ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐจากผลกา การแปล - ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐจากผลกา อังกฤษ วิธีการพูด

ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนระหว

ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ

จากผลการศึกษาเรื่อง “การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ” โดยทาการศึกษาปัจจัยที่คาดว่าจะมีผลต่อ อัตราแลกเปลี่ยน ได้แก่ อัตราดอกเบี้ยให้กู้ยืมระหว่างธนาคาร(IBR) อัตราเงินเฟ้อ(INF) มูลค่าการส่งออกสินค้าไทย-สหรัฐอเมริกา(XUS) โดยใช้สมการ ถดถอยเชิงซ้อน(Multiple Regressions) ด้วยวิธีกาลังสองน้อยที่สุด (Ordinary Least Squares:OLS) ข้อมูลที่ใช้เป็นรายเดือน ตั้งแต่ มกราคม พ.ศ. 2544 ถึง พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ผลการศึกษาตัวแปรต่างๆ ปรากฏว่า 1.อัตราดอกเบี้ยให้กู้ยืมระหว่างธนาคาร (IBR) มีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ในทิศทางตรงข้าม อย่างมีนัยยะสาคัญ 0.05 อธิบายถึงอัตราแลกเปลี่ยนจะปรับเปลี่ยน เพื่อให้สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างอัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยเป็นตัวสะท้อนความต้องการลงทุนของนักลงทุน หากอัตราดอกเบี้ยในประเทศสูงกว่า เมื่อเทียบกับอัตราดอกเบี้ยต่างประเทศก็จะดึงดูดให้นักลงทุนนาเงินเข้ามาลงทุนในประเทศนั้น เงินตราสกุลของประเทศนั้นจะแข็งค่าขึ้น ดังนั้น อัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมระหว่างธนาคารจึงมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทกับค่าเงินดอลล่าสหรัฐ 2.อัตราเงินเฟ้อ (INF) มีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ในทิศทางตรงข้ามอย่างไม่มีนัยสาคัญ ดังนั้น อัตราเงินเฟ้อจึงมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงข้าม กับอัตราแลกเปลี่ยนระหว่าง ค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ 3.มูลค่าการส่งออกสินค้าไทย-สหรัฐอเมริกา (XUS) มีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐในทิศทางเดียวกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ สงครามค่าเงินที่มีจุดเริ่มต้นจากการที่ประเทศที่หนึ่ง ต้องการกระตุ้นให้เกิดการเติบโตของเศรษฐกิจ และได้ตัดสินใจใช้นโยบายการลดค่าเงิน หลังจากนั้นอัตราแลกเปลี่ยนที่ลดลงจะส่งผลให้สินค้าของประเทศที่หนึ่ง มีราคาถูกลงในสายตาของประเทศผู้นาเข้า สินค้าส่งออกสามารถเข้าถึงประเทศต่างๆ ได้มากขึ้น และ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศหนึ่ง จะสูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่ไม่ได้ปรับลดค่าเงิน ดังนั้นมูลค่าการส่งออกสินค้าไทย-สหรัฐอเมริกา (XUS) จึงมีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ คือมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ เพราะอัตราแลกเปลี่ยนมีการเปลี่ยนแปลงไปตามนโยบายของแต่ละประเทศในการทาสงครามลดค่าเงิน แย่งกันส่งออกจึงไม่มีนัยยะสาคัญทางสถิติ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
Factors that affect the exchange rate of the baht against the us dollar.จากผลการศึกษาเรื่อง “การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ” โดยทาการศึกษาปัจจัยที่คาดว่าจะมีผลต่อ อัตราแลกเปลี่ยน ได้แก่ อัตราดอกเบี้ยให้กู้ยืมระหว่างธนาคาร(IBR) อัตราเงินเฟ้อ(INF) มูลค่าการส่งออกสินค้าไทย-สหรัฐอเมริกา(XUS) โดยใช้สมการ ถดถอยเชิงซ้อน(Multiple Regressions) ด้วยวิธีกาลังสองน้อยที่สุด (Ordinary Least Squares:OLS) ข้อมูลที่ใช้เป็นรายเดือน ตั้งแต่ มกราคม พ.ศ. 2544 ถึง พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ผลการศึกษาตัวแปรต่างๆ ปรากฏว่า 1.อัตราดอกเบี้ยให้กู้ยืมระหว่างธนาคาร (IBR) มีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ในทิศทางตรงข้าม อย่างมีนัยยะสาคัญ 0.05 อธิบายถึงอัตราแลกเปลี่ยนจะปรับเปลี่ยน เพื่อให้สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างอัตราดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ยเป็นตัวสะท้อนความต้องการลงทุนของนักลงทุน หากอัตราดอกเบี้ยในประเทศสูงกว่า เมื่อเทียบกับอัตราดอกเบี้ยต่างประเทศก็จะดึงดูดให้นักลงทุนนาเงินเข้ามาลงทุนในประเทศนั้น เงินตราสกุลของประเทศนั้นจะแข็งค่าขึ้น ดังนั้น อัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมระหว่างธนาคารจึงมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับอัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทกับค่าเงินดอลล่าสหรัฐ 2.อัตราเงินเฟ้อ (INF) มีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ในทิศทางตรงข้ามอย่างไม่มีนัยสาคัญ ดังนั้น อัตราเงินเฟ้อจึงมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงข้าม กับอัตราแลกเปลี่ยนระหว่าง ค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ 3.มูลค่าการส่งออกสินค้าไทย-สหรัฐอเมริกา (XUS) มีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐในทิศทางเดียวกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ ทั้งนี้อาจเป็นเพราะ สงครามค่าเงินที่มีจุดเริ่มต้นจากการที่ประเทศที่หนึ่ง ต้องการกระตุ้นให้เกิดการเติบโตของเศรษฐกิจ และได้ตัดสินใจใช้นโยบายการลดค่าเงิน หลังจากนั้นอัตราแลกเปลี่ยนที่ลดลงจะส่งผลให้สินค้าของประเทศที่หนึ่ง มีราคาถูกลงในสายตาของประเทศผู้นาเข้า สินค้าส่งออกสามารถเข้าถึงประเทศต่างๆ ได้มากขึ้น และ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศหนึ่ง จะสูงขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่ไม่ได้ปรับลดค่าเงิน ดังนั้นมูลค่าการส่งออกสินค้าไทย-สหรัฐอเมริกา (XUS) จึงมีผลต่ออัตราแลกเปลี่ยนระหว่างค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ คือมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ เพราะอัตราแลกเปลี่ยนมีการเปลี่ยนแปลงไปตามนโยบายของแต่ละประเทศในการทาสงครามลดค่าเงิน แย่งกันส่งออกจึงไม่มีนัยยะสาคัญทางสถิติ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Factors affecting the exchange rate of the baht against the US dollar from a study. "Factors affecting the exchange rate of the baht against the US dollar," the studied factors expected to affect. The exchange rate is the interest rate on loans between banks (IBR), inflation (INF) value of exports Thailand - United States (XUS) using regression complexes (Multiple Regressions) method being the least (Ordinary Least Squares:. OLS) using monthly data from January 2544 to May 2558 study showed that variables 1. The interest rate on loans between banks (IBR) affect the exchange rate between the Thai Baht. US dollar In opposite directions Significantly important 0:05 describes the exchange rate will be adjusted. To comply with the difference between the interest rate. The interest rate reflects the needs of investors. If domestic interest rates higher. Compared with the interest rates will attract foreign investors to invest in the country's capital. The country's currency is appreciating, so the interest rate on loans between banks, so there is a relationship in the opposite direction of the exchange rate between the dollar, the baht against the US dollar. 2. Inflation (INF) affect the exchange rate of the baht against the US dollar. In the opposite direction are not significant, so inflation has a relationship in the opposite direction. The exchange rate between The baht per US dollar 3. The value of exports Thailand - United States (XUS) affect the exchange rate of the baht against the US dollar in the same direction, with no statistical significance. Perhaps the Currency war at the beginning of the country that one. To stimulate economic growth. And has decided to adopt a policy of devaluation. After that exchange rates would result in a reduction of one country. Cheaper in the eyes of the country's imports. Exports could reach more countries and the competitiveness of a country. Will be higher when compared with countries that do not cut the money. Therefore, the value of exports Thailand - United States (XUS), thus affecting the exchange rate of the baht against the US dollar. Is there a relationship in the same direction, with no statistical significance. Because of exchange rate changes to the policies of each country in war paint devaluation. Scramble exporter had no significant statistical implications.

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: