ศิลปวัฒนธรรมของเวียดนามมีความแตกต่างกับศิลปวัฒนธรรมไทยอย่างมากที่เป็นอ การแปล - ศิลปวัฒนธรรมของเวียดนามมีความแตกต่างกับศิลปวัฒนธรรมไทยอย่างมากที่เป็นอ อังกฤษ วิธีการพูด

ศิลปวัฒนธรรมของเวียดนามมีความแตกต่า

ศิลปวัฒนธรรมของเวียดนามมีความแตกต่างกับศิลปวัฒนธรรมไทยอย่างมากที่เป็นอย่างนี้เพราะเวียดนามถูกปกครองโดยประเทศจีนมาหลายครั้งหลายหน จนอาจจะเรียกได้ว่า อารยธรรมวัฒนธรรมของเวียดนาม คือวัฒนธรรมของประเทศจีนนั่นเอง โดยเฉพาะทางด้านศิลปของโบราณสถานต่างๆ อาทิ พระราชวัง วัด สุสาน ฯลฯ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันจนไม่สามารถแยกออกให้เห็นอย่างเด่นชัด แม้ในช่วงหลังมานี้ เวียดนามอาจได้รับอิทธิพลจากประเทศฝรั่งเศส และญี่ปุ่นอยู่บ้างแต่ในภาพรวมแล้วจะคล้ายคลึงกับประเทศจีน และมีหลักฐานให้เห็นอยู่ทั่วไปบริเวณสองข้างทางที่พวกเราผ่านไปเกือบทุกถนน ถ้าจะกล่าวถึงวัฒนธรรมนั้นสามารถแยกแยะออกเป็นประเภทต่างๆได้หลากหลาย ในที่นี้กล่าวเปรียบเทียบระหว่างวัฒนธรรมเวียดนาม กับ วัฒนธรรมไทยหรืออื่นๆ เท่าที่จะค้นคว้าได้ ดังนี้

วัฒนธรรมทางด้านภาษา

ภาษาเวียดนามในช่วงแรกใช้อักษรจีนมาตลอดจนกระทั่งปี พ.ศ.๒๔๖๓ จึงเปลี่ยนมาใช้อักษรโรมัน และถ้าสังเกตจริงๆแล้วเป็นวัฒนธรรมของฝรั่งเศสและเมื่อนำมาเปรียบเทียบการออกเสียงหรือความหมายของคำแล้วจะพบว่า ความใกล้เคียงของภาษาไทยกับภาษาลาวจะใกล้เคียงกันมากกว่า ภาษาเวียดนาม

การแต่งกาย

การแต่งกายของเยาวชนเวียดนามยังคงยึดมั่นในวัฒนธรรมประจำชาติของตน กล่าวคือ เยาวชนผู็หญิงยังคงนุ่งซิ่นกรวมเท้า สวมเสื้อมีปกขาวแขนสามส่วน ส่วนฝ่ายชายก็แต่งตัวเรียบร้อยนุ่งกางเกงทรงสุภาพและใส่เสื้อเชิ้ตส่วนใหญ่ ชุดประจำชาติของเวียดนามคล้ายกับเครื่องแต่งกายคนจีน ที่เรียกว่า กี่เพ้า

จะเห็นได้ว่าประเทศเวียดนามเคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลจากจักรพรรดิจีนมานาน จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่สิ่งก่อสร้าง ศิลปวัฒนธรรม อาหารการกินจะคล้ายประเทศจีน นอกจากนี้ยังมีความหลากหลายของผู้คน ทั้งชาวเขา หลากหลายชนเผ่า ทางด้านเหนือของเวียดนามซึ่งคล้ายกับประเทศไทย หรือเืมื่อฝรั่งเศสเข้ามาปกครองจึงมีศิลปวัฒนธรรมตึกรามบ้านช่องที่ทันสมัยอย่างเช่นตึกสีเหลือง เป็นต้น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Culture of Viet Nam has the difference with Thai culture, this is very much due to Viet Nam has been ruled by China for many times, many times until it could be called the cultural civilization of Viet Nam is the culture of China exerted, especially in the arts of the ancient temple, Palace, Tomb optimisation which is similar through cannot exclude the obvious. Even after the Viet Nam may have been influenced by country, France and Japan but in the overview will then be similar to China, and there is evidence the two sides in common that we go through almost every street. If it is to be mentioned that culture can distinguish various categories are diverse. Here is a comparison between culture of Viet Nam with Thai culture or other possible research. As follows:Language cultureIn Viet Nam during the first Chinese character is used as part of the change, as well as the Roman alphabet even 2463 (1920) and if the notice is actually France's culture and when compared to the pronunciation or meaning of the word, it is found that the proximity of the Thai language, similar to the Lao language rather than language in Viet Nam.DressDress of the Viet Nam youth still adhering to their national culture. That is, ladies and all minors still wear a skirt with a white collar shirt worn feet kruam arm three parts. Best man was dressed and wear pants, he successfully entered the most shirt. Series of Viet Nam's national costume is similar to the Chinese people, known as Ki phao.Can be seen that in Viet Nam was falling under the influence of the Emperor of China for a long time? It is not uncommon that the construction. Arts and culture Food will be like China. There is also a wide variety of people and various ethnic hill tribe. North of Viet Nam, which is similar to the Thai nation, or when France were confronted with a culture of modern buildings, such as the yellow building, etc.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ศิลปวัฒนธรรมของเวียดนามมีความแตกต่างกับศิลปวัฒนธรรมไทยอย่างมากที่เป็นอย่างนี้เพราะเวียดนามถูกปกครองโดยประเทศจีนมาหลายครั้งหลายหน จนอาจจะเรียกได้ว่า อารยธรรมวัฒนธรรมของเวียดนาม คือวัฒนธรรมของประเทศจีนนั่นเอง โดยเฉพาะทางด้านศิลปของโบราณสถานต่างๆ อาทิ พระราชวัง วัด สุสาน ฯลฯ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันจนไม่สามารถแยกออกให้เห็นอย่างเด่นชัด แม้ในช่วงหลังมานี้ เวียดนามอาจได้รับอิทธิพลจากประเทศฝรั่งเศส และญี่ปุ่นอยู่บ้างแต่ในภาพรวมแล้วจะคล้ายคลึงกับประเทศจีน และมีหลักฐานให้เห็นอยู่ทั่วไปบริเวณสองข้างทางที่พวกเราผ่านไปเกือบทุกถนน ถ้าจะกล่าวถึงวัฒนธรรมนั้นสามารถแยกแยะออกเป็นประเภทต่างๆได้หลากหลาย ในที่นี้กล่าวเปรียบเทียบระหว่างวัฒนธรรมเวียดนาม กับ วัฒนธรรมไทยหรืออื่นๆ เท่าที่จะค้นคว้าได้ ดังนี้

วัฒนธรรมทางด้านภาษา

ภาษาเวียดนามในช่วงแรกใช้อักษรจีนมาตลอดจนกระทั่งปี พ.ศ.๒๔๖๓ จึงเปลี่ยนมาใช้อักษรโรมัน และถ้าสังเกตจริงๆแล้วเป็นวัฒนธรรมของฝรั่งเศสและเมื่อนำมาเปรียบเทียบการออกเสียงหรือความหมายของคำแล้วจะพบว่า ความใกล้เคียงของภาษาไทยกับภาษาลาวจะใกล้เคียงกันมากกว่า ภาษาเวียดนาม

การแต่งกาย

การแต่งกายของเยาวชนเวียดนามยังคงยึดมั่นในวัฒนธรรมประจำชาติของตน กล่าวคือ เยาวชนผู็หญิงยังคงนุ่งซิ่นกรวมเท้า สวมเสื้อมีปกขาวแขนสามส่วน ส่วนฝ่ายชายก็แต่งตัวเรียบร้อยนุ่งกางเกงทรงสุภาพและใส่เสื้อเชิ้ตส่วนใหญ่ ชุดประจำชาติของเวียดนามคล้ายกับเครื่องแต่งกายคนจีน ที่เรียกว่า กี่เพ้า

จะเห็นได้ว่าประเทศเวียดนามเคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลจากจักรพรรดิจีนมานาน จึงไม่ใช่เรื่องแปลกที่สิ่งก่อสร้าง ศิลปวัฒนธรรม อาหารการกินจะคล้ายประเทศจีน นอกจากนี้ยังมีความหลากหลายของผู้คน ทั้งชาวเขา หลากหลายชนเผ่า ทางด้านเหนือของเวียดนามซึ่งคล้ายกับประเทศไทย หรือเืมื่อฝรั่งเศสเข้ามาปกครองจึงมีศิลปวัฒนธรรมตึกรามบ้านช่องที่ทันสมัยอย่างเช่นตึกสีเหลือง เป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
The art and culture of Vietnam has difference with the Thai culture greatly like this because Vietnam was ruled by China for several times. So it may be called the civilization culture of Vietnam.The art of historical places such as palaces, temples, tombs, etc., which are similar to cannot be separated to see distinctly. Even recently, Vietnam may be influenced by France.And there is evidence seen in general the two sides we almost every street. If you mention culture can differentiate into a variety of different types. Here said comparison between Vietnamese culture.As far as the research as follows:
.


in Vietnamese culture, the language used in the first stage of Chinese here until the yearPyre 6 3 switched to the Roman alphabet. And if you notice is actually the culture of France and compared the pronunciation or meaning, many of the words will find that Proximity of Thai and Lao are similar.


. DressThe dress of the youth in Vietnam still adhering to their national culture, that is, the youth executive women continue to wear resin wear the foot. Wear a shirt with white collar arms three parts.A series of Vietnam is similar to the Chinese national costume called Qipao
.
.It can be seen that Vietnam was under the influence of Imperial China for a long time. It is not uncommon that buildings, art, culture, food is similar to China. There is also a wide variety of people. The hill tribes.To the north of Vietnam, which is similar to Thailand. Or when French rule in the modern cultural buildings, such as the yellow building.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: