Health in old age people, ban kruat, buriram. Ms. Thityaodi Inotrangkun * Assoc. Prof. Dr. Atchara Phanurat **Abstract The study used qualitative research process. The purpose is to study the old age person in health promotion, ban kruat, buriram. Study area is home, Lahan Sai. Tambon ban kruat of buriram province, Amphoe ban LAT. A specific selection of samples is people age 60 years of age up to 5 people, 5 community leaders who lived in the home, Lahan Sai. Tambon ban kruat of buriram province, Amphoe ban LAT. Using a qualitative methodology of national guidelines want to. In-depth interview technique. Take notes, and analyze complex data, group chat content. The study found that health promotion people, old age is not appropriate with age. The risk of illness, the body, mind, health promotion, which easily fits with old age and the context must be a health-care activities that integrate with people's daily life at old age with fun awareness know make themselves. Have a family. The community provides support, such as watering plants. Combined hobbies, activities The tradition in the community raising his nephew etc which is an exercise in itself encourage people old age comes bundled out of the House to meet up with natural dialogue for religious and. Boon. The community's traditions. Activities/knowledge in health promotion Focusing on food consumption, annual health check encourages aggressive chiefs covers. The community has a role to encourage people. Old age was aware and self-potential for health promotion ourselves appropriately. Suggestion Health promotion activities of old age people should integrate into their daily lives. His work activity. Customs in the community by supporting communities and families should learn to find ways to promote health care in other groups, such as youth work, age, other groups vulnerable to, affected health care. Keywords: people, old age health------------------------------------------------------------------------------------------------------------* Doctor course student, graduate school of regional development strategy. ** Advisor and chief doctor of philosophy course. Strategic regional development disciplines Surin rajabhat UniversityHealth in old age people, ban kruat, buriram. Ms. Thityaodi Inotrangkun *Professional nursing skills. Buri RAM hospital.Introduction การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยในปัจจุบันส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชนโดยรวม โดยเฉพาะบุคคลเมื่อเข้าสู่วัยชราทำให้เกิดความเสื่อมลงทางด้านร่างกาย จิตใจ นำมาซึ่งภาวะเสี่ยงและปัญหาด้านสุขภาพ โดยเฉพาะการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง อัมพฤกษ์/อัมพาต โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ไตวายเรื้อรัง (สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย. 2552 : 4) ผลตามมาจากการเป็นโรคเรื้อรังที่พบบ่อยคือ การเกิดภาวะทุพพลภาพของคนวัยชราที่ต้องการดูแล เช่นโรคหลอดเลือดสมอง ทางด้านจิตใจปัญหาที่พบบ่อยได้แก่ การปรับตัว ความเหงา ว้าเหว่ รู้สึกด้อยค่า ครอบครัวให้ความสำคัญน้อยลง คนวัยชราเป็นโสดหรืออยู่คนเดียวหรือถูกทอดทิ้งมากขึ้น การเคารพนับถือผู้สูงวัยลดน้อยลงทำให้เกิดช่องว่างระหว่างวัยคือผู้สูงวัยกับบุตรหลาน การเป็นสังคมคนวัยชราที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งที่สำคัญ ต้องพัฒนาความเข้มแข็งของคนวัยชราในการสร้างเสริมสุขภาพตนเอง ยังมีปัญหาด้านเศรษฐกิจเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย การกินอยู่ประจำวัน ค่าใช้จ่ายเมื่อเจ็บป่วย ทำให้คนวัยชรามีความต้องการช่วยเหลือทางด้านเศรษฐกิจการเงิน การรักษาพยาบาลหรือการดูแลทางด้านสุขภาพ และยังต้องการให้ชุมชนช่วยจัดกิจกรรมการรวมกลุ่มของคนวัยชราเพื่อพบปะสังสรรค์หรือนันทนาการ (มนู วาทิสุนทร. 2545 : 27) กล่าวได้ว่าการดูแลรักษาสุขภาพอนามัยของคนไทยในอดีตจนถึงปัจจุบัน ส่วนใหญ่แก้ปัญหาการเจ็บป่วยโดยการนำความเชื่อเดิมในอดีตที่สืบทอดกันมาจากบรรพบุรุษมาใช้เป็นการดูแลรักษา ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสภาพจากการเจ็บป่วย โดยการใช้สมุนไพรที่หาได้จากป่า หมอชาวพื้นบ้านในการรักษาพยาบาลดังที่ อัจฉรา ภาณุรัตน์ (2557) ได้เขียนหนังสือทฤษฎีความรู้โลกาภิวัตน์และภูมิปัญญาท้องถิ่น การดูแลสร้างเสริมด้านสุขภาพอนามัยของชนเผ่าในอดีต ส่วนใหญ่เป็นไปตามหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา เน้นเรื่อง บุญกรรมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพตั้งแต่เกิดจนตาย ดังตัวอย่างของคำสอนที่กล่าวถึงกรรมของมนุษย์กล่าวว่า “ไม่ใช่เราแต่ผู้เดียวเท่านั้นที่มีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่ง จักทำกรรมใดดีก็ตาม ชั่วก็ตาม เราจักเป็นผู้รับ ผลของกรรมนั้น สัตว์ทั้งปวงบรรดาที่มี การมา การไป การจุติ การอุบัติ ล้วนมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาทแห่งกรรม มีกรรมเป็นกำเนิด มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่ง จักทำกรรมใดดีก็ตาม ชั่วก็ตาม จักเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น” นั่นหมายถึงการที่คนในชนเผ่าชาติพันธุ์ต่างๆ จะมีสุขภาพดีย่อมเกิดจากการกระทำในการดูแลสุขภาพอย่างดี อย่างระมัดระวังด้วยตนเอง ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ยังต้องมีเผ่าพันธุ์ที่ดี สมบูรณ์แข็งแรง อยู่อาศัยในพื้นที่สิ่งแวดล้อมที่ดี ซึ่งความเชื่อบนพื้นฐานพระพุทธศาสนาเหล่านี้ปรากฏเป็นข้อปฏิบัติอยู่ในชนเผ่าชาติพันธุ์ออสโตรเอเชียติก (อัจฉรา ภาณุรัตน์. 2557 มกราคม : 12)The Commander of the Southeast region about healthy living to take care of ourselves. The self-reliance of people in old age with a strong health. There is a dependence on nature. Faith in Buddhism is that binding the soul has inherited an ongoing series. Since before the year 1000 main image displayed on the walls, Bayon Siem Reap. Cambodia, which is created when the God image: 7 victory wonman 1.1 1.1 (a), (b) and (c) 1.1, respectively. The graduation ceremony at Wat age people. The right to dignity and things fashioned ข. C. way of life Figure 1.1 (a), (b), (c) displays the main image, the lifestyle of the people in old age, and the way of life in the past. Siem Reap-Angkor Bayon Cambodia Source:
การแปล กรุณารอสักครู่..