ประเทศอินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีประชากร 260,434,034 คน เป็นหมู่เกาะที่ การแปล - ประเทศอินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีประชากร 260,434,034 คน เป็นหมู่เกาะที่ อังกฤษ วิธีการพูด

ประเทศอินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีประ

ประเทศอินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีประชากร 260,434,034 คน เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลกและ เป็นประเทศที่มีชาวมุสลิมมากที่สุดในโลก โดยการประมาณการของสหประชาชาติ ในประเทศอินโดนีเซียจำนวนประชากรที่มากนี้ ในที่สุดก็จะกลายเป็นแรงงานสำคัญสำหรับการพัฒนาประเทศ ศักยภาพด้านแรงงานของอินโดนีเซียเกิดขึ้นจากการที่ปัจจุบันประชากรส่วนใหญ่ยังมีอายุน้อย โดยประชากรมากกว่า 50% มีอายุต่ำกว่า 29 ปี ทำให้มีการคาดการณ์ว่า จำนวนแรงงานในประเทศจะเพิ่มขึ้นทุกปีไม่ต่ำกว่า 2 ล้านคน ส่งผลให้อินโดนีเซียเป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคอาเซียนที่มีค่าแรงต่ำ และในช่วงปี 2020–2030 จะกลายเป็นปีที่มีจำนวนประชากรวัยทำงานเพิ่มขึ้นสูงสุด ในช่วงนี้ อินโดนีเซียจึงมีโอกาสจากการมีแรงงานและกำลังการผลิตจำนวนมาก ประชากรอินโดนีเซียมีการย้ายถิ่นทั้งภายในเขตและข้ามเขตมาเป็นเวลานาน ตั้งแต่สมัยเป็นอาณานิคมอยู่ ซึ่งก็มีทั้งการย้ายถิ่นโดยสมัครใจและถูกบังคับ ทั้งนี้ มีพื้นที่และแหล่งชุมชนซึ่งเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางว่า เป็นสถานที่ที่กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆอพยพเข้ามาอยู่อาศัย อาทิ เขตมินังกาเบาและบาตักในเกาะสุมาตรา เขตบูกิสและมากัสซารีสในสุลาเวสี บันจารีสในกาลิมันตัน และเขตมาดูรีสบนเกาะชวา แต่ด้วยความหนาแน่นของประชากรที่กระจุกตัวอยู่อย่างหนาแน่นบนเกาะสำคัญของประเทศ ทำให้รัฐบาลอินโดนีเซียกำหนดนโยบายการอพยพย้ายถิ่น (Transmigration Policy) โดยบังคับให้ประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตชุมชนหนาแน่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งบนเกาะชวาและบาหลี อพยพไปอยู่บนเกาะที่มีประชากรเบาบาง เช่นที่เกาะสุมาตรา กาลิมันตัน สุลาเวสี และปาปัว เป็นต้น
สำหรับการย้ายถิ่นไปต่างประเทศของคนอินโดนีเซีย เริ่มขึ้นอย่างเป็นทางการตามนโยบายส่งออกแรงงานไร้ฝีมือใน ค.ศ. 1975 โดยมีจุดประสงค์ในช่วงแรกเพื่อต้องการระบายคนว่างงานที่มีอยู่จนล้นในประเทศ 2 แรงงานที่เดินทางไปทำงานต่างประเทศนี้ มีทั้งที่ไปแบบถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่จะเป็นแบบหลังเสียมากกว่า ประเทศปลายทางในระยะแรกอยู่ในตะวันออกกลาง อย่างไรก็ดี แม้แรงงานเหล่านี้ส่วนใหญ่จะเดินทางไปแบบผิดกฎหมาย แต่เมื่อได้ค่าจ้าง ก็จะส่งกลับประเทศส่วนหนึ่ง ซึ่งมีส่วนช่วยในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก ในเวลาต่อมา จุดประสงค์ของนโยบายจึงไม่ใช่เพียงแค่ระบายคนว่างงานเท่านั้น แต่ยังต้องการสร้างรายได้จากการส่งกลับเป็นหลักอีกด้วย จำนวนแรงงานของอินโดนีเซียที่เดินทางไปทำงานยังต่างประเทศได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ปัจจัยสำคัญที่นักวิชาการใช้ในการพยากรณ์จำนวนประชากรก็คือ อัตราเจริญพันธุ์ หรือ FERTILITY RATES หรือจำนวนทารกแรกเกิดโดยเฉลี่ยต่อหญิงหนึ่งคนตลอดชีวิต เป็นที่ทราบกันมานานแล้วว่า ยุโรปตะวันตก ประสบกับภาวะที่ FERTILITY RATES ลดลงเป็นลำดับ ยิ่งไปกว่านั้น ในประเทศที่มีประชากรสูง เช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประชากรผู้สูงอายุส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรและอาศัยอยู่ในเขตชนบท ผู้สูงอายุเหล่านี้ได้รับการศึกษาน้อยและต้องประกอบอาชีพตลอดชีวิต จึงไม่มีโอกาสปรับตัวเองให้เข้ากับสังคมอุตสาหกรรมใหม่ โดยเฉพาะผู้สูงอายุในชนบทไม่มีโอกาสได้รับการฝึกอบรมให้มีความสามารถเหมาะสมกับงาน สตรีสูงอายุเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบมากกว่าผู้ชายเพราะมีการศึกษาน้อยและได้ค่าจ้างต่ำ ผู้สูงอายุที่มีอายุยืนยาวต้องทนทุกข์ทรมานจากภาวะการเจ็บป่วยและไม่สามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพได้ ผู้สูงอายุในอินโดนีเซียจะเกษียณอายุเมื่อ 55 ปี และกลุ่มที่ได้รับประโยชน์จากระบบบำนาญยังจำกัดอยู่เฉพาะในกลุ่มข้าราชการ ทหาร และกลุ่มพนักงานในธุรกิจภาคเอกชนที่มีระบบการจัดการที่ดี ระบบอื่นๆ เช่น การประกันสุขภาพหรือการประกันสังคมในลักษณะอื่นยังมีน้อยมาก การเปลี่ยนแปลงค่านิยมในด้านสังคมและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้ความสัมพันธ์ในครอบครัวเปลี่ยนแปลงไป รัฐบาลจึงต้องให้ความสัมพันธ์แก่ปัญหาผู้สูงอายุอย่างมาก เพื่อทำให้ผู้สูงอายุได้รับสวัสดิการที่ดีและสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้โดยไม่ต้องเป็นภาระพึ่งพิงผู้อื่น รัฐบาลประเทศอินโดนีเซียได้เริ่มดำเนินโครงการเกี่ยวกับผู้สูงอายุในปี พ.ศ. 2532 และได้จัดตั้งคณะกรรมาธิการผู้สูงอายุ ซึ่งมีภาระกิจสำคัญ 7 ประการ คือ
1.กำหนดนโยบายเกี่ยวกับผู้สูงอายุโดยตรง
2.ประสานงานและร่วมดำเนินงานในโครงการระดับประเทศและระดับท้องถิ่นเกี่ยวกับผู้สูงอายุ โดยเน้นการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานกับหน่วยงานภาคเอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน
3.ให้การศึกษาและฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความชำนาญในสาขาต่างๆ เพื่อดำเนินการเกี่ยวกับผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ
4.จัดเตรียมและดำเนินการเพื่อให้ข้อมูล ข่าวสาร การศึกษา และการคมนาคม ตลอดจนสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ รวมทั้งจัดเตรียมสถาบันที่จะดำเนินงานในด้านผู้สูงอายุ
5.พัฒนากลวิธีและการดำเนินงานโครงการทดลองต่างๆ เกี่ยวกับผู้สูงอายุ
6.ดำเนินงานและประเมินงานในด้านผู้สูงอายุ
7.วิจัยและพัฒนางานด้านผู้สูงอายุโดยเน้นประเด็นการใช้ขีดความสามารถของครอบครัวในการดูแลรับผิดชอบผู้สูงอายุ

นอกจากนี้ยังมีปัญหาการดูแลสุขภาพซึ่งประสบปัญหาไม่ได้รับเงินทุนสนับสนุนจากรัฐบาลอย่างเพียงพอมาเป็นเวลานานหลายปี ทำให้พวกเขาเกรงว่า นโยบายใหม่นี้ อาจทำให้อุตสาหกรรมด้านสุขภาพของอินโดนีเซีย ต้องถึงคราวล่มสลายก็เป็นได้นอกจากนี้ แผนปฏิรูประบบสาธารณสุข ด้วยการประกันสุขภาพประชากรทั้งประเทศ 240 ล้านคน ให้ได้ภายในปี 2562 ยังอาจบีบให้ชาวอินโดนีเซียจำนวนมากขึ้นที่ต้องหันไปใช้บริการโรงพยาบาลเอกชน ทั้งใน และนอกประเทศ
แต่ในรายของผู้ที่ไม่มีกำลังทรัพย์เพียงพอ พวกเขาจำเป็นต้องแข่งขันกับเพื่อนร่วมชาติอีกหลายล้านคน เพื่อให้ได้รับการดูแลจากโรงพยาบาลของรัฐบาล บริษัทยาที่ใหญ่ที่สุดของอินโดนีเซีย แนะนำให้รัฐบาลเพิ่มงบประมาณ สร้างคลีนิคใหม่ในกรุงจาการ์ตา ปีละ 20 ถึง 25 แห่ง ตลอดระยะเวลา 5 ปี เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระในการดูแลผู้ป่วยจากโรงพยาบาลรัฐ และทำให้ระบบประกันสุขภาพครอบจักรวาลทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
อินโดนีเซีย มีอัตราการเกิด 2.37 คนต่อมารดาหนึ่งคน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
The country, Indonesia is a country with a population of 260,434,034 people, is the largest archipelago in the world, and is the most populous Muslim nation in the world. By the estimates of the United Nations. In many countries this population of Indonesia Eventually, it will become important for developing countries, the labour. Indonesia's labor force potential arising from the current population, the majority of younger by more than 50% population below the age of 29 years, has predicted that the number of workers in the country will increase every year no less than 2 million people. As a result, Indonesia more than one country in the ASEAN region with low labor costs, and during the years 2020 – 2030 will become that year, with the number of working-age population increased Max. During this period, so there are opportunities from Indonesia for labor and a lot of capacity. Indonesia population migration, both within and across the County for a long time. Since colonialism, which also includes both voluntary migration and forced all this. With space and community, which is widely known as a place where various immigrant ethnic groups habitats, namely the Fernsehturm Minangkabau and Batak in Sumatra. The District of Bugis, and Sari Makassar in Sulawesi. RAAF oval in Kalimantan and Central Java island but came to view the SOP with a density of population which massively concentrated on the country's main island. The Government of Indonesia makes policies for migratory (Transmigration Policy) by forcing the population living in the densely populated district, especially on Java island and Bali. Emigrated to the island such as the sparsely populated island Sumatra. Kalimantan Sulawesi and Papua, etc.สำหรับการย้ายถิ่นไปต่างประเทศของคนอินโดนีเซีย เริ่มขึ้นอย่างเป็นทางการตามนโยบายส่งออกแรงงานไร้ฝีมือใน ค.ศ. 1975 โดยมีจุดประสงค์ในช่วงแรกเพื่อต้องการระบายคนว่างงานที่มีอยู่จนล้นในประเทศ 2 แรงงานที่เดินทางไปทำงานต่างประเทศนี้ มีทั้งที่ไปแบบถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่จะเป็นแบบหลังเสียมากกว่า ประเทศปลายทางในระยะแรกอยู่ในตะวันออกกลาง อย่างไรก็ดี แม้แรงงานเหล่านี้ส่วนใหญ่จะเดินทางไปแบบผิดกฎหมาย แต่เมื่อได้ค่าจ้าง ก็จะส่งกลับประเทศส่วนหนึ่ง ซึ่งมีส่วนช่วยในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก ในเวลาต่อมา จุดประสงค์ของนโยบายจึงไม่ใช่เพียงแค่ระบายคนว่างงานเท่านั้น แต่ยังต้องการสร้างรายได้จากการส่งกลับเป็นหลักอีกด้วย จำนวนแรงงานของอินโดนีเซียที่เดินทางไปทำงานยังต่างประเทศได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ปัจจัยสำคัญที่นักวิชาการใช้ในการพยากรณ์จำนวนประชากรก็คือ อัตราเจริญพันธุ์ หรือ FERTILITY RATES หรือจำนวนทารกแรกเกิดโดยเฉลี่ยต่อหญิงหนึ่งคนตลอดชีวิต เป็นที่ทราบกันมานานแล้วว่า ยุโรปตะวันตก ประสบกับภาวะที่ FERTILITY RATES ลดลงเป็นลำดับ ยิ่งไปกว่านั้น ในประเทศที่มีประชากรสูง เช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประชากรผู้สูงอายุส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรและอาศัยอยู่ในเขตชนบท ผู้สูงอายุเหล่านี้ได้รับการศึกษาน้อยและต้องประกอบอาชีพตลอดชีวิต จึงไม่มีโอกาสปรับตัวเองให้เข้ากับสังคมอุตสาหกรรมใหม่ โดยเฉพาะผู้สูงอายุในชนบทไม่มีโอกาสได้รับการฝึกอบรมให้มีความสามารถเหมาะสมกับงาน สตรีสูงอายุเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบมากกว่าผู้ชายเพราะมีการศึกษาน้อยและได้ค่าจ้างต่ำ ผู้สูงอายุที่มีอายุยืนยาวต้องทนทุกข์ทรมานจากภาวะการเจ็บป่วยและไม่สามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพได้ ผู้สูงอายุในอินโดนีเซียจะเกษียณอายุเมื่อ 55 ปี และกลุ่มที่ได้รับประโยชน์จากระบบบำนาญยังจำกัดอยู่เฉพาะในกลุ่มข้าราชการ ทหาร และกลุ่มพนักงานในธุรกิจภาคเอกชนที่มีระบบการจัดการที่ดี ระบบอื่นๆ เช่น การประกันสุขภาพหรือการประกันสังคมในลักษณะอื่นยังมีน้อยมาก การเปลี่ยนแปลงค่านิยมในด้านสังคมและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้ความสัมพันธ์ในครอบครัวเปลี่ยนแปลงไป รัฐบาลจึงต้องให้ความสัมพันธ์แก่ปัญหาผู้สูงอายุอย่างมาก เพื่อทำให้ผู้สูงอายุได้รับสวัสดิการที่ดีและสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้โดยไม่ต้องเป็นภาระพึ่งพิงผู้อื่น รัฐบาลประเทศอินโดนีเซียได้เริ่มดำเนินโครงการเกี่ยวกับผู้สูงอายุในปี พ.ศ. 2532 และได้จัดตั้งคณะกรรมาธิการผู้สูงอายุ ซึ่งมีภาระกิจสำคัญ 7 ประการ คือ1.กำหนดนโยบายเกี่ยวกับผู้สูงอายุโดยตรง
2.ประสานงานและร่วมดำเนินงานในโครงการระดับประเทศและระดับท้องถิ่นเกี่ยวกับผู้สูงอายุ โดยเน้นการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานกับหน่วยงานภาคเอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน
3.ให้การศึกษาและฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความชำนาญในสาขาต่างๆ เพื่อดำเนินการเกี่ยวกับผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ
4.จัดเตรียมและดำเนินการเพื่อให้ข้อมูล ข่าวสาร การศึกษา และการคมนาคม ตลอดจนสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ รวมทั้งจัดเตรียมสถาบันที่จะดำเนินงานในด้านผู้สูงอายุ
5.พัฒนากลวิธีและการดำเนินงานโครงการทดลองต่างๆ เกี่ยวกับผู้สูงอายุ
6.ดำเนินงานและประเมินงานในด้านผู้สูงอายุ
7.วิจัยและพัฒนางานด้านผู้สูงอายุโดยเน้นประเด็นการใช้ขีดความสามารถของครอบครัวในการดูแลรับผิดชอบผู้สูงอายุ

นอกจากนี้ยังมีปัญหาการดูแลสุขภาพซึ่งประสบปัญหาไม่ได้รับเงินทุนสนับสนุนจากรัฐบาลอย่างเพียงพอมาเป็นเวลานานหลายปี ทำให้พวกเขาเกรงว่า นโยบายใหม่นี้ อาจทำให้อุตสาหกรรมด้านสุขภาพของอินโดนีเซีย ต้องถึงคราวล่มสลายก็เป็นได้นอกจากนี้ แผนปฏิรูประบบสาธารณสุข ด้วยการประกันสุขภาพประชากรทั้งประเทศ 240 ล้านคน ให้ได้ภายในปี 2562 ยังอาจบีบให้ชาวอินโดนีเซียจำนวนมากขึ้นที่ต้องหันไปใช้บริการโรงพยาบาลเอกชน ทั้งใน และนอกประเทศ
แต่ในรายของผู้ที่ไม่มีกำลังทรัพย์เพียงพอ พวกเขาจำเป็นต้องแข่งขันกับเพื่อนร่วมชาติอีกหลายล้านคน เพื่อให้ได้รับการดูแลจากโรงพยาบาลของรัฐบาล บริษัทยาที่ใหญ่ที่สุดของอินโดนีเซีย แนะนำให้รัฐบาลเพิ่มงบประมาณ สร้างคลีนิคใหม่ในกรุงจาการ์ตา ปีละ 20 ถึง 25 แห่ง ตลอดระยะเวลา 5 ปี เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระในการดูแลผู้ป่วยจากโรงพยาบาลรัฐ และทำให้ระบบประกันสุขภาพครอบจักรวาลทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
อินโดนีเซีย มีอัตราการเกิด 2.37 คนต่อมารดาหนึ่งคน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเทศอินโดนีเซียเป็นประเทศที่มีประชากร 260,434,034 คน เป็นหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดในโลกและ เป็นประเทศที่มีชาวมุสลิมมากที่สุดในโลก โดยการประมาณการของสหประชาชาติ ในประเทศอินโดนีเซียจำนวนประชากรที่มากนี้ ในที่สุดก็จะกลายเป็นแรงงานสำคัญสำหรับการพัฒนาประเทศ ศักยภาพด้านแรงงานของอินโดนีเซียเกิดขึ้นจากการที่ปัจจุบันประชากรส่วนใหญ่ยังมีอายุน้อย โดยประชากรมากกว่า 50% มีอายุต่ำกว่า 29 ปี ทำให้มีการคาดการณ์ว่า จำนวนแรงงานในประเทศจะเพิ่มขึ้นทุกปีไม่ต่ำกว่า 2 ล้านคน ส่งผลให้อินโดนีเซียเป็นประเทศหนึ่งในภูมิภาคอาเซียนที่มีค่าแรงต่ำ และในช่วงปี 2020–2030 จะกลายเป็นปีที่มีจำนวนประชากรวัยทำงานเพิ่มขึ้นสูงสุด ในช่วงนี้ อินโดนีเซียจึงมีโอกาสจากการมีแรงงานและกำลังการผลิตจำนวนมาก ประชากรอินโดนีเซียมีการย้ายถิ่นทั้งภายในเขตและข้ามเขตมาเป็นเวลานาน ตั้งแต่สมัยเป็นอาณานิคมอยู่ ซึ่งก็มีทั้งการย้ายถิ่นโดยสมัครใจและถูกบังคับ ทั้งนี้ มีพื้นที่และแหล่งชุมชนซึ่งเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางว่า เป็นสถานที่ที่กลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆอพยพเข้ามาอยู่อาศัย อาทิ เขตมินังกาเบาและบาตักในเกาะสุมาตรา เขตบูกิสและมากัสซารีสในสุลาเวสี บันจารีสในกาลิมันตัน และเขตมาดูรีสบนเกาะชวา แต่ด้วยความหนาแน่นของประชากรที่กระจุกตัวอยู่อย่างหนาแน่นบนเกาะสำคัญของประเทศ ทำให้รัฐบาลอินโดนีเซียกำหนดนโยบายการอพยพย้ายถิ่น (Transmigration Policy) โดยบังคับให้ประชากรที่อาศัยอยู่ในเขตชุมชนหนาแน่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งบนเกาะชวาและบาหลี อพยพไปอยู่บนเกาะที่มีประชากรเบาบาง เช่นที่เกาะสุมาตรา กาลิมันตัน สุลาเวสี และปาปัว เป็นต้น
สำหรับการย้ายถิ่นไปต่างประเทศของคนอินโดนีเซีย เริ่มขึ้นอย่างเป็นทางการตามนโยบายส่งออกแรงงานไร้ฝีมือใน ค.ศ. 1975 โดยมีจุดประสงค์ในช่วงแรกเพื่อต้องการระบายคนว่างงานที่มีอยู่จนล้นในประเทศ 2 แรงงานที่เดินทางไปทำงานต่างประเทศนี้ มีทั้งที่ไปแบบถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย แต่ส่วนใหญ่จะเป็นแบบหลังเสียมากกว่า ประเทศปลายทางในระยะแรกอยู่ในตะวันออกกลาง อย่างไรก็ดี แม้แรงงานเหล่านี้ส่วนใหญ่จะเดินทางไปแบบผิดกฎหมาย แต่เมื่อได้ค่าจ้าง ก็จะส่งกลับประเทศส่วนหนึ่ง ซึ่งมีส่วนช่วยในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก ในเวลาต่อมา จุดประสงค์ของนโยบายจึงไม่ใช่เพียงแค่ระบายคนว่างงานเท่านั้น แต่ยังต้องการสร้างรายได้จากการส่งกลับเป็นหลักอีกด้วย จำนวนแรงงานของอินโดนีเซียที่เดินทางไปทำงานยังต่างประเทศได้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ปัจจัยสำคัญที่นักวิชาการใช้ในการพยากรณ์จำนวนประชากรก็คือ อัตราเจริญพันธุ์ หรือ FERTILITY RATES หรือจำนวนทารกแรกเกิดโดยเฉลี่ยต่อหญิงหนึ่งคนตลอดชีวิต เป็นที่ทราบกันมานานแล้วว่า ยุโรปตะวันตก ประสบกับภาวะที่ FERTILITY RATES ลดลงเป็นลำดับ ยิ่งไปกว่านั้น ในประเทศที่มีประชากรสูง เช่น ประเทศอินโดนีเซีย ประชากรผู้สูงอายุส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรและอาศัยอยู่ในเขตชนบท ผู้สูงอายุเหล่านี้ได้รับการศึกษาน้อยและต้องประกอบอาชีพตลอดชีวิต จึงไม่มีโอกาสปรับตัวเองให้เข้ากับสังคมอุตสาหกรรมใหม่ โดยเฉพาะผู้สูงอายุในชนบทไม่มีโอกาสได้รับการฝึกอบรมให้มีความสามารถเหมาะสมกับงาน สตรีสูงอายุเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบมากกว่าผู้ชายเพราะมีการศึกษาน้อยและได้ค่าจ้างต่ำ ผู้สูงอายุที่มีอายุยืนยาวต้องทนทุกข์ทรมานจากภาวะการเจ็บป่วยและไม่สามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพได้ ผู้สูงอายุในอินโดนีเซียจะเกษียณอายุเมื่อ 55 ปี และกลุ่มที่ได้รับประโยชน์จากระบบบำนาญยังจำกัดอยู่เฉพาะในกลุ่มข้าราชการ ทหาร และกลุ่มพนักงานในธุรกิจภาคเอกชนที่มีระบบการจัดการที่ดี ระบบอื่นๆ เช่น การประกันสุขภาพหรือการประกันสังคมในลักษณะอื่นยังมีน้อยมาก การเปลี่ยนแปลงค่านิยมในด้านสังคมและวัฒนธรรมที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วทำให้ความสัมพันธ์ในครอบครัวเปลี่ยนแปลงไป รัฐบาลจึงต้องให้ความสัมพันธ์แก่ปัญหาผู้สูงอายุอย่างมาก เพื่อทำให้ผู้สูงอายุได้รับสวัสดิการที่ดีและสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้โดยไม่ต้องเป็นภาระพึ่งพิงผู้อื่น รัฐบาลประเทศอินโดนีเซียได้เริ่มดำเนินโครงการเกี่ยวกับผู้สูงอายุในปี พ.ศ. 2532 และได้จัดตั้งคณะกรรมาธิการผู้สูงอายุ ซึ่งมีภาระกิจสำคัญ 7 ประการ คือ
1.กำหนดนโยบายเกี่ยวกับผู้สูงอายุโดยตรง
2.ประสานงานและร่วมดำเนินงานในโครงการระดับประเทศและระดับท้องถิ่นเกี่ยวกับผู้สูงอายุ โดยเน้นการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานกับหน่วยงานภาคเอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชน
3.ให้การศึกษาและฝึกอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความชำนาญในสาขาต่างๆ เพื่อดำเนินการเกี่ยวกับผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ
4.จัดเตรียมและดำเนินการเพื่อให้ข้อมูล ข่าวสาร การศึกษา และการคมนาคม ตลอดจนสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ รวมทั้งจัดเตรียมสถาบันที่จะดำเนินงานในด้านผู้สูงอายุ
5.พัฒนากลวิธีและการดำเนินงานโครงการทดลองต่างๆ เกี่ยวกับผู้สูงอายุ
6.ดำเนินงานและประเมินงานในด้านผู้สูงอายุ
7.วิจัยและพัฒนางานด้านผู้สูงอายุโดยเน้นประเด็นการใช้ขีดความสามารถของครอบครัวในการดูแลรับผิดชอบผู้สูงอายุนอกจากนี้ยังมีปัญหาการดูแลสุขภาพซึ่งประสบปัญหาไม่ได้รับเงินทุนสนับสนุนจากรัฐบาลอย่างเพียงพอมาเป็นเวลานานหลายปี ทำให้พวกเขาเกรงว่า นโยบายใหม่นี้ อาจทำให้อุตสาหกรรมด้านสุขภาพของอินโดนีเซีย ต้องถึงคราวล่มสลายก็เป็นได้นอกจากนี้ แผนปฏิรูประบบสาธารณสุข ด้วยการประกันสุขภาพประชากรทั้งประเทศ 240 ล้านคน ให้ได้ภายในปี 2562 ยังอาจบีบให้ชาวอินโดนีเซียจำนวนมากขึ้นที่ต้องหันไปใช้บริการโรงพยาบาลเอกชน ทั้งใน และนอกประเทศแต่ในรายของผู้ที่ไม่มีกำลังทรัพย์เพียงพอ พวกเขาจำเป็นต้องแข่งขันกับเพื่อนร่วมชาติอีกหลายล้านคน เพื่อให้ได้รับการดูแลจากโรงพยาบาลของรัฐบาล บริษัทยาที่ใหญ่ที่สุดของอินโดนีเซีย แนะนำให้รัฐบาลเพิ่มงบประมาณ สร้างคลีนิคใหม่ในกรุงจาการ์ตา ปีละ 20 ถึง 25 แห่ง ตลอดระยะเวลา 5 ปี เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระในการดูแลผู้ป่วยจากโรงพยาบาลรัฐ และทำให้ระบบประกันสุขภาพครอบจักรวาลทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นอินโดนีเซีย มีอัตราการเกิด 2.37 คนต่อมารดาหนึ่งคน



การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Indonesia is a country with a population of 260 434 034,,. As the world"s largest islands. As a country with most Muslims in the world. By the projection of the United Nations. In Indonesia population for this. Eventually, it will become an important labor for developing countries. The potential labor of Indonesia happens from current population most also have less by a population of more than 50% under 29 years. Make a prediction. The workers in the country are increasing every year not less than 2 million people. Result in Indonesia is one of the countries in the region with low wages, and during the years 2020 - 2030 will become a year working population increased maximum. In this period, Indonesia has the opportunity of having labor and production lot. The population migration and Indonesia is within the field and crossed for a long time. Colonial era. There are both voluntary and forced migration. The area and community sources which are widely known. Is a place where various ethnic groups such as immigrants living in Minangkabau and the Batak of Sumatra. Designated Bukit and Makassarese in Sulawesi ban wandering in Kalimantan and designated Madurese on Java. But with the density of population concentration in dense on the island of important countries. The Indonesian government policy of migration (Transmigration Policy) by forcing the population living in the community density, especially on the Java and Bali. Immigrants to stay on the island, sparsely populated, such as the island of Sumatra Kalimantan. The Sulawesi and Papua.For migration overseas of Indonesia. Officially begins by unskilled labor export policy in the. 1975 on purpose during the first to release existing unemployed overflowing in the country 2 workers who commute to work abroad. There are both legal and illegal, to model But most are the latter rather. Country of destination in the first in the Middle East. However, despite most of these workers.
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: