กฎหมายและศาลสมัยกรุงศรีอยุธยาระบบกฎหมายสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นลักษณะกา การแปล - กฎหมายและศาลสมัยกรุงศรีอยุธยาระบบกฎหมายสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นลักษณะกา อังกฤษ วิธีการพูด

กฎหมายและศาลสมัยกรุงศรีอยุธยาระบบกฎ

กฎหมายและศาลสมัยกรุงศรีอยุธยา
ระบบกฎหมายสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น
ลักษณะการตั้งกฎหมายในตอนแรกๆ นั้นทำเป็นหมายประกาศอย่างละเอียด ขึ้นต้นบอกวัน เดือน ปี ที่ประทับของพระเจ้าแผ่นดิน ใครเป็นผู้กราบบังคมทูลคดีอันเป็นเหตุให้ตรากฎหมาย พระเจ้าแผ่นดินยืดยาวเกินไป จึงตัดข้อความที่ไม่ต้องการออก แต่ต่อๆ มา กฎหมายมีมากขึ้น ก็ยากแก่การค้นห้า จึงตัดข้อความลงอีก ซึ่งพราหมณ์ชาวอินเดียเป็นผู้นำมาสอนให้ทำ อนุโลมตามแบบพระมนูธรรมศาสตร์ อันเป็นหลักกฎหมายของอินเดีย เช่น ลักษณะโจร ลักษณะผัวเมีย
กฎหมายสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง)
ในระหว่าง พ.ศ. ๑๘๙๔-๑๙๑๐ ได้มีการพิจารณาตรากฎหมายขึ้นทั้งหมด ๑๐ ฉบับ คือ
๑. กฎหมายลักษณะพยาน พ.ศ. ๑๘๙๔
๒. กฎหมายลักษณะอาญาหลวง พ.ศ. ๑๘๙๕
๓. กฎหมายลักษณะรับฟ้อง พ.ศ. ๑๘๙๙
๔. กฎหมายลักษณะลักพา พ.ศ. ๑๘๙๙
๕. กฎหมายลักษณะอาญาราษฎร์ พ.ศ. ๑๙๐๑
๖. กฎหมายลักษณะโจร พ.ศ. ๑๙๐๓
๗. กฎหมายลักษณะเบ็ดเสร็จว่าด้วยที่ดิน พ.ศ. ๑๙๐๓
๘. กฎหมายลักษณะผัวเมีย พ.ศ. ๑๙๐๔
๙. กฎหมายลักษณะผัวเมีย(เพิ่มเติม) พ.ศ. ๑๙๐๕
๑๐. กฎหมายลักษณะโจรว่าด้วยสมโจร พ.ศ. ๑๙๑๐
กฎหมายลักษณะลักพา
กฎหมายลักษณะลักพา มีอยู่บทหนึ่งว่าด้วยเรื่องทาส ดังนี้ ผู้ใดลักพาข้าคนท่านขายให้แก่คนต่างประเทศ คนต่างเมือง ฯลฯ พิจารณาเป็นสัจ ท่านให้ฆ่าผู้ร้ายนั้นเสีย ส่วนชาวต่างประเทศนั้นให้เกาะจำไว้ฉันไหมโจร
แต่เมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยากับกรุงสุโขทัยเป็นมิตรกันนั้น มีผู้ลักพาทาสในกรุงศรีอยุธยาหนีขึ้นไปเมืองเหนือ พวกเจ้าเงินกราบทูลพระเจ้าอู่ทองขอให้ไปติดตามเอาทาสกลับมา แต่พระเจ้าอู่ทองกลับมีพระราชดำรัสให้ว่ากล่าวเอาแก่ผู้ขายนายประกันเท่านั้น


กฎหมายลักษณะผัวเมีย
กฎหมายลักษณะผัวเมียในสมัยนั้น ชายมีภรรยาได้หลายคน และกฎหมายก็ยอมรับ กฎหมายจึงแบ่งภรรยาออกเป็น
๑. หญิงอันบิดามารดากุมมือให้ไปเป็นเมียชาย ได้ชื่อว่าเป็นเมียกลางเมือง (เมียหลวง)
๒. ชายขอหญิงมาเลี้ยงเป็นอนุภรรยาหลั่นเมียหลวงลงมา ได้ชื่อว่าเมียกลางนอก
๓. หญิงใดทุกข์ยาก ชายช่วยไถ่ได้มาเห็นหมดหน้า เลี้ยงเป็นเมียได้ชื่อว่า เมียกลางทาสี
การพิจารณาคดี
ในสมัยพระจ้าอู่ทองนั้น ได้อยู่ในอำนาจของเสนาบดีจตุสดมภ์ดังนี้
๑. เสนาบดีกรมเมือง พิจารณาพิพากษาคดีอุกฉกรรจ์ที่จะทำให้เกิดความไม่สงบขึ้นภายในแผ่นดิน
๒. เสนาบดีกรมวัง พิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับข้อพิพาทของราษฎร
๓. เสนาบดีกรมคลัง พิจารณาพิพากษาเกี่ยวกับพระราชทรัพย์
๔. เสนาบดีกรมนา พิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับ ที่นา โคกระบือ เพื่อระงับข้อพิพาทของชาวนา
ระบบกฎหมายสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลาง
สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ได้มีกฎหมายใหม่หลายฉบับ บางฉบับก็ปรับปรุงจากของเก่า กฎหมายที่ตราขึ้นใหม่มีดังนี้
๑. กฎหมายว่าด้วยการเทียบศักดินา
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เช่น ศิลาจารึกสุโขทัย และจดหมายเหตุของจีน ทำให้เราทราบว่า ศักดินาไม่ได้มีเมื่อสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แต่ได้มีมานานแล้ว เป็นเพียงแต่พระองค์ได้ทรงวางหลักเกณฑ์และปรับปรุงใหม่เท่านั้น
ในสมัยก่อน ถือว่า พระเจ้าแผ่นดินทรงเป็นเจ้าของแผ่นดินทั่วราชอาณาจักร ข้าราชการและพระบรมวงศานุวงศ์ ยังไม่มีเงินเดือน เงินปีอย่างสมัยนี้ จึงใช้วิธีพระราชทานที่ดินให้มากน้อยตามฐานะแต่ความเป็นจริง แล้วก็ไม่ได้มีที่ดินไว้ในครอบครองตามที่กำหนด แต่อย่างไรก็ตาม ศักดินาเป็นเครื่องกำหนดชั้นฐานะของบุคคลและยังมีผลในทางด้านอื่นๆ ด้วยเช่น
๑.๑ การปรับไหม ผู้ที่ทำผิดอย่างเดียวกัน ถ้ามีศักดินาสูงกว่า จะเสียค่าปรับมากกว่ามีศักดินาต่ำกว่า หรือการปรับไหมให้แก่กันในคดีเดียวกัน ถ้าไพร่ผิดต่อไพร่ จะเสียค่าปรับตามศักดินาไพร่ ถ้าไพร่ทำผิดต่อขุนนาง ให้เอาศักดินาขุนนางมาปรับไพร่ ถ้าขุนนางผิดต่อไพร่ ให้ปรับตามศักดินาของขุนนาง
๑.๒ การตั้งทนาย ผู้ที่มีศักดินา ๔๐๐ ไร่ ขึ้นไป จะแต่งตั้งทนายว่าความแทนตนเองได้
๑.๓ กำหนดที่นั่งในการเฝ้า เมื่อพระเจ้าอยู่หัวเสด็จออกว่าราชการแผ่นดิน ผู้มีศักดินา ๑๐,๐๐๐ ถึง ๘๐๐ ต้องเข้าเฝ้า นอกนั้นไม่บังคับ ตำแหน่งที่นั่งจะสูงต่ำ ใกล้หรือไกลให้จัดตามศักดินา
พอสรุปได้ว่า ศักดินา หมายถึง เกณฑ์ตามพระราชกำหนดที่กำหนดว่า บุคคลนั้นจะมีกรรมสิทธิ์ในที่นามากน้อยเพียงใด
ระเบียบตำแหน่งยศศักดินาของข้าราชการ มีดังนี้
๑. ยศ ได้แก่ เจ้าพระยา พระยา พระ หลวง ขุน หมื่น พัน
๒. ราชทินนาม ได้แก่ ยมราช สีหราชเดโชชัย ฯลฯ
๓. ตำแหน่ง ได้แก่สมุหกลาโหม สมุหนายก เสนาบดี ฯลฯ
๔. ศักดินา ได้แก่ เกณฑ์กำหนดสิทธิ์ที่นาตามยศแต่ละบุคคล
๒. กฎหมายลักษณะอาญาขบถศึก
ตัวอย่างความบางตอนเกี่ยวกับลักษณะอาญาขบถศึก
มาตรา ๑ ผู้ใดใฝ่สูงให้เกินศักดิ์มักขบถประทุษร้าย จะต่ำพระองค์ลงมาดำภูฉัตร อนึ่งทำร้ายพระองค์ด้วย โหรายาพิษ แลด้วยเครื่องศาสตราสรรพยุทธให้ถึงสิ้นพระชนม์ อนึ่งพระเจ้าอยู่หัวให้ผู้ใดไปรั้งเมืองครองเมืองและมิได้เอาสุพรรณบุปผาและ ภัทยาเข้ามาบังคมถวายแลแข็งเมือง อนึ่งผู้ใดเอาใจเผื่อแผ่ศึกศัตรูนัดแนะให้ยกเข้ามาเบียดเบียนพระนคร ขอบขัณฑเสมาธานีน้อยใหญ่ อนึ่งผู้ใดเอากิจการบ้านเมืองแจ้งให้ข้าศึก ถ้าผู้ใดกระทำดังกล่าวนี้ โทษผู้นั้นเป็นอุกฤษฏ์ ๓ สถาน
สถานหนึ่ง ให้ริบราชบาทย์ ฆ่าเสียให้สิ้นทั้งโคตร
สถานหนึ่ง ให้ริบราชบาทย์ ฆ่าเสีย เจ็ดโคตร
สถานหนึ่ง ให้ริบราชบาทย์ แล้วให้ฆ่าเสียโคตรนั้นอย่าเลี้ยงต่อไปอีกเลย
เมื่อประหารชีวิตนั้น ให้ประหารให้ได้ ๗ วัน จึงสิ้นชีวิต เมื่อประหารนั้นอย่าให้โลหิตและศพตกลงในแผ่นดินท่าน ให้ใส่แพลอยเสียตามกระแสน้ำ
๓. กฎหมายลักษณะอาญาหลวง
ตัวอย่างความบางตอนเกี่ยวกับกฎหมายลักษณะอาญาหลวง
มาตรา ๑ ผู้ใดโลภนักมักทำใจใหญ่ใฝ่สูงให้เกินศักดิ์ กระทำให้ล้นพ้นล้ำเหลือบรรดาศักดิ์ อันท่านไม่ให้แก่ตน แลจำพระราชนิยมพระเจ้าอยู่หัว แลถ้อยคำมิควรเจรจา มาเจรจาเข้าในระหว่างราชาศัพท์ แลสิ่งที่มิควรเอามาประดับ เอามาทำเป็นเครื่องประดับท่านว่าผู้นั้นทะนงองอาจ ให้ลงโทษ ๘ สถาน
สถานหนึ่ง ให้ฟันคอริบเรือน
สถานหนึ่ง ให้เอามะพร้าวห้าวยัดปาก
สถานหนึ่ง ให้ริบราชบาทย์ แล้วเอาตัว
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The law and the courts of the Ayutthaya period.The legal system in the Ayutthaya period beginningThe first episode features the law in the area is the extensive publishing start date/time stamps to tell of God's Earth. Who is my way to appeal the case as a legal instrument, God's land stretched too long, cut the unwanted messages, but subsequent laws are more difficult to find, to make five, it's a wrap, which is leading the people of India came to Siam to teach, do. Comply with Thammasat University as a master God Manu law of India, such as the style bandits features husband and wife.King ramathibodi law at 1 (Chulalongkorn).During 1894-1910 census has been considering all 10 original law is. 1. The law of August 10, 1894 witness characteristics. 2. Criminal law the capital style since 1895 3. Legal characteristics been sued since 1899. 4. Legal characteristics and kidnapped since 1899 5. The criminal law of 1901 census characteristics in rat 6. Legal style bandits since 1903 7. The law on the land since 1903 the built-in styles. 8. Legal features husband and wife since 1904 9. Legal features husband and wife (more). since 1905. 10. The law relating to the appropriate style bandits bandits since 1910.Legal characteristics and kidnappedLegal characteristics and kidnapped There is one article on the subject of slavery. The people who kidnapped me this: you sell to foreign people. People are different cities, etc, considered as mercy. To kill the culprit. The foreign section, remember me? the banditsBut when the Kingdom of Sukhothai with friendly khrangkrung. There are more slaves escaped and kidnapped in northern city of Ayutthaya. They fashioned silver Chao thong thunphra let go thatklap but the Lord removed tracking "thongklap has the word, whether it took the vendor only insurance broker. Legal features husband and wifeกฎหมายลักษณะผัวเมียในสมัยนั้น ชายมีภรรยาได้หลายคน และกฎหมายก็ยอมรับ กฎหมายจึงแบ่งภรรยาออกเป็น๑. หญิงอันบิดามารดากุมมือให้ไปเป็นเมียชาย ได้ชื่อว่าเป็นเมียกลางเมือง (เมียหลวง)๒. ชายขอหญิงมาเลี้ยงเป็นอนุภรรยาหลั่นเมียหลวงลงมา ได้ชื่อว่าเมียกลางนอก๓. หญิงใดทุกข์ยาก ชายช่วยไถ่ได้มาเห็นหมดหน้า เลี้ยงเป็นเมียได้ชื่อว่า เมียกลางทาสีการพิจารณาคดีในสมัยพระจ้าอู่ทองนั้น ได้อยู่ในอำนาจของเสนาบดีจตุสดมภ์ดังนี้ ๑. เสนาบดีกรมเมือง พิจารณาพิพากษาคดีอุกฉกรรจ์ที่จะทำให้เกิดความไม่สงบขึ้นภายในแผ่นดิน ๒. เสนาบดีกรมวัง พิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับข้อพิพาทของราษฎร ๓. เสนาบดีกรมคลัง พิจารณาพิพากษาเกี่ยวกับพระราชทรัพย์ ๔. เสนาบดีกรมนา พิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับ ที่นา โคกระบือ เพื่อระงับข้อพิพาทของชาวนาระบบกฎหมายสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลางสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ได้มีกฎหมายใหม่หลายฉบับ บางฉบับก็ปรับปรุงจากของเก่า กฎหมายที่ตราขึ้นใหม่มีดังนี้๑. กฎหมายว่าด้วยการเทียบศักดินาจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เช่น ศิลาจารึกสุโขทัย และจดหมายเหตุของจีน ทำให้เราทราบว่า ศักดินาไม่ได้มีเมื่อสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แต่ได้มีมานานแล้ว เป็นเพียงแต่พระองค์ได้ทรงวางหลักเกณฑ์และปรับปรุงใหม่เท่านั้นในสมัยก่อน ถือว่า พระเจ้าแผ่นดินทรงเป็นเจ้าของแผ่นดินทั่วราชอาณาจักร ข้าราชการและพระบรมวงศานุวงศ์ ยังไม่มีเงินเดือน เงินปีอย่างสมัยนี้ จึงใช้วิธีพระราชทานที่ดินให้มากน้อยตามฐานะแต่ความเป็นจริง แล้วก็ไม่ได้มีที่ดินไว้ในครอบครองตามที่กำหนด แต่อย่างไรก็ตาม ศักดินาเป็นเครื่องกำหนดชั้นฐานะของบุคคลและยังมีผลในทางด้านอื่นๆ ด้วยเช่น๑.๑ การปรับไหม ผู้ที่ทำผิดอย่างเดียวกัน ถ้ามีศักดินาสูงกว่า จะเสียค่าปรับมากกว่ามีศักดินาต่ำกว่า หรือการปรับไหมให้แก่กันในคดีเดียวกัน ถ้าไพร่ผิดต่อไพร่ จะเสียค่าปรับตามศักดินาไพร่ ถ้าไพร่ทำผิดต่อขุนนาง ให้เอาศักดินาขุนนางมาปรับไพร่ ถ้าขุนนางผิดต่อไพร่ ให้ปรับตามศักดินาของขุนนาง ๑.๒ การตั้งทนาย ผู้ที่มีศักดินา ๔๐๐ ไร่ ขึ้นไป จะแต่งตั้งทนายว่าความแทนตนเองได้ ๑.๓ กำหนดที่นั่งในการเฝ้า เมื่อพระเจ้าอยู่หัวเสด็จออกว่าราชการแผ่นดิน ผู้มีศักดินา ๑๐,๐๐๐ ถึง ๘๐๐ ต้องเข้าเฝ้า นอกนั้นไม่บังคับ ตำแหน่งที่นั่งจะสูงต่ำ ใกล้หรือไกลให้จัดตามศักดินา พอสรุปได้ว่า ศักดินา หมายถึง เกณฑ์ตามพระราชกำหนดที่กำหนดว่า บุคคลนั้นจะมีกรรมสิทธิ์ในที่นามากน้อยเพียงใดระเบียบตำแหน่งยศศักดินาของข้าราชการ มีดังนี้ ๑. ยศ ได้แก่ เจ้าพระยา พระยา พระ หลวง ขุน หมื่น พัน ๒. ราชทินนาม ได้แก่ ยมราช สีหราชเดโชชัย ฯลฯ ๓. ตำแหน่ง ได้แก่สมุหกลาโหม สมุหนายก เสนาบดี ฯลฯ ๔. ศักดินา ได้แก่ เกณฑ์กำหนดสิทธิ์ที่นาตามยศแต่ละบุคคล ๒. กฎหมายลักษณะอาญาขบถศึก ตัวอย่างความบางตอนเกี่ยวกับลักษณะอาญาขบถศึก มาตรา ๑ ผู้ใดใฝ่สูงให้เกินศักดิ์มักขบถประทุษร้าย จะต่ำพระองค์ลงมาดำภูฉัตร อนึ่งทำร้ายพระองค์ด้วย โหรายาพิษ แลด้วยเครื่องศาสตราสรรพยุทธให้ถึงสิ้นพระชนม์ อนึ่งพระเจ้าอยู่หัวให้ผู้ใดไปรั้งเมืองครองเมืองและมิได้เอาสุพรรณบุปผาและ ภัทยาเข้ามาบังคมถวายแลแข็งเมือง อนึ่งผู้ใดเอาใจเผื่อแผ่ศึกศัตรูนัดแนะให้ยกเข้ามาเบียดเบียนพระนคร ขอบขัณฑเสมาธานีน้อยใหญ่ อนึ่งผู้ใดเอากิจการบ้านเมืองแจ้งให้ข้าศึก ถ้าผู้ใดกระทำดังกล่าวนี้ โทษผู้นั้นเป็นอุกฤษฏ์ ๓ สถาน สถานหนึ่ง ให้ริบราชบาทย์ ฆ่าเสียให้สิ้นทั้งโคตร
สถานหนึ่ง ให้ริบราชบาทย์ ฆ่าเสีย เจ็ดโคตร
สถานหนึ่ง ให้ริบราชบาทย์ แล้วให้ฆ่าเสียโคตรนั้นอย่าเลี้ยงต่อไปอีกเลย
เมื่อประหารชีวิตนั้น ให้ประหารให้ได้ ๗ วัน จึงสิ้นชีวิต เมื่อประหารนั้นอย่าให้โลหิตและศพตกลงในแผ่นดินท่าน ให้ใส่แพลอยเสียตามกระแสน้ำ
๓. กฎหมายลักษณะอาญาหลวง
ตัวอย่างความบางตอนเกี่ยวกับกฎหมายลักษณะอาญาหลวง
มาตรา ๑ ผู้ใดโลภนักมักทำใจใหญ่ใฝ่สูงให้เกินศักดิ์ กระทำให้ล้นพ้นล้ำเหลือบรรดาศักดิ์ อันท่านไม่ให้แก่ตน แลจำพระราชนิยมพระเจ้าอยู่หัว แลถ้อยคำมิควรเจรจา มาเจรจาเข้าในระหว่างราชาศัพท์ แลสิ่งที่มิควรเอามาประดับ เอามาทำเป็นเครื่องประดับท่านว่าผู้นั้นทะนงองอาจ ให้ลงโทษ ๘ สถาน
สถานหนึ่ง ให้ฟันคอริบเรือน
สถานหนึ่ง ให้เอามะพร้าวห้าวยัดปาก
สถานหนึ่ง ให้ริบราชบาทย์ แล้วเอาตัว
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The law and courts orchid orchid, early

legal systemThe law in the first set. There is a notice thoroughly begin tell the day, month, year, the presence of the king. Who respectfully cases, which is why the statute. The long too.But after that. The law is more, it is difficult to find five, thus cutting down again. The Brahmin Indians lead to teach. The Queen's Avenue, bow The principle of India, such as the thief, the spouses
.Law of the reign of King Rama I)
(พระเจ้าอู่ทอง during the nineteenth 133 4 - 10 was considered enact up all ten copies. The
1. Evidence law. In 133 4
2. The criminal law capital of 133 5
3. Law accepted by BC.133 9
4. The law of abduction of 133 9
5. The criminal law of the nineteenth rat and 1
6. The law of the nineteenth and the 3
7. Comprehensive law on land. In the nineteenth and 3
8. The law of the nineteenth spouses and 4
9.Law of spouses (more) in the nineteenth and 5
10 law on the 19th thief สมโจร 10
law appearance kidnap
.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: