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สำหรับคณะนิติศาสตร์จุฬาลงกรณ์นั้น ก็มีศาสตราจารย์พระวรภักดิ์พิบูลย์ (ม.ล.นภา ชุมสาย) เป็นผู้สอน อาจารย์ผู้สอนทั้ง 3 ท่านก็ได้เขียนตำราประวัติศาสตร์ไทยไว้สำหรับนักศึกษาได้ใช้ในการศึกษาวิชาประวัติศาสตร์กฎหมายไทย
กล่าวโดยทั่วไปแล้ว ปัจจุบันยังมีความเห็นที่แตกต่างกันว่าประวัติศาสตร์กฎหมายคืออะไร ในหนังสือประวัติศาสตร์กฎหมายของศาสตราจารย์พระยานิติศาสตร์ไพศาลย์ กล่าวเป็นทำนองว่า การพูดว่ากฎหมายบทนั้นบทนี้มีความเห็นอย่างไร มีตำนานเกี่ยวพันกันประการใด มีความคิดเห็นเปลี่ยนแปลงอย่างไร ดังนี้ไม่ใช่เรื่องของประวัติศาสตร์กฎหมาย แต่ถ้ากล่าวถึงว่าข้อบัญญัติลักษณะหนึ่งในสมัยเดิมกับสมัยนี้ว่าบังคับต่างกันอย่างไร ก็เรียกได้ว่ากล่าวถึงประวัติศาสตร์กฎหมาย[6]
นักประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบันมีความเห็นว่าประวัติศาสตร์กฎหมาย หมายถึง วิวัฒนาการของแนวความคิด (concept) หลักเกณฑ์ความประพฤติ (doctrines) และกฎเก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
History of the law of ThailandWhat is the law.ความจริงกฎหมายเกี่ยวข้องกับชีวิตความเป็นอยู่ของทุกคนตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย แต่ก็เป็นการยากที่จะให้คำจำกัดความของคำว่ากฎหมายกว้างขวางเพียงพอโดยไม่จำเป็นให้คำอธิบายเพิ่มเติมว่าโดยแท้จริงแล้วกฎหมายคืออะไร หรือหมายความว่าอย่างไร โดยเนื้อแท้แล้วกฎหมายคือ ส่วนหนึ่งของกฎเกณฑ์(rules) ที่ควบคุมความประพฤติปฏิบัติของมนุษย์ที่มีต่อกันภายในสังคมที่ตนเองเป็นสมาชิกสังกัดอยู่ เป็นสิ่งที่มนุษย์จะต้องไม่ละเมิดและต้องปฏิบัติตาม ในที่นี้ต้องเข้าใจด้วยว่ากฎหมายหมายรวมถึงกฎเกณฑ์ที่ควบคุมความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับหน่วยสังคมที่มนุษย์นั้นอาศัยอยู่ด้วย และในหมู่มนุษย์ที่มีอารยะแล้วกฎหมายยังถือว่าเป็นกฎเกณฑ์ที่ควบคุมความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรทางสังคมด้วยกัน กฎหมายในประการหลังสุดนี้ ได้แก่ สิ่งที่เรียกกันว่า กฎหมายระหว่างประเทศ(international law)ปัจจัยที่สำคัญประการแรกสุดของกฎหมาย ได้แก่ การที่มนุษย์อยู่รวมกันเป็นสังคม ถ้ามนุษย์แยกกันอยู่อย่างโดดเดี่ยว คงไม่จำเป็นต้องมีกฎหมาย ดังนั้น การมีกฎหมายย่อมหมายโดยปริยายว่ามนุษย์อยู่รวมกันเป็นองค์กรทางสังคมมีผู้เห็นว่า สิ่งที่จะเป็นกฎหมายต้องประกอบด้วยหลักเกณฑ์[1] ดังนี้(1) ต้องมาจากรัฐาธิปัตย์(2) ต้องเป็นคำสั่งคำบังคับบัญชาทั่วไป(3) ใช้ได้เป็นการตลอดจนกว่าจะมีการยกเลิก(4) ประชาชนจำต้องปฏิบัติตาม(5) มีบทบังคับกฎหมายจารีตประเพณีและกฎหมายลายลักษณ์อักษรดังได้กล่าวแล้วว่า กฎหมายเกิดมาพร้อมกับการที่มนุษย์อยู่ร่วมกันเป็นองค์กรทางสังคมกฎหมายจึงเป็นสิ่งที่มีอยู่เคียงคู่กับชุมชนมาตั้งแต่เมื่อครั้งดึกดำบรรพ์แล้ว เมื่อมนุษย์อยู่รวมกันเป็นหมู่เหล่าย่อมต้องจำกัดความประพฤติของตนเองให้อยู่ในลักษณะที่จะไม่ไปก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นในขณะเดียวกันก็จะต้องประพฤติปฏิบัติตนในสิ่งที่ชุมชนเห็นว่าดีงามด้วย การประพฤติปฏิบัติตนในสิ่งที่ไปก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นในชุมชน ย่อมทำให้ผู้นั้นได้รับผลร้าย ข้อประพฤติปฏิบัติเช่นนี้ได้มีการถ่ายทอดสืบต่อกันมาโดยการบอกเล่าของคนในชุมนุมชนนั้นๆ จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่งจนกลายเป็นสิ่งที่เรียกกันว่า “กฎหมายจารีตประเพณี” (customary law)[2] เมื่อมนุษย์มีภาษาเป็นสื่อในการทำความเข้าใจซึ่งกันและกันและประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นมา จึงได้มีการนำเอากฎหมายมาเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรเป็นการชัดแจ้งแน่นอนเรียกกันว่า “กฎหมายลายลักษณ์อักษร” (written law) กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่มีความเก่าแก่ที่สุดได้แก่ ประมวลกฎหมายของกษัตริย์ฮัมมูราบี(code of Hammurabi) แห่งอาณาจักรบาบิโลน ซึ่งมีความเก่าแก่ประมานว่าอยู่ที่ปี 2250 ถึง 2000 ปีก่อนคริสตกาล เป็นบทบัญญัติกฎหมายที่สลักลงไปบนแผ่นศิลาไดโอไรต์ (diorite stone) ด้วยตัวอักษรลิ่ม (cuneiform) หลักกฎหมายที่สำคัญในประมวลกฎหมายของกษัตริย์ฮัมมูราบี ได้แก่ หลักการลงโทษระบบตาต่อตา ฟันต่อฟัน (an eye for an eye, a tooth for a tooth) หรือที่เรียกกันว่า Lex Talionis เป็นบทลงโทษแก่ผู้กระทำความผิดในลักษณะเดียวกันกับการกระทำแก่ผู้อื่น กล่าวคือ ถ้าหากมีการกระทำแก่ผู้อื่นในลักษณะอย่างไร ผู้กระทำก็จะได้รับผลร้ายในลักษณะอย่างเดียวกัน ซึ่งการลงโทษในลักษณะเช่นนี้ได้รับการแก้ไขโดยกฎหมายของชาวยิว (Jewish Law) ที่กำหนดว่า บิดาย่อมไม่ต้องรับโทษถึงตายเพราะการกระทำของบุตร บุตรก็ไม่ต้องรับโทษถึงตายเพราะการกระทำของบิดา มนุษย์ทุกคนต้องรับโทษถึงตายเพราะการกระทำบาปของตนเอง[3] จึงเห็นได้ว่ากฎหมายชาวยิวเน้นความรับผิดทางอาญาว่าเป็นเรื่องเฉพาะตัว ไม่ใช่ความรับผิดอันเนื่องมาจากครอบครัวหรือความเป็นญาติ กล่าวกันว่า กฎหมายของพวกชาวยิวมีความเก่าแก่น้อยกว่าประมวลกฎหมายของกษัตริย์ฮัมมูราบี ประมาน 800 ปีเศษ กฎหมายลายลักษณ์อักษรที่มีความสำคัญต่อกฎหมายปัจจุบันและมีความเก่าแก่รองลงมาอีกได้แก่กฎหมายโรมัน (Roman Law) ซึ่งบัญญัติขึ้นมาเมื่อปี 451 ก่อนคริสตกาล รายละเอียดเกี่ยวกับกฎหมายของกษัตริย์ฮัมมูราบีและกฎหมายโรมันจะได้มีการศึกษากันในภายหลัง
ประวัติศาสตร์กฎหมายคืออะไร
ความจริงการศึกษาประวัติศาสตร์กฎหมายในประเทศไทยมีมาเป็นเวลานานแล้วก่อนที่จะมีการศึกษากฎหมายอย่างมีแบบแผนตามแบบอย่างประเทศตะวันตก เช่น ในกรณีของการตรากฎหมายลักษณะขบถศึกเมื่อ พ.ศ.1996[4] มีการให้ค้นหาพระบาฬีทวะดึง 32 ประการ การประมวลกฎหมายตรา 3 ดวง เมื่อ พ.ศ. 2347[5] ในสมัยรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งมีการรวบรวมบรรดาตัวบทกฎหมายที่มีอยู่ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาทั้งหมด และเมื่อมีการแก้ไขการปกครองแผ่นดินเมื่อครั้งรัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นตัวอย่าง ทั้งนี้เพราะอาณาจักรสยามหรือประเทศไทยในปัจจุบันเป็นประเทศที่มีอารยธรรม ประเทศที่มีอารยธรรมล้วนแต่เป็นประเทศที่ปกครองด้วยกฎหมาย การศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ โดยมีอาจารย์ผู้สอนเป็นชาวฝรั่งเศส คือ ศาสตราจารย์ ดร. ร. แลงกาต์ (R. Langar) ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญกฎหมายชาวต่างประเทศที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงว่าจ้างให้เป็นที่ปรึกษากฎหมาย เมื่อศาสตรจารย์ ดร. ร. แลงกาต์ ได้ลาออกจากราชการและออกจากประเทศไทยช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็มีอาจารย์ผู้สอนประวัติศาสตร์กฎหมายไทยเป็นคนไทย คือท่านศาสตราจารย์พระยานิติศาสตร์ไพศาลย์ ที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สำหรับคณะนิติศาสตร์จุฬาลงกรณ์นั้น ก็มีศาสตราจารย์พระวรภักดิ์พิบูลย์ (ม.ล.นภา ชุมสาย) เป็นผู้สอน อาจารย์ผู้สอนทั้ง 3 ท่านก็ได้เขียนตำราประวัติศาสตร์ไทยไว้สำหรับนักศึกษาได้ใช้ในการศึกษาวิชาประวัติศาสตร์กฎหมายไทย
กล่าวโดยทั่วไปแล้ว ปัจจุบันยังมีความเห็นที่แตกต่างกันว่าประวัติศาสตร์กฎหมายคืออะไร ในหนังสือประวัติศาสตร์กฎหมายของศาสตราจารย์พระยานิติศาสตร์ไพศาลย์ กล่าวเป็นทำนองว่า การพูดว่ากฎหมายบทนั้นบทนี้มีความเห็นอย่างไร มีตำนานเกี่ยวพันกันประการใด มีความคิดเห็นเปลี่ยนแปลงอย่างไร ดังนี้ไม่ใช่เรื่องของประวัติศาสตร์กฎหมาย แต่ถ้ากล่าวถึงว่าข้อบัญญัติลักษณะหนึ่งในสมัยเดิมกับสมัยนี้ว่าบังคับต่างกันอย่างไร ก็เรียกได้ว่ากล่าวถึงประวัติศาสตร์กฎหมาย[6]
นักประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบันมีความเห็นว่าประวัติศาสตร์กฎหมาย หมายถึง วิวัฒนาการของแนวความคิด (concept) หลักเกณฑ์ความประพฤติ (doctrines) และกฎเก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The history of English law is

.The law related to the well-being of the people from birth until death.Or means, inherently and the law. Part of the statutes (rules). The supervision practice of humans with each other within a society that they belong to colleges.Here understand law refers to rules that control the relationship between man and society กับหน่วย humans live.The law in this last respects, including the so-called international law (International Law)
.The most important factors of law, namely, firstly that humans live in the society. If a man apart alone. Don't need to have the law.There are those who see what will be the law must contain rules [] as follows: 1
(1) must be from polychaetes and crustaceans
(2). A standing order to order general
(3). Available as as well as more than we will cancel
(4). People must follow
(5) a force
.Customary law and the written law
.As I have said that Law was born with that human beings live together as a social enterprise law is what exist side by side with the community since prehistory.His behave what go causes damage to others in the community. Surely the have terrible results. An act like this are transmitted the lasting derived by the congregation that tells of the people
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: